ตัวเลขไทย เป็นอักษรตัวเลขที่ใช้แสดงจำนวนนับในภาษาไทย ประวัติการเกิดขึ้นของเลขไทยที่ใช้กันในปัจจุบัน พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงริเริ่มนำมาใช้เป็นภาษาของชาติไทย ทรงนำอักษรขอม มาดัดแปลง และมีต้นตอมาจากอักษรเทวนาครีของอินเดีย เช่นเดียวกับเลขอาหรับ เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่ใช้ระบบจำนวนนับเป็นเลขฐานสิบ และมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐาน จากอดีตสู่ปัจจุบันน้อยมาก
เลขพื้นฐาน
ศูนย์ถึงสิบ
ศูนย์ในเลขอาหรับเขียนเป็น 0 แบบวงรี แต่ในเลขไทยเขียนเป็น ๐ แบบวงกลมเล็ก ในบางกรณีสามารถมีความหมายว่า ตรงกลาง ด้วย คำนี้มีที่มาจากภาษาสันสกฤตว่า ศูนฺย
ชื่อเลขไทยสำหรับ จำนวน +1 และหน่วยทั่วไปของ 2 ถึง 9 อยู่ในตารางข้างล่าง ซึ่งเทียบกับ (เช่น กวางตุ้งและหมิ่นหนาน) ที่มีผู้พูดใน บ้านเกิดของชาวจีนโพ้นทะเลที่อาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในความเป็นจริง ศัพทมูลวิทยาของตัวเลข 2, 3, 4, 6, 7, 8, 9 และ 10 คือ ส่วนตัวเลข 5 คือ
ตัวเลขอาหรับ | ตัวเลขไทย | |||||
---|---|---|---|---|---|---|
ตัวเลข | ตัวเขียน | สัทอักษรสากล | แบบอดีต | ศัพทมูลวิทยา | ||
0 | ๐ | ศูนย์ | /sǔːn/ | สันสกฤต ศูนฺย | ||
1 | ๑ | หนึ่ง | /nɯ̀ŋ/ | อ้าย | ไทดั้งเดิม */nʉŋ/ | |
2 | ๒ | สอง | /sɔ̌ːŋ/ | ยี่ | /saŋ/ (เทียบกับ 雙 sang1 ของหมิ่นหนาน) และ /nyijH/ (เทียบกับ 二 ji7 ของหมิ่นหนาน) | |
3 | ๓ | สาม | /sǎːm/ | สาม | /sam/ (เทียบกับ 三 sam1 ของแคะ/กวางตุ้ง) | |
4 | ๔ | สี่ | /sìː/ | ไส | sijH (เทียบกับ 四 si3 ของหมิ่นหนาน) | |
5 | ๕ | ห้า | /hâː/ | งั่ว | /*ŋaʔ/ (เทียบกับ 五 ngo. ของหมิ่นหนาน) | |
6 | ๖ | หก | /hòk/ | ลก | /ljuwk/ (เทียบกับ 六 liok8 ของแคะ + กวางตุ้ง) | |
7 | ๗ | เจ็ด | /t͡ɕèt/ | เจ็ด | /tshit/ (เทียบกับ 七 chit4 ของหมิ่นหนาน) | |
8 | ๘ | แปด | /pɛ̀ːt/ | แปด | /peat/ (เทียบกับ 八 pat4 ของกวางตุ้ง) | |
9 | ๙ | เก้า | /kâːw/ | เจา | /kjuwX/ (เทียบกับ 九 kau2 ของหมิ่นหนาน) | |
10 | ๑๐ | สิบ | /sìp/ | จ๋ง | dzyip (เทียบกับ หมิ่นหนาน (เทียบกับ 十 sip8 ของแคะ) |
อย่างไรก็ตาม รูปร่างเลขโดดมีความคล้ายกับตัวเลขเขมร ถึงแม้ว่าชื่อเรียกสำหรับตัวเลขในภาษาไทยและลาวมีความคล้ายกัน แต่รูปร่างตัวเลขทั้งสองภาษามีรูปร่างแตกต่างกันบางส่วน โดยตารางข้างบนเทียบอักษรและการสะกดแบบกวางตุ้งกับหมิ่นหนาน ส่วนตารางข้างล่างเทียบรูปร่างตัวเลขในแบบเขมร ไทย และลาว
ตัวเลข | ไทย | เขมร | ลาว | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ตัวเลข | ตัวเขียน | สัทอักษรสากล | แบบอดีต | ตัวเลข | ตัวเขียน | สัทอักษรสากล | ตัวเลข | ตัวเขียน | สัทอักษรสากล | |
