−1 (ลบหนึ่ง) เป็นจำนวนเต็มลบมากสุด ที่มากกว่า −2 แต่น้อยกว่า 0
| ||||
---|---|---|---|---|
ลบหนึ่ง | ||||
จำนวนเชิงอันดับที่ | −1st (ที่ลบหนึ่ง) | |||
ฐานสอง | -1 | |||
ฐานสาม | -1 | |||
ฐานสี่ | -1 | |||
ฐานห้า | -1 | |||
ฐานหก | -1 | |||
ฐานแปด | -1 | |||
ฐานสิบสอง | -1 | |||
ฐานสิบหก | -1 | |||
ฐานยี่สิบ | -1 | |||
ฐานสามสิบหก | -1 | |||
เลขไทย | −๑ | |||
เลขจีน | 负一,负弌,负壹 | |||
ฐานสอง (ไบต์) |
| |||
ฐานสิบหก (ไบต์) |
|
−1 เป็นตัวผกผันการบวกของ 1 หมายความว่า เมื่อจำนวนนี้บวกกับ 1 แล้วจะได้เอกลักษณ์การบวกนั่นคือ 0
−1 สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของออยเลอร์นั่นคือ
ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ −1 มักใช้เป็นค่าเริ่มต้นของจำนวนเต็ม และใช้แสดงว่าตัวแปรดังกล่าวไม่มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ลบหนึ่งมีสมบัติต่าง ๆ ที่คล้ายกับบวกหนึ่งแต่ต่างไปเพียงเล็กน้อย
สมบัติทางพีชคณิต
การคูณจำนวนใด ๆ กับ −1 เทียบเท่ากับการเปลี่ยนเครื่องหมายของจำนวนนั้น สิ่งนี้สามารถพิสูจน์โดยใช้กฎการกระจายและสัทพจน์ว่า 1 เป็น สำหรับ x ที่เป็นจำนวนจริงใด ๆ เราจะได้
เมื่อเราใช้ข้อเท็จจริงว่า จำนวนจริงใด ๆ คูณกับ 0 แล้วได้ 0 แสดงนัยโดยจากสมการ
กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
ดังนั้น (−1) ·x คือตัวผกผันของ x ซึ่งก็มีค่าเท่ากับ −x นั่นเอง
กำลังสองของ −1
ของ −1 นั่นก็คือ −1 คูณด้วย −1 เท่ากับ 1 ผลที่ตามมาคือ ผลคูณของจำนวนลบสองจำนวนจะได้จำนวนบวก
สำหรับการพิสูจน์เชิงพีชคณิตของผลลัพธ์ดังกล่าว เริ่มด้วยสมการ
สมการแรกปฏิบัติตามการพิสูจน์ในตอนแรก นิพจน์ตัวหลังปฏิบัติตามนิยามของ −1 ว่าเป็นตัวผกผันการบวกของ 1 จากนั้นใช้กฎการกระจายจะได้ว่า
สมการที่สองปฏิบัติตามข้อเท็จจริงว่า 1 คือเอกลักษณ์การคูณ จากนั้นบวกด้วย 1 ทั้งสองข้างของสมการสุดท้าย จะได้
การให้เหตุผลด้านบนยังคงใช้ได้กับริงใด ๆ ก็ตาม ซึ่งเป็นมโนทัศน์ของพีชคณิตนามธรรมที่วางนัยทั่วไปจากจำนวนเต็มและจำนวนจริง
รากที่สองของ −1
จำนวนเชิงซ้อน i สอดคล้องกับ i2 = −1 และสามารถถือได้ว่าเป็นค่าหนึ่งของ −1 จำนวนเชิงซ้อน x อีกจำนวนซึ่งสอดคล้องกับสมการ x2 = −1 ก็คือ −i ส่วนพีชคณิตของควอเทอร์เนียน ซึ่งมีระนาบเชิงซ้อนด้วย สมการ x2 = −1 จะมีคำตอบมากมายเป็นอนันต์
การยกกำลังจำนวนลบ
การยกกำลังด้วยจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์สามารถขยายไปสู่จำนวนเต็มลบได้ เรากำหนดนิยามไว้ว่า x−1 = 1/x หมายความว่า เรานิยามให้การยกกำลังจำนวนใดจำนวนหนึ่งด้วย −1 จะได้ผลอย่างเดียวกับการหาส่วนกลับของมัน นิยามนี้ก็ได้ขยายไปสู่จำนวนเต็มลบ ทำให้กฎ xaxb = x (a + b) ยังคงอยู่เมื่อ a, b เป็นจำนวนเต็มใด ๆ
