สำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2448 ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งเริ่มเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 เป็นต้นมา เป็นหน่วยงานสังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
หอสมุดแห่งชาติ | |
---|---|
เครื่องหมายราชการของสำนักหอสมุดแห่งชาติ | |
ประเภท | หอสมุดแห่งชาติ |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2448 |
สถานที่ตั้ง | กรุงเทพมหานคร |
พิกัด | 13°46′20″N 100°30′18″E / 13.772337°N 100.505094°E |
การเก็บรวบรวม | |
ขนาด | 3.2 ล้านเล่ม (2556) |
ข้อมูลอื่น | |
งบ | 86,840,300 บาท (2556) |
ผู้อำนวยการ | เนาวรัตน์ ปัญญางาม (2566) รักษาราชการ |
บุคลากร | 197 คน (2556) |
เว็บไซต์ | www |
แผนที่ | |
ใน พ.ศ. 2556 หอสมุดนี้มีวัตถุข้างในมากกว่า 3 ล้านชิ้น และมีสาขาต่างจังหวัด 11 แห่ง โดยมีงบประมาณ 87 ล้านบาทและว่าจ้างพนักงานประมาณ 200 คน
ภูมิหลัง
จุดประสงค์หลักของหอสมุดแห่งชาติคือการสะสม, จัดเก็บ, รักษา และบริหารทรัพย์สินทางปัญญาของชาติทั้งหมดโดยไม่คำนึงถึงสื่อ โดยมีชุดสะสมของเอกสารตัวเขียนไทย, ศิลาจารึก, ใบลาน, วรรณคดีไทย และสิ่งตีพิมพ์ เช่นเดียวกันกับวัตถุภาพและเสียงและทรัพยากรดิจิทัล
ประวัติ
หอพระสมุดวชิรญาณ
หอพระสมุดวชิรญาณนั้น เดิมพระราชโอรสธิดา ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมพระหฤทัยกันตั้งขึ้นเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระบรมชนกนาถ เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2426 แต่แรกอาศัยตั้งที่ห้องชั้นต่ำมุขกระสันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาททางตะวันตก แล้วมาตั้งที่ตึกทิมดาบตรงหน้าพระที่นั่งจักรี เมื่อ พ.ศ. 2430 แล้วย้ายออกมาตั้งที่ตึกอันเป็นหอสหทัยสมาคม เมื่อ พ.ศ. 2434 หอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอสมุดของสโมสรสมาชิกอยู่ตลอดสมัยที่กล่าวมา รวมเวลา 21 ปี
ในปีพุทธศักราช 2440 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัติพระนครกลับจากเสด็จประพาสยุโรป พระองค์ได้มีพระราชดำริว่า ในประเทศสยามนี้ยังไม่มีหอสมุดสำหรับพระนคร ประจวบกับวาระที่พระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกำลังจะเวียนมามาครบ 100 ปี ใน พ.ศ. 2447 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะทรงสถาปนาอนุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรดิสมเด็จพระบรมชนกนาถให้เป็นของถาวรสักอย่างหนึ่ง จึงทรงชักชวนพระราชวงศานุวงศ์ให้ทรงอุทิศถวายหอพระสมุดวชิรญาณเป็นหอพระสมุดสำหรับพระนคร ให้ขยายกิจการหอพระสมุดวชิรญาณซึ่งแต่เดิมทีเป็นหอพระสมุดสำหรับราชสกุล ให้เป็นหอสมุดสำหรับบริการประชาชนทั่วไป และพระราชทานนามว่า "หอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร" โดยได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2448
ต่อมาในปีพุทธศักราช 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครจากเดิมที่ตั้งอยู่ที่ศาลาสหทัยสมาคม มาไว้ที่ตึกใหญ่ริมถนนหน้าพระธาตุซึ่งเรียกว่าตึกถาวรวัตถุ และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2459
ในปีพุทธศักราช 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้แยกหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระนครออกเป็น 2 หอ คือ หอพระสมุดวชิราวุธ ตั้งอยู่ที่ตึกถาวรวัตถุเช่นเดิมให้เป็นที่เก็บหนังสือฉบับพิมพ์และ หอพระสมุดวชิรญาณ ให้ใช้เป็นที่เก็บหนังสือตัวเขียนและตู้พระธรรม
