ปิติ (บาลี: Pīti) หมายถึง ความอิ่มใจ ความดื่มด่ำ
ประเภทของปีติ
คัมภีร์วิสุทธิมรรคและวิมุตติมรรค
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคและวิมุตติมรรค แบ่งปีติเป็นห้าประเภท คือ
- ขุททกาปีติ ปีติเล็กน้อย พอขนชูชันน้ำตาไหล
- ขณิกาปีติ ปีติชั่วขณะ ทำให้รู้สึกแปลบๆเป็นขณะๆ ดุจฟ้าแลบ เสียวซ่านถึงรูขุมขน
- โอกกันติกาปีติ ปีติเป็นระลอก หรือปีติเป็นพักๆ ทำให้รู้สึกซู่ลงมาๆ ในกายดุจคลื่นซัดต้องฝั่ง
- อุพเพคาปีติ หรือ อุพเพงคาปีติ ปีติโลดลอย เป็นอย่างแรง ให้รู้สึกใจฟู แสดงอาการหรือทำการบางอย่างโดยมิได้ตั้งใจ เช่น เปล่งอุทาน เป็นต้น หรือให้รู้สึกตัวเบา เหมือนลอยขึ้นไปในอากาศ
- ผรณาปีติ ปีติซาบซ่าน ให้รู้สึกเย็นซ่านเอิบอาบไปทั่วสรรพางค์ ปีติที่ประกอบกับสมาธิ ท่านมุ่งเอาข้อนี้
ขุททกาปีติและขณิกาปีติสามารถเข้าถึงได้ด้วยศรัทธา โอกกันติกาปีตินั้นถ้ามีมากย่อมทำให้เกิดขึ้น อุพเพคาปีติที่ยึดติดกับดวงกสิณ ทำให้ทั้งกุศลและอกุศลเกิดขึ้น และขึ้นอยู่กับความเชี่ยวชาญ ผรณาปีติบุคคลทำให้เกิดขึ้นในสภาวะแห่ง
คัมภีร์วิมุตติมรรค
ในคัมภีร์วิมุตติมรรค ยังมีการแบ่งอีกแบบหนึ่ง แบ่งปีติเป็นหกประการ คือ
- ปีติเกิดจากราคะ ความอิ่มใจเพราะความชอบ หลงใหล และความอิ่มใจที่ประกอบด้วยกิเลส
- ปีติเกิดจากศรัทธา ความอิ่มใจของบุคคลผู้มีศรัทธาอย่างแรงกล้า
- ปีติเกิดจากความไม่ดื้อด้าน ความอิ่มใจอย่างยิ่งของคนดี มีใจบริสุทธิ์
- ปีติเกิดจากวิเวก ความอิ่มใจของบุคคลผู้เข้าปฐมฌาน
- ปีติเกิดจากสมาธิ ความอิ่มใจของบุคคลผู้เข้าทุติยฌาน
- ปีติเกิดจากโพชฌงค์ ความอิ่มใจที่เกิดจากการดำเนินตามโลกุตตรมรรค ในทุติยฌาน
ธรรมะที่เกี่ยวข้อง
ปีติ พบรวมอยู่ในหลักธรรมอื่นๆทางพุทธศาสนา เช่น
- โพชฌงค์ ๗ คือธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ ได้แก่ สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปีติ สมาธิ อุเบกขา)
- องค์ฌาน ได้แก่ ในปฐมฌานประกอบด้วย ปีติ สุข และ) ทุติยฌานประกอบด้วย ปีติ สุข และ)
นอกจากนี้ ปีติยังเป็นหนึ่งในวิปัสสนูปกิเลส ๑๐ (อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา)
ปีติเจตสิก
ในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงปีติในลักษณะที่เป็นเจตสิก (ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า "ปีติเจตสิก" มีลักษณะดังนี้ คือ
- มีความแช่มชื่นใจในอารมณ์เป็น "ลักษณะ"
- มีการทำให้อิ่มกายอิ่มใจ หรือทำให้ซาบซ่านทั่วร่างกาย เป็น "กิจ"
- มีความฟูใจเป็น "ผล"
- มีนามขันธ์ ๓ ที่เหลือ ได้แก่ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และวิญญาณขันธ์) เป็น "เหตุใกล้"
ธรรมชาติของปีตินี้ เมื่อเกิดขึ้นกับใครย่อมทำให้ผู้นั้นรู้สึกปลาบปลื้มใจ มีหน้าตาและกายวาจาชื่นบานแจ่มใสเป็นพิเศษ บางทีก็ทำให้รู้สึกซาบซ่านไปทั่วร่างกาย ซึ่งเกิดจากปีติแผ่ซ่านไปทั่วร่างกายนี่เอง และทำให้จิตใจของผู้นั้นแช่มชื่น เข้มแข็ง ไม่รู้สึกเหนื่อยหน่ายต่ออารมณ์