การยกกำลังจำนวนเต็มลบก็สามารถขยายไปบนสมาชิกที่ผกผันได้ของริงใดริงหนึ่ง โดยนิยามให้ x−1 เป็นตัวผกผันการคูณของ x
−1 ที่ปรากฏถัดจากฟังก์ชันหรือเมทริกซ์นั้น มิได้หมายถึงการยกกำลังด้วย −1 แต่เป็นฟังก์ชันผกผันหรือ ตัวอย่างเช่น f−1 (x) คือฟังก์ชันผกผันของ f (x), หรือ sin−1 (x) เป็นสัญกรณ์แบบหนึ่งของฟังก์ชัน เป็นต้น
การแทนในคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่แทนจำนวนเต็มลบโดยใช้ (two's complement) ในระบบเช่นนั้น −1 จะแทนด้วยค่าบิตทั้งหมดเป็น 1 ตัวอย่างเช่น จำนวนเต็มมีเครื่องหมาย (signed integer) ขนาด 8 บิตที่ใช้ส่วนเติมเต็มสอง จะแทน −1 ด้วยค่า "11111111" หรือ "FF" ในเลขฐานสิบหก ถ้าแปลค่านี้เป็นจำนวนเต็มไม่มีเครื่องหมาย (unsigned integer) บิตทั้งหมดจำนวน n บิตที่เป็น 1 จะหมายถึงค่า 2n − 1 ซึ่งเป็นค่ามากที่สุดที่ระบบ n บิตนั้นเก็บได้ จากตัวอย่างข้างต้น "11111111" ก็จะหมายถึง 28 − 1 = 255
อ้างอิง
- Mathematical analysis and applications By Jayant V. Deshpande,
- "Ask Dr. Math". Math Forum. สืบค้นเมื่อ 2012-10-14.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
1 lbhnung epncanwnetmlbmaksud thimakkwa 2 aetnxykwa 0 2 1 0 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 raychuxcanwn canwnetm 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 lbhnungcanwnechingxndbthi 1st thilbhnung thansxng 1thansam 1thansi 1thanha 1thanhk 1thanaepd 1thansibsxng 1thansibhk 1thanyisib 1thansamsibhk 1elkhithy 1elkhcin负一 负弌 负壹thansxng ibt 1000000012 111111112thansibhk ibt 10116 FF16 1 epntwphkphnkarbwkkhxng 1 hmaykhwamwa emuxcanwnnibwkkb 1 aelwcaidexklksnkarbwknnkhux 0 1 smphnthkbexklksnkhxngxxyelxrnnkhux eip 1 displaystyle e i pi 1 inthangwithyakarkhxmphiwetxr 1 mkichepnkhaerimtnkhxngcanwnetm aelaichaesdngwatwaeprdngklawimmikhxmulthiepnpraoychn lbhnungmismbtitang thikhlaykbbwkhnungaettangipephiyngelknxysmbtithangphichkhnitkarkhuncanwnid kb 1 ethiybethakbkarepliynekhruxnghmaykhxngcanwnnn singnisamarthphisucnodyichkdkarkracayaelasthphcnwa 1 epn sahrb x thiepncanwncringid eracaid x 1 x 1 x 1 x 1 1 x 0 x 0 displaystyle x 1 cdot x 1 cdot x 1 cdot x 1 1 cdot x 0 cdot x 0 dd emuxeraichkhxethccringwa canwncringid khunkb 0 aelwid 0 aesdngnyodycaksmkar 0 x 0 0 x 0 x 0 x displaystyle 0 cdot x 0 0 cdot x 0 cdot x 0 cdot x dd