สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติและพระมหากษัตริย์ใช้เรียกประเทศไทยในอดีตและมักรวมถึงชาวไทยสยามซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน อีกทั้ง ชื่อ สยาม นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย[]
สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482
แนวคิดเกี่ยวกับที่มา
จนถึงปัจจุบันนี้ ก็ยังไม่มีใครทราบที่มาของคำว่าสยามว่ามาจากที่ไหนอย่างแน่ชัด ซึ่งมีความคิดเห็นของผู้รู้ต่าง ๆ ดังนี้ จิตร ภูมิศักดิ์ ได้ศึกษาประวัติที่มาของคำว่า "สยาม" และเขียนเป็นหนังสือ ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ มีความสรุปได้ว่า:
- จะต้องเป็นคำที่คล้ายกับ "ซาม-เซียม" ตามสมมุติฐานทางนิรุกติศาสตร์
- มีความหมายเกี่ยวข้องกับน้ำ เนื่องจากพบในพงศาวดารราชวงศ์หยวน อันสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชนชาติไต
- น่าจะเป็น
- ที่เกิดของคำว่า "สยาม" อยู่ในบริเวณทางตอนเหนือของพม่า
สยาม อาจเป็นคำมาจากภาษาสันสกฤตว่า ศฺยาม श्याम ซึ่งแปลว่า สีดำ สีคล้ำ สีทอง ฯลฯ นั้น ดูเหมือนจะเป็นความเห็นดั้งเดิมที่แพร่หลายมากที่สุด และแทบจะยอมรับกันเป็นความจริงชี้ขาดเรื่องชื่อสยามทีเดียว
— จิตร ภูมิศักดิ์
ปรีดี พนมยงค์ เคยเขียนไว้ว่า มีการใช้ชื่อสยามมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี จนถึงสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงนำกฎหมายเก่ามาชำระและรวบรวมเป็นกฎหมายตราสามดวง ชื่อประเทศได้รับการบันทึกเป็นภาษาบาลีว่า "สามปเทส" สาม หรือ สามะ แปลว่าความเสมอภาค ส่วน ปเทส แปลว่า ประเทศ แต่ฝรั่งออกเสียงเพี้ยน เป็นเซียมหรือไซแอม
คำที่ใกล้เคียงกับสยาม
- ตามภาษามอญ เรียกคนไทยว่า "หรั่ว เซม" (หรั่ว ภาษามอญแปลว่าพวก) จนกระทั่งปัจจุบัน []
- และผู้มีเชื้อสายมลายู (รวมถึงในประเทศไทย) ใช้คำเรียกไทยว่า "สยาม" (โดยในภาษามลายูปัตตานีจะออกเสียงว่า ซีแย) มาจนถึงปัจจุบัน (ดังเช่นที่ปรากฏในเอกสารของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต้) []
- ในภาษาพม่านั้น เรียกคนไทยว่า "เซี้ยน" ซึ่งถ้าดูจากการเขียน จะใช้ตัวสะกดเป็นตัว ม (ซย+ม) แต่ในภาษาพม่านั้นอ่านออกเสียงตัวสะกดตัว ม เป็นตัว น จึงทำให้เสียงเรียกคำว่า "สยาม" เพี้ยนเป็น "เซี้ยน" ในปัจจุบัน คนในประเทศพม่ามักจะเรียกชนกลุ่มที่พูดภาษาตระกูลขร้า-ไทต่าง ๆ ว่า "เซี้ยน" หรือ ชื่อประเทศหรือพื้นที่ตามด้วยเซี้ยน เช่นเรียกคนไทยว่า "โย้ตะย้าเซี้ยน" (คนสยามโยธยา ซึ่งเมื่อก่อน อยุธยาเป็นเมืองหลวง) หรือไท้เซี้ยน (คนสยามไทย), เรียกว่า "ล่าโอ่เซี้ยน" (คนสยามลาว), เรียกคนชนกลุ่มไทในจีนว่า "ตะโย่วเซี้ยน" (คนสยามจีน ซึ่งคำว่า "ตะโย่ว" ในภาษาพม่าแปลว่า "จีน") และเรียกคนไทใหญ่ในรัฐฉานว่า ต่องจยี๊เซี้ยน (สยาม ต่องกี๊ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐฉานในปัจจุบัน และจริง ๆ แล้วคำว่า "รัฐฉาน" นั้นคือ "รัฐสยาม" แต่พม่าออกเสียงเพี้ยนเป็น "เซี้ยน ปี่แหน่" เขียนเป็นอังกฤษว่า Shan State แล้วคนไทยก็ออกเสียงเพี้ยนจากคำอังกฤษ "Shan" เป็น "ฉาน" จึงกลายเป็นรัฐฉานตามการเรียกของคนไทยในปัจจุบัน) และทางการรัฐบาลพม่ากำหนดให้ คนไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี มีสัญชาติเป็น เซี้ยน เช่นเดียวกับคนไทใหญ่ในรัฐฉาน[]
