- บทความนี้ว่าด้วยหลักธรรม สำหรับบทสวด โปรดดู
โพชฌงค์ หรือ โพชฌงค์ 7 คือธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ หรือองค์ของผู้ตรัสรู้ มีเจ็ดอย่างคือ
- สติ (สติสัมโพชฌงค์) ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
- ธัมมวิจยะ (ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์) ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
- วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร
- ปีติ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอิ่มใจ
- (ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์) ความสงบกายใจ
- สมาธิ (สมาธิสัมโพชฌงค์) ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
- อุเบกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
สติกำหนดรู้ในรูปนามจึงเกิดการจำแนกธรรมเกิดธัมมวิจยะว่าสิ่งนี้เป็นกุศลเป็นอกุศล ว่ากุศลควรเจริญอกุศลควรละเว้น จึงเกิดวิริยะความเพียรในการสร้างและรักษากุศล เพียรในการทำลายอกุศลและป้องกันอกุศลไม่ให้เกิดขึ้น ทำให้เกิดปีติอิ่มใจปลื้มใจในการทำดีละเว้นความชั่ว เพราะมีปีติ จึงทำให้ปฏิฆะความไม่พอใจอันเกิดจากความทุกข์กายทุกข์ใจเบาบางลง เมื่อความทุกข์เบาบางจิตจึงไม่ทุรนทุราย จึงเกิดปัสสัทธิความสงบกายสงบใจขึ้น เมื่อจิตใจสงบ วิตกวิจารการตรึกการตรองหรือการนึกคิดจึงสงบระงับลง เมื่อความนึกคิดสงบระงับลงนิวรณ์ที่ต้องอาศัยความนึกคิดจึงจะเกิดขึ้นมาได้ ก็จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เมื่อนิวรณ์ไม่เกิดขึ้น สมาธิจึงเกิดขึ้น เมื่อสมาธิเกิดขึ้น จิตจึงละวางในความชอบใจและความไม่ชอบใจ ในอารมณ์ที่เกิดขึ้นจากผัสสะในอายตนะทั้ง6ลงเสียได้ จึงเกิดอุเบกขาความวางเฉย เมื่ออุเบกขาเกิดขึ้นจึงวางเฉยต่อบัญญัติทั้งปวง ว่าสิ่งนี้ดีกว่ากัน เลวกว่ากันหรือเสมอกัน ลงเสียได้
โพชฌงค์ 7 เป็นส่วนหนึ่งของ โพธิปักขิยธรรม 37 (ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค อันได้แก่ สติปัฏฐาน4 สัมมัปปธาน4 อิทธิบาท4 อินทรีย์5 พละ5 โพชฌงค์7 และมรรคมีองค์ 8) ทั้งนี้ พระสูตรและปาฐะที่เกี่ยวข้องกับโพชฌงค์ 7 โดยตรง ได้แก่ มหากัสสปโพชฌังคสุตตปาฐะ, มหาโมคคัลลานโพชฌังคสุตตปาฐะ, มหาจุนทโพชฌังคสุตตปาฐะ
โพชฌงค์คู่ปรับกับอนุสัย
- สติเป็นคู่ปรับกับอวิชชา
- ธัมมวิจยะเป็นคู่ปรับกับทิฏฐิ(และ)
- วิริยะเป็นคู่ปรับกับ
- ปีติเป็นคู่ปรับกับ
- ปัสสัทธิเป็นคู่ปรับกับกามราคะ
- สมาธิเป็นคู่ปรับกับ( (ภพที่สงบ)กับ (ภพที่ไม่สงบ ความฟุ้งซ่าน))
- อุเบกขาเป็นคู่ปรับกับมานะ
- ธัมมวิจยะและวิริยะทำลายทิฏฐิและวิจิกิจฉาอนุสัย บรรลุเป็นพระโสดาบันและหรือพระสกทาคามี
- ปีติและปัสสัทธิทำลายปฏิฆะและกามราคะอนุสัย บรรลุเป็นพระอนาคามี
- สมาธิ อุเบกขาและสติทำลายรูปราคะ อรูปราคะ อุทธัจจกุกกุจจะ มานะ อวิชชาอนุสัย บรรลุเป็นพระอรหันต์
สติ ความระลึกได้ ธรรมดาสตินั้นเป็นธรรมชาติทำลายโมหะคือความหลง ท่านกล่าวว่าโมหะทำให้เกิดอวิชชา และอวิชชาทำให้เกิดโมหะเช่นกัน ดังนั้นผู้เจริญสติจึงได้ชื่อว่าเป็นผู้ทำลายอวิชชาลงเสียได้
ธัมมวิจยะ ความพิจารณาในธรรมจนเห็นชัดตามความเป็นจริงย่อมทำลายสักกายทิฏฐิในตัวตนว่าขันธ์ 5 เป็นตัวกู(อหังการ) ของกู(มมังการ) ลงเสียได้และย่อมทำลายสีลัพพัตตปรามาส การถือมั่นในศีลพรตอย่างผิดๆ ด้วยการเห็นตามความเป็นจริงว่าสิ่งทั้งหลายเป็นไปตามกฎแห่งกรรม
วิริยะ ความแกล้วกล้าของจิต ที่เพียรพยายามด้วยศรัทธาที่มั่นคง จนประสบผลจากการปฏิบัติจนสิ้นความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือเป็นความศรัทธาในระดับวิริยะ คือมีความแกล้วกล้า (วิร ศัพท์ แปลว่ากล้า ) อันหมายถึงความเพียรอันเกิดจากความแกล้วกล้าเพราะศรัทธา