ปีพุทธศักราช 2476 รัฐบาลจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นและมีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกำหนดให้หอพระสมุดสำหรับพระนคร มีฐานะเป็นกองหนึ่งในกรมศิลปากรเรียกว่า กองหอสมุดและได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อหอพระสมุดสำหรับพระนครเป็นหอสมุดแห่งชาติในเวลาต่อมา จนถึงพุทธศักราช 2505 รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณก่อสร้างอาคารหอสมุดแห่งชาติเป็นอาคารทรงไทย สูง 5 ชั้นขึ้น ที่บริเวณท่าวาสุกรี ถนนสามเสน และได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 สำนักหอสมุดแห่งชาติ เป็นอาคารทรงไทย 5 ชั้น บนเนื้อที่ประมาณ 17 ไร่ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สังกัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
การรวบรวมหนังสือ
หอพระมณเฑียรธรรมก่อตั้งในสมัยรัชกาลที่ 1 ใช้เป็นที่เก็บรวบรวมพระไตรปิฎกฉบับหลวง ต่อมาจึงขยายไปสู่การรวบรวมฉบับมอญ สิงหล และหนังสืออื่นเนื่องในพุทธศาสนาด้วย สำหรับหอพุทธศาสนสังคหะก่อตั้งในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2443 เพื่อเก็บงานเกี่ยวกับพุทธศาสนาไว้ในที่เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นพระไตรปิฎกในภาษาต่าง ๆ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา งานวิชาการ ไวยากรณ์บาลี งานแปล หนังสือเทศนา หนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนาในภาษาลาว มอญ สิงหล ญี่ปุ่น และสันสกฤต ฯลฯ
ใน พ.ศ. 2448 หลังจากที่หอสมุดวชิรญาณ หอพระมณเฑียรธรรม และหอพุทธศาสนสังคหะ รวมเข้าเป็นชื่อ หอพระสมุดสำหรับพระนคร ภายใต้การดูแลของกระทรวงธรรมการ ก็ได้มีประกาศของทางหอสมุดฯ แจ้งไปยังเทศาภิบาล ว่าประสงค์จะรวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎก และหนังสือไทย ขอให้คนนำหนังสือมาบริจาค ให้ยืมคัดลอกหรือขายแก่หอสมุดฯ เมื่อหนังสือหลั่งไหลเข้ามาก็พบกับหนังสือแปลก เช่น หนังสือที่เขียนโดยเจ้านายและขุนนางในอดีต อย่าง พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ซึ่งพบขณะที่ยายแก่คนหนึ่งกำลังจะเอาไปเผาไฟรวมกับเอกสารอื่น พบว่าหนังสือฉบับนี้เก่าแก่กว่าฉบับอื่น ๆ เท่าที่พบมา ยังมีหนังสือแปลก ๆ ที่พบมาจากทางวังหน้า เป็นบันทึกประวัติศาสตร์สมัยต้นราชวงศ์จักรีชิ้นหนึ่ง คือ จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี ซึ่งทำให้พบมุมมองประวัติศาสตร์ใหม่ ๆ ของบ้านเมือง หนังสือแปลกอีกประเภทคือ ที่อธิบายเรื่องราวแปลก ๆ เช่น การบรรยายถึงพิธีกรรมแปลก ๆ คาถาอาคม ลายแทง
สำหรับหมวดหนังสือต่างประเทศ เริ่มแรกได้มอบหมายให้บรรณารักษ์ชาวตะวันตกชาลส์ สไวสตรัป ทำรายชื่อหนังสือของหอสมุดวชิรญาณออกมาในปี พ.ศ. 2435 ชื่อว่า Catalogue of the Books of the Royal Vajirajan Library by Order of H.R.H. Krom Hmun Damrong Rachanphap จำแนกหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ความรู้ตามมาตรฐานตะวันตก โดยแบ่งออกเป็นเรื่อง แพทย์ศาสตร์ ปรัชญาธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ กฎหมาย สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์การเมืองและสถิติ การเงินและการพาณิชย์ การทหาร นาวิกศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดีบริสุทธิ์ โบราณคดี วิศวกรรมศาสตร์ การค้าและอุตสาหกรรม เทววิทยา เป็นต้น
สำหรับการแบ่งหมวดหมู่หนังสือของไทยที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2448 แบ่งออกเป็น 3 แผนกกว้าง ๆ คือ แผนกหนังสือพระศาสนา แผนกหนังสือต่างประเทศ และแผนกหนังสือไทย นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2448 หอพระสมุดฯ ยังจัดแบ่งหนังสือแผนกไทยออกเป็น 3 หมวดหมู่ย่อย ได้แก่ โบราณคดี วรรณคดี และตำรา