- ตามจดหมายเหตุเก่าของจีน ในบริเวณประเทศไทยปัจจุบันนั้น แต่เดิมมีอาณาจักรอยู่ด้วยกัน 2 อาณาจักร คือ อาณาจักร "เซียน" (暹国; น่าจะหมายถึง สยาม หรือ สุโขทัย) ซึ่งอยู่ทางเหนือขึ้น แต่ยังอยู่ใต้ต่ออาณาจักร "ร้อยสนม" (มีผู้สันนิษฐานว่าคืออาณาจักรล้านนา-ไทใหญ่) และอาณาจักร "หลัววอ" (羅渦国; น่าจะหมายถึง อยุธยา ซึ่งจีนยังใช้ชื่อของ ละโว้ เรียกอยู่) ซึ่งอยู่ทางใต้ลงไป โดยอาณาจักร "เซียน" นั้นมักประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร ต้องนำเข้าข้าวจากอาณาจักร "หลัววอ" จนในที่สุด อาณาจักร "เซียน" และอาณาจักร "หลัววอ" ได้รวมกันเข้า ทางราชสำนักจีนจึงได้รวมเรียกชื่ออาณาจักรใหม่ที่เกิดจากการรวมกันดังกล่าวว่า อาณาจักร "เซียนหลัว" (暹罗国; ภาษาจีนกลางยุคปัจจุบัน="เซียนหลัวกว๋อ" ภาษาจีนแต้จิ๋ว = "เสี่ยมล้อก๊ก") ซึ่งได้กลายเป็นนามเรียกอาณาจักรโดยชาวจีนมาจนกระทั่งมีการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นประเทศไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อเรียกเป็น "ไท่กว๋อ" (泰国)[]
- นักนิรุกติศาสตร์และนักประวัติศาสตร์บางคน ได้แสดงถึงความใกล้เคียงกันของคำว่า สยาม และ ฉาน (Shan) ซึ่งใช้เรียกอาณาจักรของชาวไทบริเวณตอนใต้ของจีน ทางตอนเหนือของพม่า และทางรัฐอัสสัมของอินเดีย[]
- สยาม เป็นคำเรียกของชาวตะวันตก ที่มาทำการค้า การเดินทางมาทางเรือต้องผ่านพม่าก่อน ชาวพม่าบอกชาวตะวันตกว่า เซียม ชาวไท ออกเสียงเป็น เซียน ซึ่งปัจจุบันเป็น ฉานเนื่องจากชาวพม่าออกเสียง น หนู ไม่ได้ จึงเพี้ยนเป็น ม ม้า ฉานชาวพม่าหมายถึง รัฐฉาน ในประเทศพม่า, อาณาจักรล้านนา ในไทย, ลาว, ภาคอีสานตอนเหนือ ในไทย, ตอนใต้ของยูนนาน ในจีน, ด้านตะวันตกของภาคเหนือในเวียดนาม ชาติไทยนั้นกลัว อินเดีย เพราะว่าอินเดียเคยล้มอาณาจักรไชยาได้ ซึ่งไทยสู้ไม่ได้ในยุคนั้น จึงมีภาษาของอินเดียปะปนอยู่มาก ทั้งในภาษาไทยและศาสนาพุทธด้วย[]
สยามในฐานะชนชาติ
สยามเป็นชื่อดินแดนและกลุ่มชนไม่จำกัดชาติพันธุ์ ซึ่งอาจอธิบายได้ว่าสยามเป็น "พวกร้อยพ่อพันแม่" คือ มิได้หมายถึงชนชาติใดชนชาติหนึ่ง แต่อาศัยลักษณะภายนอกเป็นตัวกำหนด เช่น ใช้เรียกผู้ทำมาหากินกันในบริเวณตาน้ำพุที่ผุดจากแอ่งดินอ่อนหรือดินโคลน หรืออาจใช้เรียกผู้ที่อยู่อาศัยริมแม่น้ำโขง
ชาวสยามหรือเสียมเป็นกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ต่ำกว่าเส้นละติจูด 19° เหนือลงมา เป็นการผสมผสานของกลุ่มชนต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร นายสุจิตต์ วงษ์เทศ ผู้เขียน "คนไทย มาจากไหน" จึงเสนอให้เรียกผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบันว่า "ชาวไทยสยาม" แทน เพราะคำว่า "ชาวไทย" มีความหมายครอบคลุมถึง "ชาวไทใหญ่" และ "ชาวไทน้อย" ซึ่งอาศัยอยู่นอกประเทศไทยด้วย