0 | ๐ | ศูนย์ | /sǔːn/ | (ศูนฺย ในสันสกฤต) | ០ | សូន្យ | /soun/ | ໐ | ສູນ | /sǔːn/ |
1 | ๑ | หนึ่ง | /nɯ̀ŋ/ | อ้าย | ១ | មួយ | /muəj/ | ໑ | ນຶ່ງ | /nɯ̌ŋ/ |
2 | ๒ | สอง | /sɔ̌ːŋ/ | ยี่ | ២ | ពីរ | /piː/ | ໒ | ສອງ | /sǒːŋ/ |
3 | ๓ | สาม | /sǎːm/ | สาม | ៣ | បី | /ɓəj/ | ໓ | ສາມ | /sǎːm/ |
4 | ๔ | สี่ | /sìː/ | ไส | ៤ | បួន | /ɓuən/ | ໔ | ສີ່ | /sìː/ |
5 | ๕ | ห้า | /hâː/ | งั่ว | ៥ | ប្រាំ | /pram/ | ໕ | ຫ້າ | /hâː/ |
6 | ๖ | หก | hòk | ลก | ៦ | ប្រាំមួយ | /pram muəj/ | ໖ | ຫົກ | /hók/ |
7 | ๗ | เจ็ด | /t͡ɕèt/ | เจ็ด | ៧ | ប្រាំពីរ | /pram piː/ | ໗ | ເຈັດ | /t͡ɕét/ |
8 | ๘ | แปด | /pɛ̀ːt/ | แปด | ៨ | ប្រាំបី | /pram ɓəj/ | ໘ | ແປດ | /pɛ́t/ |
9 | ๙ | เก้า | /kâːw/ | เจา | ៩ | ប្រាំបួន | /pram ɓuən/ | ໙ | ເກົ້າ | /kâw/ |
10 | ๑๐ | สิบ | /sìp/ | จ๋ง | ១០ | ដប់ | /ɗɑp/ | ໑໐ | ສິບ | /síp/ |
สิบถึงหนึ่งล้าน
เลขไทย | เลขอาหรับ | ค่าของตัวเลข |
---|---|---|
๑๐ | 10 | สิบ |
๑๑ | 11 | สิบเอ็ด |
๒๐ | 20 | ยี่สิบ |
๑๐๐ | 100 | (หนึ่ง)ร้อย |
๑,๐๐๐ | 1,000 | (หนึ่ง)พัน |
๑๐,๐๐๐ | 10,000 | (หนึ่ง)หมื่น |
๑๐๐,๐๐๐ | 100,000 | (หนึ่ง)แสน |
๑,๐๐๐,๐๐๐ | 1,000,000 | (หนึ่ง)ล้าน |
เลข ๑๓๒ อ่านว่า หนึ่งร้อยสามสิบสอง คำว่า ร้อย, พัน ฯลฯ ซึ่งเป็นค่าประจำหลัก จะต้องอ่านออกเสียงหลังเลขในหลักนั้น ๆ และในหลักภาษา จะต้องอ่านออกเสียง ๑๐๐ ว่า หนึ่งร้อย ไม่ใช่ ร้อย[] ในภาษาพูดทั่วไป คำว่า หนึ่ง มีออกเสียงเพี้ยนเป็น นึง ซึ่งทำให้ความหมายของ 100 (ร้อยนึง) กับ 101 (ร้อยหนึ่ง : ตามหลักภาษา อ่านว่า หนึ่งร้อยเอ็ด) แตกต่างกัน[]
สูงกว่าหนึ่งล้าน
ตัวเลขที่สูงกว่าหนึ่งล้าน สามารถใช้คำว่า ล้าน เป็นตัวคูณ เช่น 10,000,000 อ่านว่า สิบล้าน มาจากเอา "สิบ" คูณ "ล้าน"
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- English-Thai reverse lookup and synonyms
- Suthiwan, Titima; Uri Tadmor (2009). Martin Haspelmath (บ.ก.). Loanwords in the World's Languages: A Comparative Handbook. Walter de Gruyter. p. 606. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- (ORID 1999) [TH: พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒]
- Numerals in many different writing systems, which includes Lao, Khmer and Thai numerals 0-9; retrieved 2008-11-12
- Graphic version of Numerals in many different writing systems, no Unicode required; retrieved 2008-11-12
- Thai Numbers 2016-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. How they are written in their numeral and textual forms and how to pronounce them.