อาการปรากฏของปีตินี้ คือ ทำให้จิตใจฟูอื่มเอิบขึ้นมา
ปีติจะเกิดขึ้นได้นั้น ย่อมต้องอาศัยนามขันธ์ ๓ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และวิญญาณขันธ์ เป็นเหตุใกล้ให้เกิด
เวทนาขันธ์ที่เป็นเหตุใกล้ให้เกิดปีตินั้น ย่อมอาศัยสุขเวทนา เป็นต้น เป็นเหตุให้ปีติเกิด ด้วยเหตุนี้เอง บางทีเราเข้าใจว่า ปีติและสุขเป็นอันเดียวกัน แยกจากกันไม่ได้ แต่ความจริงนั้นปีติกับสุขต่างกัน คือ สุขเป็นเวทนาขันธ์ ปีติเป็นสังขารขันธ์ และเมื่อมีปีติจะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่าเมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้
ข้อความอ้างอิง
เมื่อเธอพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ เหล่านี้ ที่ละแล้วในตน ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปิติ เมื่อมีปีติในใจ กายย่อมสงบ เธอมีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น เธอสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่น เอิบอิ่มซาบซ่านด้วยปีติและสุขเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง
อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่าน ด้วยปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง— สุภสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙
ความปราโมทย์ย่อมเกิดแก่เธอผู้รู้แจ้งอรรถ รู้แจ้งธรรม ความอิ่มใจย่อมเกิดแก่เธอผู้ปราโมทย์แล้ว กายของเธอผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมสงบระงับ เธอผู้มีกายสงบระงับแล้ว ย่อมเสวยความสุข จิตของเธอผู้มีความสุข ย่อมตั้งมั่น
— สังคีติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑
สังขารทั้งหลายมีอวิชชาเป็นที่อิงอาศัย วิญญาณมีสังขารเป็นที่อิงอาศัย นามรูปมีวิญญาณเป็นที่อิงอาศัย ผัสสะมีสฬายตนะเป็นที่อิงอาศัย เวทนามีผัสสะเป็นที่อิงอาศัย ตัณหามีเวทนาเป็นที่อิงอาศัย อุปาทานมีตัณหาเป็นที่อิงอาศัย ภพมีอุปาทานเป็นที่อิงอาศัย ชาติมีภพเป็นที่อิงอาศัย ทุกข์มีชาติเป็นที่อิงอาศัย ศรัทธามีทุกข์เป็นที่อิงอาศัย ความปราโมทย์มีศรัทธาเป็นที่อิงอาศัย ปีติมีปราโมทย์เป็นที่อิงอาศัย ปัสสัทธิมีปีติเป็นที่อิงอาศัย สุขมีปัสสัทธิเป็นที่อิงอาศัย สมาธิมีสุขเป็นที่อิงอาศัย ยถาภูตญาณทัสสนะมีสมาธิเป็นที่อิงอาศัย นิพพิทามียถาภูตญาณทัสสนะเป็นที่อิงอาศัย วิราคะมีนิพพิทาเป็นที่อิงอาศัย วิมุตติมีวิราคะเป็นที่อิงอาศัย ญาณในธรรมเป็นที่สิ้นไปมีวิมุตติเป็นที่อิงอาศัย
— อุปนิสสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖
อ้างอิง
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- พระพุทธโฆษาจารย์. "คัมภีร์พระวิสุทธิมรรค".