สยามในความหมายของชนชาติไทย
ตามจดหมายเหตุลาลูแบร์ คนในประเทศไทยได้เรียกเผ่าพันธุ์ของตนเองว่า ไทย มาตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยา โดยได้บันทึกไว้ว่า
ชาวสยามเรียกตนว่า ไทย (Tàï) แปลว่า อิสระ อันเป็นความหมายตามศัพท์ในภาษาของพวกเขาอยู่ในปัจจุบัน [...] คำว่า สยาม กับ ไทย เป็นสองคำที่มีความแตกต่างกัน แต่หมายถึงพลเมืองของประเทศเดียวกัน
ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว บาทหลวงชาวฝรั่งเศสได้ระบุไว้ในงานเขียน "Description du Royaume Thai ou Siam" (1854) ว่า "...ประเทศที่ชาวยุโรปขนานนามว่า สยาม นั้น เรียกตนเองว่า เมืองไท (Muang - Thai) (ราชอาณาจักรแห่งอิสรชน) ชื่อเดิมนั้นคือ สยาม (แปลว่าชนชาติผิวสีน้ำตาล) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ สยาม (Siam)..."
D.G.E. Hall ได้เขียนใน "ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้" ว่า "สยาม ใช้เรียกคนป่าแถบแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งพบในระเบียงด้านใต้ของนครวัด... ภายหลังการก่อตั้งอยุธยา ดินแดนดังกล่าวได้ชื่อว่าสยาม ชาวยุโรปก็มักเรียกว่า นครแห่งสยาม" และระบุว่าพระเจ้าอู่ทองเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของสยาม
ส่วนกลุ่มเมืองสุโขทัย ก็พบว่ามีการเรียกว่า "สยามประเทศ" ในตำนานชินกาลมาลีปกรณ์ของอาณาจักรล้านนาด้วย
ราชอาณาจักรสยาม
ถึงแม้ว่าจะมีกล่าวถึง "สยาม" (ซึ่งอาจหมายความถึงคนไทยหรือไม่ใช่ก็เป็นได้) โดยผู้คนจากต่างแดนอย่างกว้างขวางดังที่ได้กล่าวไปข้างต้นแล้วก็ตาม แต่ทว่าในอดีตนั้น แนวคิดเรื่องรัฐชาติยังไม่ปรากฏชัดเจน ดังเช่นที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปตั้งแต่สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การอ้างอิงถึงราชอาณาจักรของทางราชสำนักของไทยจึงยังคงอ้างอิงโดยใช้ชื่อเมืองหลวง ดังเช่นพระราชสาสน์ของสมเด็จพระเอกาทศรถที่มีไปถึงพระเจ้าดอน ฟิลิปแห่งโปรตุเกส ผ่านผู้สำเร็จราชการแห่งเมืองกัว ก็ได้มีการอ้างพระองค์ว่าเป็นผู้ปกครองแว่นแคว้นของ กรุงศรีอยุธยา เป็นต้น[] ส่วนชาวต่างชาติได้เรียกอาณาจักรอยุธยาว่า สยาม มาตั้งแต่ราว พ.ศ. 2000 เป็นต้นมา ในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเคยใช้ชื่อประเทศว่า "สยาม" ด้านโกวิท วงศ์สุรวัฒน์ได้ระบุว่า นามสยามได้เริ่มใช้ในฐานะของประเทศสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดยแปลว่าผิวคล้ำ