ในปัจจุบันหอพระสมุดฯ มีคลังสิ่งพิมพ์ มีมาตั้งแต่หอสมุดสำหรับพระนคร จัดแบ่งหอสมุดออกเป็น 2 หอ คือ หอพระสมุดวชิรญาณ หอหนึ่ง สำหรับเก็บหนังสือตัวเขียน และหอพระสมุดวชิราวุธหอหนึ่ง สำหรับเป็นที่เก็บหนังสือตัวพิมพ์ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ตั้งแต่อดีต ไม่ว่าโรงพิมพ์จะตีพิมพ์หนังสือเรื่องใด ต้องส่งหอพระสมุดเรื่องละ 2 เล่ม เล่มหนึ่งเก็บไว้ที่หอพระสมุดฯ อีกเล่มหนึ่งเก็บไว้ในห้องหนังสือพิสูจน์ สำหรับเป็นหลักฐานอ้างอิง เมื่อเกิดคดีขึ้นในโรงศาล เมื่อศาลสั่ง ห้องหนังสือพิสูจน์ได้เปลี่ยนเป็นงานคลังสิ่งพิมพ์ ในปี พ.ศ. 2538 และในปี พ.ศ. 2553 ได้เปลี่ยนเป็นคลังสิ่งพิมพ์ขึ้นกับกลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ จนถึงปัจจุบัน โดยทำหน้าที่จัดเก็บสิ่งพิมพ์ทุกประเภทที่จัดพิมพ์ในประเทศที่กลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศได้รับตามพระราชบัญญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550 อย่างละ 1 เล่ม/ฉบับ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โดยทำการลงทะเบียนในฐานข้อมูล และทำบัตรหลักฐาน
การจัดพิมพ์หนังสือ
นอกจากจะรวบรวมหนังสือจากทั่วราชอาณาจักรแล้ว พอในสมัยรัชกาลที่ 6 หอสมุดฯ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่หนังสือ เกณฑ์การตีพิมพ์คือ งานนั้นควรเกี่ยวด้วยวิชาความรู้ มากกว่าที่จะเป็นหนังสือธรรมดาสามัญที่ราษฎรนิยมชมชอบ งานเหล่านี้ได้แก่บรรดาวรรณคดีและประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองและงานแปลทางพุทธศาสนา เช่น วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน อิเหนา เวสสันดรชาดก ฯลฯ หรือประชุมพงศาวดาร ซึ่งเริ่มตีพิมพ์ต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2441 และกลายเป็นแหล่งข้อมูลหลักสำหรับการเขียนประวัติศาสตร์ไทย
ในช่วงทศวรรษ 2420-2430 มีการพิมพ์หนังสือพิมพ์ วชิรญาณ วารสารที่ให้สมาชิกของหอสมุดฯ เขียนเรื่องราวความรู้หรือวรรณคดี ประวัติศาสตร์ นิทาน รวมสุภาษิตคำพังเพย วิทยาศาสตร์ ศาสนา กิจกรรมเศรษฐกิจและการพาณิชย์ ข่าวต่างประเทศและท้องถิ่น และงานแปลจากภาษายุโรป นอกจากนี้ยังมีการพิมพ์งานประวัติศาสตร์และวรรณคดีฉบับสมบูรณ์ด้วยงบประมาณของตนเอง แต่เนื่องจากงบประมาณจำกัด จึงให้โรงพิมพ์เอกชนเข้ามาช่วยจัดพิมพ์ โดยมีสัญญาว่าจะมอบหนังสือร้อยละ 20 ให้หอสมุดฯ อย่างไรก็ดี ส่วนใหญ่แล้วการจัดพิมพ์และแจกจ่ายหนังสือของหอสมุดฯ ทำผ่านระบบการพิมพ์แจกเป็นหนังสืองานศพ
การตีพิมพ์ที่สำคัญของหอสมุดฯ เช่น ใน พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 ทรงสั่งให้พิมพ์คู่มือหนังสือสวดมนต์ฉบับแรก พิมพ์แจกจ่ายไปยังวัดทั่วประเทศจำนวน 1 หมื่นฉบับ ในคำนำมีคำอธิบายว่าจะอ่านภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักษรไทยอย่างไร เนื่องจากไม่เคยใช้อักษรไทยแปลบาลีมาก่อน และการพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์ที่เขียนด้วยอักษรไทยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2436 ยังเป็นการสร้างความเป็นไทยให้กับระบบการเขียน
อิทธิพลของหนังสือฉบับหอพระสมุดฯ ยังคงมีสืบเนื่องถึงปัจจุบัน งานแต่ละชิ้นถูกนำมาตีพิมพ์ซ้ำหลายครั้งโดยมักจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากต้นฉบับเดิม หนังสือเหล่านี้มีใช้ในการเรียนการสอนตามโรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัย และวางรากฐานงานตีพิมพ์ภายใต้การอุปถัมน์ของหอพระสมุดฯ เกือบทั้งสิ้น
หนังสือ
หนังสือทั่วไป
หนังสือทั่วไป ประกอบด้วย หนังสือนานาชาติ ภาษาญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรั่งเศส ลาว อารบิค สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เบ็ดเตล็ด ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ ส่วนภายในห้องสมุดหลวงวิจิตรวาทการ มีหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย หนังสือจีน งานนิพนธ์ของหลวงวิจิตรวาทการ หนังสือและต้นฉบับลายมือ เครื่องใช้หลวงวิจิตรวาทการ และภายในห้องสมุดพระยาอนุมานราชธน มีหนังสือศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษ นวนิยาย และหนังสือ สิ่งของเครื่องใช่ส่วนตัว ของที่ระลึกของพระยาอนุมานราชธน