- "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
- พระอุปติสสเถระ. "วิมุตติมรรค".
- สุภสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙
- สังคีติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑
- อุปนิสสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
piti bali Piti hmaythung khwamximic khwamdumdapraephthkhxngpitikhmphirwisuththimrrkhaelawimuttimrrkh inkhmphirwisuththimrrkhaelawimuttimrrkh aebngpitiepnhapraephth khux khuththkapiti pitielknxy phxkhnchuchnnataihl khnikapiti pitichwkhna thaihrusukaeplbepnkhna ducfaaelb esiywsanthungrukhumkhn oxkkntikapiti pitiepnralxk hruxpitiepnphk thaihrusuksulngma inkayduckhlunsdtxngfng xuphephkhapiti hrux xuphephngkhapiti pitioldlxy epnxyangaerng ihrusukicfu aesdngxakarhruxthakarbangxyangodymiidtngic echn eplngxuthan epntn hruxihrusuktweba ehmuxnlxykhunipinxakas phrnapiti pitisabsan ihrusukeynsanexibxabipthwsrrphangkh pitithiprakxbkbsmathi thanmungexakhxni khuththkapitiaelakhnikapitisamarthekhathungiddwysrththa oxkkntikapitinnthamimakyxmthaihekidkhun xuphephkhapitithiyudtidkbdwngksin thaihthngkuslaelaxkuslekidkhun aelakhunxyukbkhwamechiywchay phrnapitibukhkhlthaihekidkhuninsphawaaehng khmphirwimuttimrrkh inkhmphirwimuttimrrkh yngmikaraebngxikaebbhnung aebngpitiepnhkprakar khux pitiekidcakrakha khwamximicephraakhwamchxb hlngihl aelakhwamximicthiprakxbdwykiels pitiekidcaksrththa khwamximickhxngbukhkhlphumisrththaxyangaerngkla pitiekidcakkhwamimduxdan khwamximicxyangyingkhxngkhndi miicbrisuththi pitiekidcakwiewk khwamximickhxngbukhkhlphuekhapthmchan pitiekidcaksmathi khwamximickhxngbukhkhlphuekhathutiychan pitiekidcakophchchngkh khwamximicthiekidcakkardaenintamolkuttrmrrkh inthutiychanthrrmathiekiywkhxngpiti phbrwmxyuinhlkthrrmxunthangphuththsasna echn ophchchngkh 7 khuxthrrmthiepnxngkhaehngkartrsru idaek sti thmmwicya wiriya piti smathi xuebkkha xngkhchan idaek inpthmchanprakxbdwy piti sukh aela thutiychanprakxbdwy piti sukh aela nxkcakni pitiyngepnhnunginwipssnupkiels 10 xupkielsaehngwipssna pitiectsikinkhmphirphraxphithrrm mikarklawthungpitiinlksnathiepnectsik thrrmchatithixasycitekid eriykwa pitiectsik milksnadngni khux mikhwamaechmchunicinxarmnepn lksna mikarthaihximkayximic hruxthaihsabsanthwrangkay epn kic mikhwamfuicepn phl minamkhnth 3 thiehlux idaek ewthnakhnth syyakhnth aelawiyyankhnth epn ehtuikl thrrmchatikhxngpitini emuxekidkhunkbikhryxmthaihphunnrusukplabplumic mihnataaelakaywacachunbanaecmisepnphiess bangthikthaihrusuksabsanipthwrangkay sungekidcakpitiaephsanipthwrangkayniexng aelathaihcitickhxngphunnaechmchun