ในหนังสือสัญญาที่ไทยทำกับต่างประเทศสมัยรัชกาลที่ 3 ไม่พบการใช้คำว่า "สยาม" เลย เมื่อประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับจักรวรรดินิยมสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้พยายามดัดแปลงให้ประเทศมีลักษณะสมัยใหม่ขึ้น เพื่อซึ่งประการหนึ่งในนั้นคือ การทำให้ประเทศไทยมีลักษณะเป็นรัฐชาติที่มี และเริ่มมีการใช้ชื่อ "ราชอาณาจักรสยาม" เป็นชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ โดยปรากฏใช้ชัดเจนครั้งแรกใน พ.ศ. 2399 แต่คนไทยส่วนมากไม่เห็นด้วยกับการใช้ชื่อดังกล่าว คงเรียกว่า "ไทย" ตามเดิม
อย่างไรก็ดี เหรียญกษาปณ์แทนเงินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พิมพ์ตัวหนังสือว่า "กรุงสยาม" และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พิมพ์ตัวหนังสือว่า "สยามรัฐ"
จากสยามเป็นไทย
ในสมัยรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ก้าวขึ้นสู่อำนาจ ปลุกแนวคิดชาตินิยมและการเชื่อฟังผู้นำอย่างมาก ซึ่งจากรายงานการศึกษาในยุคนั้นโดยนักศึกษาประวัติศาสตร์บางคน[] ได้มีการค้นพบคนไทยที่อยู่ในเวียดนามและจีนตอนใต้ นอกเหนือไปจากจากกลุ่มไทใหญ่ในพม่า ทำให้เกิดกระแสที่ต้องการรวบรวมชนเผ่าไทยเหล่านั้นเข้ามาสู่ประเทศ "ไทย" เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ในที่สุดจึงได้มีการเปลี่ยนชื่อ ประเทศ ประชาชน และสัญชาติเป็น "ไทย" ตามประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ซึ่งได้รับการคัดค้านจากบางฝ่ายว่าจะเป็นการทำให้คนเชื้อชาติอื่น เช่น จีน มลายู ไม่รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับประเทศ "ไทย" แต่ทว่าในที่สุดประกาศรัฐนิยมก็มีผลบังคับใช้ ทำให้ต้องเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ไทย ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งกลายเป็นสิ่งตกทอดไม่กี่อย่างจากประกาศดังกล่าวมาถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับคำว่า "สวัสดี" ทั้งนี้ คำประกาศดังกล่าวมีขึ้นหลังญี่ปุ่นยอมจำนนต่อสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เพียงไม่ถึง 1 เดือน ซึ่งชาญวิทย์ เกษตรศิริ มองว่าเป็น “สารที่ผู้นำไทยอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ฝ่ายเสรีนิยมของ ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับฝ่ายอนุรักษ์นิยม (เจ้านาย) ต้องการสื่อกับฝรั่งตะวันตกผู้พิชิตสงครามเสียมากกว่า” แต่เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับมามีอำนาจอีกครั้งผ่านการรัฐประหาร ในปี 2490 ชื่อประเทศไทยในภาษาอังกฤษ ก็ถูกเปลี่ยนกลับไปใช้ว่า “Thailand” อีกครั้ง
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
- ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.
- การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ประเทศไทย หรือประเทศสยาม 2008-01-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The Royal Gazette, Vol. 56, Page 810. 2012-06-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 24 June 2482 (1939). Retrieved 4 June 2010.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 62-63.