ปีติ ความสุขจากความแช่มชื่นใจของปีติ ย่อมดับสิ้นซึ่งพยาบาทและปฏิฆะความไม่พอใจใดๆลงเสียได้
ปัสสัทธิ ความสงบกายสงบใจ ย่อมทำให้กามราคะที่เกิดเมื่อเกิดย่อมต้องอาศัยการนึกคิดตรึกตรองในกาม เมื่อสำรวมกายคืออินทรีย์5ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และสำรวมใจไม่ให้คิดตรึกตรองในกาม ย่อมยังกามราคะที่จะเกิดไม่ให้เกิดเสียได้
สมาธิ ความตั้งใจมั่น สมาธิระดับอัปปนาสมาธิย่อมกำจัดความฟุ่งซ่านรำคาญใจลงเสียได้ และสมาธิระดับอรูปราคะย่อมทำลายความยินดีพอใจในรูปราคะเสียเพราะความยินดีในอรูปราคะ และสมาธิระดับนิโรธสมาบัติย่อมต้องทำลายความยินดีพอใจในอรูปราคะเสียเพราะมีนิพพานเป็นอารมณ์ (ในชั้นนี้ ผู้ปฏิบัติที่สามารถละปฏิฆะและกามราคะได้เด็ดขาด ย่อมบรรลุเป็นพระอนาคามีที่มีปกติเข้าถึงนิโรธสมาบัติได้แล้ว )
อุเบกขา ความวางเฉย คือวางเฉยในสมมุติบัญญัติและผัสสะเวทนาทั้งหลาย ทั้งหยาบ เสมอกัน และปราณีต จนข้ามพ้นในความเลวกว่า เสมอกัน ดีกว่ากัน จนละมานะทั้งหลายลงเสียได้
ธรรมะที่เกี่ยวข้อง
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญสติปัฏฐาน 4 ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน 4 แล้ว ทำให้มากแล้วย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ 7 ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ 7 แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ
— อานาปานสติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔
อ้างอิง
- พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ - หน้าที่ 241
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม"
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์"
- อานาปานสติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔
แหล่งข้อมูลอื่น
- เจริญสติปัฏฐาน๔ บำเพ็ญโพชฌงค์๗ ให้บริบูรณ์ ในวิกิซอร์ซ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniwadwyhlkthrrm sahrbbthswd oprddu dd ophchchngkh hrux ophchchngkh 7 khuxthrrmthiepnxngkhaehngkartrsru hruxxngkhkhxngphutrsru miecdxyangkhux sti stismophchchngkh khwamralukid sanukphrxmxyu icxyukbkic citxyukberuxng thmmwicya thmmwicysmophchchngkh khwamefnthrrm khwamsxdsxngsubkhnthrrm wiriya wiriysmophchchngkh khwamephiyr piti pitismophchchngkh khwamximic pssththismophchchngkh khwamsngbkayic smathi smathismophchchngkh khwammiictngmn citaenwinxarmn xuebkkha xuebkkhasmophchchngkh khwammiicepnklang ephraaehntamepncring stikahndruinrupnamcungekidkarcaaenkthrrmekidthmmwicyawasingniepnkuslepnxkusl wakuslkhwrecriyxkuslkhwrlaewn cungekidwiriyakhwamephiyrinkarsrangaelarksakusl ephiyrinkarthalayxkuslaelapxngknxkuslimihekidkhun thaihekidpitiximicplumicinkarthadilaewnkhwamchw ephraamipiti cungthaihptikhakhwamimphxicxnekidcakkhwamthukkhkaythukkhicebabanglng emuxkhwamthukkhebabangcitcungimthurnthuray cungekidpssththikhwamsngbkaysngbickhun emuxciticsngb witkwicarkartrukkartrxnghruxkarnukkhidcungsngbrangblng emuxkhwamnukkhidsngbrangblngniwrnthitxngxasykhwamnukkhidcungcaekidkhunmaid kcaimsamarthekidkhunid emuxniwrnimekidkhun smathicungekidkhun emuxsmathiekidkhun citcunglawanginkhwamchxbicaelakhwamimchxbic inxarmnthiekidkhuncakphssainxaytnathng6lngesiyid cungekidxuebkkhakhwamwangechy emuxxuebkkhaekidkhuncungwangechytxbyytithngpwng