- "International Reference Library Thread of Thai Classifiers" (38 entries)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
twelkhithy epnxksrtwelkhthiichaesdngcanwnnbinphasaithy prawtikarekidkhunkhxngelkhithythiichkninpccubn phxkhunramkhaaehngmharachthrngrierimnamaichepnphasakhxngchatiithy thrngnaxksrkhxm maddaeplng aelamitntxmacakxksrethwnakhrikhxngxinediy echnediywkbelkhxahrb epnhnunginimkiphasathiichrabbcanwnnbepnelkhthansib aelamikarepliynaeplngsnthan cakxditsupccubnnxymakelkhphunthansunythungsib sunyinelkhxahrbekhiynepn 0 aebbwngri aetinelkhithyekhiynepn 0 aebbwngklmelk inbangkrnisamarthmikhwamhmaywa trngklang dwy khanimithimacakphasasnskvtwa sun y chuxelkhithysahrb canwn 1 aelahnwythwipkhxng 2 thung 9 xyuintarangkhanglang sungethiybkb echn kwangtungaelahminhnan thimiphuphudin banekidkhxngchawcinophnthaelthixasyxyuinexechiytawnxxkechiyngit inkhwamepncring sphthmulwithyakhxngtwelkh 2 3 4 6 7 8 9 aela 10 khux swntwelkh 5 khux twelkhxahrb twelkhithytwelkh twekhiyn sthxksrsakl aebbxdit sphthmulwithya0 0 suny sǔːn snskvt sun y1 1 hnung nɯ ŋ xay ithdngedim nʉŋ 2 2 sxng sɔ ːŋ yi saŋ ethiybkb 雙 sang1 khxnghminhnan aela nyijH ethiybkb 二 ji7 khxnghminhnan 3 3 sam sǎːm sam sam ethiybkb 三 sam1 khxngaekha kwangtung 4 4 si siː is sijH ethiybkb 四 si3 khxnghminhnan 5 5 ha haː ngw ŋaʔ ethiybkb 五 ngo khxnghminhnan 6 6 hk hok lk ljuwk ethiybkb 六 liok8 khxngaekha kwangtung 7 7 ecd t ɕet ecd tshit ethiybkb 七 chit4 khxnghminhnan 8 8 aepd pɛ ːt aepd peat ethiybkb 八 pat4 khxngkwangtung 9 9 eka kaːw eca kjuwX ethiybkb 九 kau2 khxnghminhnan 10 10 sib sip cng dzyip ethiybkb hminhnan ethiybkb 十 sip8 khxngaekha xyangirktam ruprangelkhoddmikhwamkhlaykbtwelkhekhmr thungaemwachuxeriyksahrbtwelkhinphasaithyaelalawmikhwamkhlaykn aetruprangtwelkhthngsxngphasamiruprangaetktangknbangswn odytarangkhangbnethiybxksraelakarsakdaebbkwangtungkbhminhnan swntarangkhanglangethiybruprangtwelkhinaebbekhmr ithy aelalaw twelkh ithy ekhmr lawtwelkh twekhiyn sthxksrsakl aebbxdit twelkh twekhiyn sthxksrsakl twelkh twekhiyn sthxksrsakl0 0 suny sǔːn sun y insnskvt ០ ស ន យ soun ໐ ສ ນ sǔːn 1 1 hnung nɯ ŋ xay ១ ម យ muej ໑ ນ ງ nɯ ŋ 2 2 sxng sɔ ːŋ yi ២ ព រ piː ໒ ສອງ sǒːŋ 3 3 sam sǎːm sam ៣ ប ɓej ໓ ສາມ sǎːm 4 4 si siː is ៤ ប ន ɓuen ໔ ສ siː 5 5 ha haː ngw ៥ ប រ pram ໕ ຫ າ haː 6 6 hk hok lk ៦ ប រ ម យ pram muej ໖ ຫ ກ hok 7 7 ecd t ɕet ecd ៧ ប រ ព រ pram piː ໗ ເຈ ດ t ɕet 8 8 aepd pɛ ːt aepd ៨ ប រ ប pram ɓej ໘ ແປດ pɛ t 9 9 eka kaːw eca ៩ ប រ ប ន pram ɓuen ໙ ເກ າ kaw 10 10 sib sip cng ១០ ដប ɗɑp ໑໐ ສ ບ sip sibthunghnunglan elkhithy elkhxahrb khakhxngtwelkh10 10 sib11 11 sibexd20 20 yisib100 100 hnung rxy1 000 1 000 hnung phn10 000 10 000 hnung hmun100 000 100 000 hnung aesn1 000 000 1 000 000 hnung lan elkh 132 xanwa hnungrxysamsibsxng khawa rxy phn l sungepnkhapracahlk catxngxanxxkesiynghlngelkhinhlknn aelainhlkphasa catxngxanxxkesiyng 100 wa hnungrxy imich rxy txngkarxangxing inphasaphudthwip khawa hnung mixxkesiyngephiynepn nung sungthaihkhwamhmaykhxng 100 rxynung kb 101 rxyhnung tamhlkphasa xanwa hnungrxyexd aetktangkn txngkarxangxing sungkwahnunglan twelkhthisungkwahnunglan samarthichkhawa lan epntwkhun echn 10 000 000 xanwa siblan macakexa sib khun lan duephimtwelkhcin twelkhekhmr Lakh xksrithy phasaithy nalikahkchwomng sanknganrachbnthitysphaxangxingEnglish Thai reverse lookup and synonyms Suthiwan Titima Uri Tadmor 2009 Martin Haspelmath b k Loanwords in the World s Languages A Comparative Handbook Walter de Gruyter p 606 ISBN 9783110218442 aehlngkhxmulxun ORID 1999 TH phcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 Numerals in many different writing systems which includes Lao Khmer and Thai numerals 0 9 retrieved 2008 11 12 Graphic version of Numerals in many different writing systems no Unicode required retrieved 2008 11 12 Thai Numbers 2016 03 03 thi ewyaebkaemchchin How they are written in their numeral and textual forms and how to pronounce them International Reference Library Thread of Thai Classifiers 38 entries