- จิตร ภูมิศักดิ์. (2519). ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และ ลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ ฉบับสมบูรณ์เพิ่มเติมข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขอม. กรุงเทพฯ: ศยาม. 522 หน้า. หน้า 216. ISBN
- ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อลาลูแบร์
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 60.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 76.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 66-67.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 67.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. หน้า 217.
- Description du Royaume Thai ou Siam" (1854)
- D.G.E. Hall. หน้า 222-223.
- วีรวิท คงศักดิ์. ร้องเพลงชาติ...ต้องร้องด้วย “ใจ” 2010-07-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. คลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2553.
- โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. การเมืองการปกครองไทย: หลายมิติ. หน้า 16-17.
- ชัย เรืองศิลป์ (2541). ประวัติศาสตร์ไทยสมัย พ.ศ. 2352-2453 ด้านเศรษฐกิจ. ไทยวัฒนาพานิช. . หน้า 183.
บรรณานุกรม
- D.G.E. Hall. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, [ม.ป.ป.].
- สุจิตต์ วงษ์เทศ. คนไทยมาจากไหน?. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548.
- จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และ ลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. กรุงเทพฯ : ศยาม, 2519.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
syam xksrlatin Siam xksrethwnakhri श य म epnchuxthitangchatiaelaphramhakstriyicheriykpraethsithyinxditaelamkrwmthungchawithysyamsungepnchnchatiithyinphumiphakhni aetmiichchuxkhnklumnieriyktnexng rachbnthitysthan rabuwa syamepnchuxeriykdinaednaelaklumchnthixasyxyuindinaednaethbnimatngaetsmyobran phramhakstriyithythrngichchux syam inkarthasnthisyyakbtangchatiepnewlahlaystwrrs enuxngcakrachxanackrprakxbdwykhnhlaychatiphnthu xathi ith law mxy ywn ekhmr aekhk cin frng aelamlayu phramhakstriyithycungeriykdinaednaehngniwa praethssyam ephuxkhwamepnxnhnungxnediywknkhxngprachachn xikthng chux syam nn kyngkhngepnthiruckknxyangaephrhlayinwngkarwichakarkhxngtangpraethsxikdwy txngkarxangxing thngchangephuxkthukichtngaet ph s 2398 31 thnwakhm ph s 2459 syamepnchuxxyangepnthangkarkhxngpraethstngaetrchkalphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwepntnma kxnepliynepn ithy tngaetwnthi 24 mithunayn ph s 2482aenwkhidekiywkbthimaphaphaekaslk ena sya kuk thinkhrwd cnthungpccubnni kyngimmiikhrthrabthimakhxngkhawasyamwamacakthiihnxyangaenchd sungmikhwamkhidehnkhxngphurutang dngni citr phumiskdi idsuksaprawtithimakhxngkhawa syam aelaekhiynepnhnngsux khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aelalksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati mikhwamsrupidwa catxngepnkhathikhlaykb sam esiym tamsmmutithanthangniruktisastr mikhwamhmayekiywkhxngkbna enuxngcakphbinphngsawdarrachwngshywn xnsxdkhlxngkbwithichiwitkhxngchnchatiit nacaepn thiekidkhxngkhawa syam xyuinbriewnthangtxnehnuxkhxngphmasyam xacepnkhamacakphasasnskvtwa s yam श य म sungaeplwa sida sikhla sithxng l nn