wasingnidikwakn elwkwaknhruxesmxkn lngesiyid ophchchngkh 7 epnswnhnungkhxng ophthipkkhiythrrm 37 thrrmxnepnfkfayaehngkhwamtrsru ekuxhnunaekxriymrrkh xnidaek stiptthan4 smmppthan4 xiththibath4 xinthriy5 phla5 ophchchngkh7 aelamrrkhmixngkh 8 thngni phrasutraelapathathiekiywkhxngkbophchchngkh 7 odytrng idaek mhaksspophchchngkhsuttpatha mhaomkhkhllanophchchngkhsuttpatha mhacunthophchchngkhsuttpathaophchchngkhkhuprbkbxnusystiepnkhuprbkbxwichcha thmmwicyaepnkhuprbkbthitthi aela wiriyaepnkhuprbkb pitiepnkhuprbkb pssththiepnkhuprbkbkamrakha smathiepnkhuprbkb phphthisngb kb phphthiimsngb khwamfungsan xuebkkhaepnkhuprbkbmanathmmwicyaaelawiriyathalaythitthiaelawicikicchaxnusy brrluepnphraosdabnaelahruxphraskthakhami pitiaelapssththithalayptikhaaelakamrakhaxnusy brrluepnphraxnakhami smathi xuebkkhaaelastithalayruprakha xruprakha xuththcckukkucca mana xwichchaxnusy brrluepnphraxrhnt sti khwamralukid thrrmdastinnepnthrrmchatithalayomhakhuxkhwamhlng thanklawwaomhathaihekidxwichcha aelaxwichchathaihekidomhaechnkn dngnnphuecriysticungidchuxwaepnphuthalayxwichchalngesiyid thmmwicya khwamphicarnainthrrmcnehnchdtamkhwamepncringyxmthalayskkaythitthiintwtnwakhnth 5 epntwku xhngkar khxngku mmngkar lngesiyidaelayxmthalaysilphphttpramas karthuxmninsilphrtxyangphid dwykarehntamkhwamepncringwasingthnghlayepniptamkdaehngkrrm wiriya khwamaeklwklakhxngcit thiephiyrphyayamdwysrththathimnkhng cnprasbphlcakkarptibticnsinkhwamsngsyinkhunkhxngphrartntry khuxepnkhwamsrththainradbwiriya khuxmikhwamaeklwkla wir sphth aeplwakla xnhmaythungkhwamephiyrxnekidcakkhwamaeklwklaephraasrththa piti khwamsukhcakkhwamaechmchunickhxngpiti yxmdbsinsungphyabathaelaptikhakhwamimphxicidlngesiyid pssththi khwamsngbkaysngbic yxmthaihkamrakhathiekidemuxekidyxmtxngxasykarnukkhidtruktrxnginkam emuxsarwmkaykhuxxinthriy5idaek ta hu cmuk lin kay aelasarwmicimihkhidtruktrxnginkam yxmyngkamrakhathicaekidimihekidesiyid smathi khwamtngicmn smathiradbxppnasmathiyxmkacdkhwamfungsanrakhayiclngesiyid aelasmathiradbxruprakhayxmthalaykhwamyindiphxicinruprakhaesiyephraakhwamyindiinxruprakha aelasmathiradbniorthsmabtiyxmtxngthalaykhwamyindiphxicinxruprakhaesiyephraaminiphphanepnxarmn inchnni phuptibtithisamarthlaptikhaaelakamrakhaideddkhad yxmbrrluepnphraxnakhamithimipktiekhathungniorthsmabtiidaelw xuebkkha khwamwangechy khuxwangechyinsmmutibyytiaelaphssaewthnathnghlay thnghyab esmxkn aelapranit cnkhamphninkhwamelwkwa esmxkn dikwakn cnlamanathnghlaylngesiyidthrrmathiekiywkhxngdukrphiksuthnghlay xanapansti xnphiksuecriyaelw thaihmakaelw yxmmiphlmak mixanisngsmak phiksuthiecriyxanapanstiaelw thaihmakaelw yxmbaephystiptthan 4 ihbriburnid phiksuthiecriystiptthan 4 aelw thaihmakaelwyxmbaephyophchchngkh 7 ihbriburnid phiksuthiecriyophchchngkh 7 aelw thaihmakaelw yxmbaephywichchaaelawimuttiihbriburnid xanapanstisutr phraitrpidk elmthi 14xangxingphrasuttntpidk sngyuttnikay mhawarwrrkh elm 5 phakh 1 hnathi 241 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth xanapanstisutr phraitrpidk elmthi 14aehlngkhxmulxunecriystiptthan4 baephyophchchngkh7 ihbriburn inwikisxrs