klawxiknyhnungkhux x 1 x 0 displaystyle x 1 cdot x 0 dd dngnn 1 x khuxtwphkphnkhxng x sungkmikhaethakb x nnexng kalngsxngkhxng 1 khxng 1 nnkkhux 1 khundwy 1 ethakb 1 phlthitammakhux phlkhunkhxngcanwnlbsxngcanwncaidcanwnbwk sahrbkarphisucnechingphichkhnitkhxngphllphthdngklaw erimdwysmkar 0 1 0 1 1 1 displaystyle 0 1 cdot 0 1 cdot 1 1 dd smkaraerkptibtitamkarphisucnintxnaerk niphcntwhlngptibtitamniyamkhxng 1 waepntwphkphnkarbwkkhxng 1 caknnichkdkarkracaycaidwa 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 displaystyle 0 1 cdot 1 1 1 cdot 1 1 cdot 1 1 1 cdot 1 dd smkarthisxngptibtitamkhxethccringwa 1 khuxexklksnkarkhun caknnbwkdwy 1 thngsxngkhangkhxngsmkarsudthay caid 1 1 1 displaystyle 1 cdot 1 1 dd karihehtuphldanbnyngkhngichidkbringid ktam sungepnmonthsnkhxngphichkhnitnamthrrmthiwangnythwipcakcanwnetmaelacanwncring rakthisxngkhxng 1 canwnechingsxn i sxdkhlxngkb i2 1 aelasamarththuxidwaepnkhahnungkhxng 1 canwnechingsxn x xikcanwnsungsxdkhlxngkbsmkar x2 1 kkhux i swnphichkhnitkhxngkhwxethxreniyn sungmiranabechingsxndwy smkar x2 1 camikhatxbmakmayepnxnntkarykkalngcanwnlbkarykkalngdwycanwncringthiimepnsunysamarthkhyayipsucanwnetmlbid erakahndniyamiwwa x 1 1 x hmaykhwamwa eraniyamihkarykkalngcanwnidcanwnhnungdwy 1 caidphlxyangediywkbkarhaswnklbkhxngmn niyamnikidkhyayipsucanwnetmlb thaihkd xaxb x a b yngkhngxyuemux a b epncanwnetmid karykkalngcanwnetmlbksamarthkhyayipbnsmachikthiphkphnidkhxngringidringhnung odyniyamih x 1 epntwphkphnkarkhunkhxng x 1 thipraktthdcakfngkchnhruxemthriksnn miidhmaythungkarykkalngdwy 1 aetepnfngkchnphkphnhrux twxyangechn f 1 x khuxfngkchnphkphnkhxng f x hrux sin 1 x epnsykrnaebbhnungkhxngfngkchn epntnkaraethninkhxmphiwetxrrabbkhxmphiwetxrswnihyaethncanwnetmlbodyich two s complement inrabbechnnn 1 caaethndwykhabitthnghmdepn 1 twxyangechn canwnetmmiekhruxnghmay signed integer khnad 8 bitthiichswnetimetmsxng caaethn 1 dwykha 11111111 hrux FF inelkhthansibhk thaaeplkhaniepncanwnetmimmiekhruxnghmay unsigned integer bitthnghmdcanwn n bitthiepn 1 cahmaythungkha 2n 1 sungepnkhamakthisudthirabb n bitnnekbid caktwxyangkhangtn 11111111 kcahmaythung 28 1 255xangxingMathematical analysis and applications By Jayant V Deshpande ISBN 1 84265 189 7 Ask Dr Math Math Forum subkhnemux 2012 10 14