duehmuxncaepnkhwamehndngedimthiaephrhlaymakthisud aelaaethbcayxmrbknepnkhwamcringchikhaderuxngchuxsyamthiediyw citr phumiskdi pridi phnmyngkh ekhyekhiyniwwa mikarichchuxsyammatngaetsmykrungsrixyuthyaepnrachthani cnthungsmyrchkalthi 1 aehngkrungrtnoksinthr thrngnakdhmayekamacharaaelarwbrwmepnkdhmaytrasamdwng chuxpraethsidrbkarbnthukepnphasabaliwa sampeths sam hrux sama aeplwakhwamesmxphakh swn peths aeplwa praeths aetfrngxxkesiyngephiyn epnesiymhruxisaexm khathiiklekhiyngkbsyam tamphasamxy eriykkhnithywa hrw esm hrw phasamxyaeplwaphwk cnkrathngpccubn txngkarxangxing aelaphumiechuxsaymlayu rwmthunginpraethsithy ichkhaeriykithywa syam odyinphasamlayupttanicaxxkesiyngwa siaey macnthungpccubn dngechnthipraktinexksarkhxngklumphukxkhwamimsngbinbriewncnghwdchayaednphakhit txngkarxangxing inphasaphmann eriykkhnithywa esiyn sungthaducakkarekhiyn caichtwsakdepntw m sy m aetinphasaphmannxanxxkesiyngtwsakdtw m epntw n cungthaihesiyngeriykkhawa syam ephiynepn esiyn inpccubn khninpraethsphmamkcaeriykchnklumthiphudphasatrakulkhra ithtang wa esiyn hrux chuxpraethshruxphunthitamdwyesiyn echneriykkhnithywa oytayaesiyn khnsyamoythya sungemuxkxn xyuthyaepnemuxnghlwng hruxithesiyn khnsyamithy eriykwa laoxesiyn khnsyamlaw eriykkhnchnklumithincinwa taoywesiyn khnsyamcin sungkhawa taoyw inphasaphmaaeplwa cin aelaeriykkhnithihyinrthchanwa txngcyiesiyn syamtxngki sungepnemuxnghlwngkhxngrthchaninpccubn aelacring aelwkhawa rthchan nnkhux rthsyam aetphmaxxkesiyngephiynepn esiyn piaehn ekhiynepnxngkvswa Shan State aelwkhnithykxxkesiyngephiyncakkhaxngkvs Shan epn chan cungklayepnrthchantamkareriykkhxngkhnithyinpccubn aelathangkarrthbalphmakahndih khnithyphldthininekhttanawsri misychatiepn esiyn echnediywkbkhnithihyinrthchan txngkarxangxing tamcdhmayehtuekakhxngcin inbriewnpraethsithypccubnnn aetedimmixanackrxyudwykn 2 xanackr khux xanackr esiyn 暹国 nacahmaythung syam hrux suokhthy sungxyuthangehnuxkhun aetyngxyuittxxanackr rxysnm miphusnnisthanwakhuxxanackrlanna ithihy aelaxanackr hlwwx 羅渦国 nacahmaythung xyuthya sungcinyngichchuxkhxng laow eriykxyu sungxyuthangitlngip odyxanackr esiyn nnmkprasbpyhakhadaekhlnxahar txngnaekhakhawcakxanackr hlwwx cninthisud xanackr esiyn aelaxanackr hlwwx idrwmknekha thangrachsankcincungidrwmeriykchuxxanackrihmthiekidcakkarrwmkndngklawwa xanackr esiynhlw 暹罗国 phasacinklangyukhpccubn esiynhlwkwx phasacinaetciw esiymlxkk sungidklayepnnameriykxanackrodychawcinmacnkrathngmikarepliynchuxpraethsepnpraethsithy cungidepliynchuxeriykepn ithkwx 泰国 txngkarxangxing nkniruktisastraelankprawtisastrbangkhn idaesdngthungkhwamiklekhiyngknkhxngkhawa syam aela chan Shan sungicheriykxanackrkhxngchawithbriewntxnitkhxngcin thangtxnehnuxkhxngphma aelathangrthxssmkhxngxinediy txngkarxangxing syam epnkhaeriykkhxngchawtawntk thimathakarkha karedinthangmathangeruxtxngphanphmakxn chawphmabxkchawtawntkwa esiym chawith xxkesiyngepn esiyn sungpccubnepn chanenuxngcakchawphmaxxkesiyng n hnu imid cungephiynepn m ma chanchawphmahmaythung rthchan inpraethsphma xanackrlanna inithy law phakhxisantxnehnux inithy txnitkhxngyunnan incin dantawntkkhxngphakhehnuxinewiydnam chatiithynnklw