ekhmaekhng imrusukehnuxyhnaytxxarmn xakarpraktkhxngpitini khux thaihciticfuxumexibkhunma piticaekidkhunidnn yxmtxngxasynamkhnth 3 khux ewthnakhnth syyakhnth aelawiyyankhnth epnehtuiklihekid ewthnakhnththiepnehtuiklihekidpitinn yxmxasysukhewthna epntn epnehtuihpitiekid dwyehtuniexng bangthieraekhaicwa pitiaelasukhepnxnediywkn aeykcakknimid aetkhwamcringnnpitikbsukhtangkn khux sukhepnewthnakhnth pitiepnsngkharkhnth aelaemuxmipiticatxngmisukhesmxaennxn aetwaemuxmisukh xaccaimmipitidwykidkhxkhwamxangxingemuxethxphicarnaehnniwrn 5 ehlani thilaaelwintn yxmekidpraomthy emuxpraomthyaelwyxmekidpiti emuxmipitiinic kayyxmsngb ethxmikaysngbaelwyxmideswysukh emuxmisukh cityxmtngmn ethxsngdcakkam sngdcakxkuslthrrm brrlupthmchan miwitk miwicar mipitiaelasukhekidaetwiewkxyu ethxthakayniaehlaihchumchun exibximsabsandwypitiaelasukhekidaetwiewk immiexkethsihn aehngkaykhxngethxthwthngtw thipitiaelasukhxnekidaetwiewkcaimthuktxng xikprakarhnung phiksubrrluthutiychan mikhwamphxngisaehngcitinphayin epnthrrmexkphudkhun ephraawitkwicarsngbip immiwitk immiwicar mipitiaelasukhekidaetsmathixyu ethxthakayniaehlaihchumchunexibximsabsan dwypitiaelasukhxnekidaetsmathi immiexkethsihn aehngkaykhxngethxthwthngtw thipitiaelasukhxnekidaetsmathicaimthuktxng suphsutr phraitrpidk elmthi 9 khwampraomthyyxmekidaekethxphuruaecngxrrth ruaecngthrrm khwamximicyxmekidaekethxphupraomthyaelw kaykhxngethxphumiicprakxbdwypiti yxmsngbrangb ethxphumikaysngbrangbaelw yxmeswykhwamsukh citkhxngethxphumikhwamsukh yxmtngmn sngkhitisutr phraitrpidk elmthi 11 sngkharthnghlaymixwichchaepnthixingxasy wiyyanmisngkharepnthixingxasy namrupmiwiyyanepnthixingxasy phssamislaytnaepnthixingxasy ewthnamiphssaepnthixingxasy tnhamiewthnaepnthixingxasy xupathanmitnhaepnthixingxasy phphmixupathanepnthixingxasy chatimiphphepnthixingxasy thukkhmichatiepnthixingxasy srththamithukkhepnthixingxasy khwampraomthymisrththaepnthixingxasy pitimipraomthyepnthixingxasy pssththimipitiepnthixingxasy sukhmipssththiepnthixingxasy smathimisukhepnthixingxasy ythaphutyanthssnamismathiepnthixingxasy niphphithamiythaphutyanthssnaepnthixingxasy wirakhaminiphphithaepnthixingxasy wimuttimiwirakhaepnthixingxasy yaninthrrmepnthisinipmiwimuttiepnthixingxasy xupnissutr phraitrpidk elmthi 16xangxingphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phraphuththokhsacary khmphirphrawisuththimrrkh phraxphithmmtthsngkhha aela xphithmmtthwiphawinidika phraxuptissethra wimuttimrrkh suphsutr phraitrpidk elmthi 9 sngkhitisutr phraitrpidk elmthi 11 xupnissutr phraitrpidk elmthi 16