xinediy ephraawaxinediyekhylmxanackrichyaid sungithysuimidinyukhnn cungmiphasakhxngxinediypapnxyumak thnginphasaithyaelasasnaphuththdwy txngkarxangxing syaminthanachnchatisyamepnchuxdinaednaelaklumchnimcakdchatiphnthu sungxacxthibayidwasyamepn phwkrxyphxphnaem khux miidhmaythungchnchatiidchnchatihnung aetxasylksnaphaynxkepntwkahnd echn icheriykphuthamahakinkninbriewntanaphuthiphudcakaexngdinxxnhruxdinokhln hruxxacicheriykphuthixyuxasyrimaemnaokhng chawsyamhruxesiymepnklumchnthixasyxyutakwaesnlaticud 19 ehnuxlngma epnkarphsmphsankhxngklumchntang thiichphasaithyinkarsuxsar naysucitt wngseths phuekhiyn khnithy macakihn cungesnxiheriykphuthixasyxyuinpraethsithyinpccubnwa chawithysyam aethn ephraakhawa chawithy mikhwamhmaykhrxbkhlumthung chawithihy aela chawithnxy sungxasyxyunxkpraethsithydwysyaminkhwamhmaykhxngchnchatiithyphaphwadchawithysmykrungsrixyuthyaincdhmayehtulaluaebr tamcdhmayehtulaluaebr khninpraethsithyideriykephaphnthukhxngtnexngwa ithy matngaetsmyxanackrxyuthya odyidbnthukiwwa chawsyameriyktnwa ithy Tai aeplwa xisra xnepnkhwamhmaytamsphthinphasakhxngphwkekhaxyuinpccubn khawa syam kb ithy epnsxngkhathimikhwamaetktangkn aethmaythungphlemuxngkhxngpraethsediywkn chxng batist palkw bathhlwngchawfrngessidrabuiwinnganekhiyn Description du Royaume Thai ou Siam 1854 wa praethsthichawyuorpkhnannamwa syam nn eriyktnexngwa emuxngith Muang Thai rachxanackraehngxisrchn chuxedimnnkhux syam aeplwachnchatiphiwsinatal sungepnthimakhxngchux syam Siam D G E Hall idekhiynin prawtisastrexechiytawnxxkechiyngit wa syam icheriykkhnpaaethbaemnaecaphraya sungphbinraebiyngdanitkhxngnkhrwd phayhlngkarkxtngxyuthya dinaedndngklawidchuxwasyam chawyuorpkmkeriykwa nkhraehngsyam aelarabuwaphraecaxuthxngepnkstriyphraxngkhaerkkhxngsyam swnklumemuxngsuokhthy kphbwamikareriykwa syampraeths intananchinkalmalipkrnkhxngxanackrlannadwy rachxanackrsyam chawsyaminchwngplayrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw thungaemwacamiklawthung syam sungxachmaykhwamthungkhnithyhruximichkepnid odyphukhncaktangaednxyangkwangkhwangdngthiidklawipkhangtnaelwktam aetthwainxditnn aenwkhideruxngrthchatiyngimpraktchdecn dngechnthiekidkhuninthwipyuorptngaetsmysmburnayasiththirachy karxangxingthungrachxanackrkhxngthangrachsankkhxngithycungyngkhngxangxingodyichchuxemuxnghlwng dngechnphrarachsasnkhxngsmedcphraexkathsrththimiipthungphraecadxn filipaehngoprtueks phanphusaercrachkaraehngemuxngkw kidmikarxangphraxngkhwaepnphupkkhrxngaewnaekhwnkhxng krungsrixyuthya epntn txngkarxangxing swnchawtangchatiideriykxanackrxyuthyawa syam matngaetraw ph s 2000 epntnma inrchsmykhxngsmedcphranerswrmharachekhyichchuxpraethswa syam danokwith wngssurwthnidrabuwa namsyamiderimichinthanakhxngpraethssmykrungrtnoksinthr odyaeplwaphiwkhla inhnngsuxsyyathiithythakbtangpraethssmyrchkalthi 3 imphbkarichkhawa syam ely emuxpraethsithytxngephchiyhnakbckrwrrdiniymsmyrchkalphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw phraxngkhcungidphyayamddaeplngihpraethsmilksnasmyihmkhun ephuxsungprakarhnunginnnkhux karthaihpraethsithymilksnaepnrthchatithimi aelaerimmikarichchux rachxanackrsyam epnchuxpraethsxyangepnthangkar odypraktichchdecnkhrngaerkin ph s 2399 aetkhnithyswnmakimehndwykbkarichchuxdngklaw khngeriykwa ithy tamedim xyangirkdi ehriyyksapnaethnengininrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw phimphtwhnngsuxwa krungsyam aelainrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhwthungrchsmyphrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw phimphtwhnngsuxwa syamrth caksyamepnithy insmyrthbalcxmphl aeplk phibulsngkhram kawkhunsuxanac plukaenwkhidchatiniymaelakarechuxfngphunaxyangmak sungcakrayngankarsuksainyukhnnodynksuksaprawtisastrbangkhn txngkarxangxing idmikarkhnphbkhnithythixyuinewiydnamaelacintxnit nxkehnuxipcakcakklumithihyinphma thaihekidkraaesthitxngkarrwbrwmchnephaithyehlannekhamasupraeths ithy ephuxsrangkhwamekhmaekhng inthisudcungidmikarepliynchux praeths prachachn aelasychatiepn ithy tamprakasrthniymchbbthi 1 emuxwnthi 24 mithunayn ph s 2482 sungidrbkarkhdkhancakbangfaywacaepnkarthaihkhnechuxchatixun echn cin mlayu imrusukepnxnhnungxnediywkbpraeths ithy aetthwainthisudprakasrthniymkmiphlbngkhbich thaihtxngepliynchuxpraethsepn ithy dngthiepnxyuinpccubn sungklayepnsingtkthxdimkixyangcakprakasdngklawmathungpccubn echnediywkbkhawa swsdi thngni khaprakasdngklawmikhunhlngyipunyxmcanntxsmphnthmitrinsngkhramolkkhrngthi 2 idephiyngimthung 1 eduxn sungchaywithy ekstrsiri mxngwaepn sarthiphunaithyxikfayhnung khux fayesriniymkhxng phn pridi phnmyngkh rwmkbfayxnurksniym ecanay txngkarsuxkbfrngtawntkphuphichitsngkhramesiymakkwa aetemuxcxmphl p phibulsngkhram klbmamixanacxikkhrngphankarrthprahar inpi 2490 chuxpraethsithyinphasaxngkvs kthukepliynklbipichwa Thailand xikkhrngxangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 siriphnth thawrthwiwngs hna 20 karthxngethiywaehngpraethsithy praethsithy hruxpraethssyam 2008 01 31 thi ewyaebkaemchchin The Royal Gazette Vol 56 Page 810 2012 06 09 thi ewyaebkaemchchin 24 June 2482 1939 Retrieved 4 June 2010 sucitt wngseths hna 62 63 citr phumiskdi 2519 khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aela lksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati chbbsmburnephimetimkhxethccringwadwychnchatikhxm krungethph syam 522 hna hna 216 ISBN 978 974 8 57299 4 siriphnth thawrthwiwngs hna 20 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux laluaebr sucitt wngseths hna 60 sucitt wngseths hna 76 sucitt wngseths hna 66 67 sucitt wngseths hna 67 sucitt wngseths hna 217 Description du Royaume Thai ou Siam 1854 D G E Hall hna 222 223 wirwith khngskdi rxngephlngchati txngrxngdwy ic 2010 07 08 thi ewyaebkaemchchin khlngsmxng wpx ephuxsngkhm subkhn 8 phvsphakhm 2553 okwith wngssurwthn karemuxngkarpkkhrxngithy hlaymiti hna 16 17 chy eruxngsilp 2541 prawtisastrithysmy ph s 2352 2453 danesrsthkic ithywthnaphanich ISBN 9740841244 hna 183 brrnanukrmD G E Hall prawtisastrexechiytawnxxkechiyngit elm 1 krungethph ithywthnaphanich m p p sucitt wngseths khnithymacakihn krungethph mtichn 2548 citr phumiskdi khwamepnmakhxngkhasyam ithy law aelakhxm aela lksnathangsngkhmkhxngchuxchnchati krungethph syam 2519 duephimprawtisastrithy