เอกสารโบราณ
ห้องบริการเอกสารโบราณ มีเอกสารโบราณประเภทจารึก หนังสือสมุดไทย คัมภีร์ใบลาน ยังมีคัมภีร์ใบลานฉบับหลวง สร้างขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีบางส่วนเก็บไว้ที่ห้องเอกสารโบราณ สำนักหอสมุดแห่งชาติ แต่เอกสารส่วนใหญ่เก็บไว้ที่หอมนเฑียรธรรม ในพระบรมมหาราชวัง และภายในหอสมุดยังมี นอกเหนือจากเอกสารโบราณยังเก็บ ศิลาจารึก อีกด้วย
หนังสือหายาก
หนังสือหายากและเอกสารที่มีคุณค่าเป็นมรดกทรัพย์สินทางปัญญาของชาติทั้งด้านเนื้อหาและด้านการพิมพ์ คือหนังสือและเอกสารที่มีอายุประมาณ 50-150 ปี ได้แก่ หนังสือหายากเช่น พระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์ หนังสือส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์อื่น ๆ หนังสือที่พิมพ์ในระยะเริ่มแรก หนังสือฉบับพิมพ์ครั้งแรก และพิมพ์ในโอกาสพิเศษต่าง ๆ รวมทั้งหนังสือที่มีความโดดเด่น มีรูปเล่มสวยงาม และมีภาพประกอบที่ทรงคุณค่า
ตัวอย่างของหนังสือหายากเช่น หนังสือบางกอกรีคอร์เดอร์ ซึ่งถือเป็นหนังสือพิมพ์ไทยฉบับแรกพิมพ์ปี พ.ศ. 2483 หรือหนังสือพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ปี ร.ศ.93 หรือปี พ.ศ. 2417
ทั้งนี้ หอสมุดแห่งชาติ เป็นสถานที่เก็บรักษา "เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" และ "คัมภีร์ใบลาน เรื่อง ตำนานพระธาตุพนม" ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นความทรงจำแห่งโลก โดยองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
อาคาร
- อาคาร 1 หอสมุดแห่งชาติ มีห้องบริการหนังสือความรู้ทั่วไป ปรัชญา ศาสนา สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มุมทรัพยากรสารสนเทศเกาหลี ศิลปะ วรรณคดี ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย ทรัพยากรสารสนเทศภาษาจีน และเก็บวารสารและหนังสือพิมพ์เย็บเล่ม และฉบับล่วงเวลา
- อาคาร 2 หอสมุดแห่งชาติ เก็บวิทยานิพนธ์และวิจัย หนังสือหายาก หนังสือตัวเขียนและจารึก (เอกสารโบราณ)
- หอวชิราวุธานุสรณ์ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันพระบรมราชสมภพครบ 100 ปี ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 เป็นอาคารทรงไทย 3 ชั้น
- หอสมุดดนตรี ประกอบด้วยหอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่รวบรวมเพลงพระราชนิพนธ์ทุกรูปแบบ เป็นศูนย์ค้นคว้างานวิชาการทางด้านดนตรี และ ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมสิรินธร เป็นศูนย์ข้อมูลทางวิชาการทางดนตรีสำหรับใช้ศึกษาค้นคว้า วิจัยดนตรีไทย ไทยสากล ไทยลูกทุ่ง และเพลงพื้นเมืองดนตรีต่างประเทศ
- หอสมุดดำรงราชานุภาพ ตั้งอยู่บริเวณวังวรดิศ มีหนังสือส่วนพระองค์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหนังสือพระราชนิพนธ์ตลอดจนหนังสือที่เกี่ยงข้องโดยเน้นในสาขาประวัติศาสตร์โบราณคดี วรรณคดี การเมืองการปกครอง การท่องเที่ยว ศาสนาและขนบประเพณี ฯลฯ รวมถึงจัดแสดงของใช้ส่วนพระองค์
- ศูนย์นราธิปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ หนังสือและเอกสารส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงค์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงค์ประพันธ์ เช่น บทละครพระราชนิพนธ์พระเจ้าวรวงค์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงค์ประพันธ์ หนังสือหายากเกี่ยวกับประเทศไทย ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ หนังสือกฎหมาย การเมืองการปกครอง ภาษาและวรรณคดี ทั้งที่เป็นงานนิพนธ์ และหนังสือส่วนพระองค์
- หอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช หนังสือเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์
หอสมุดแห่งชาติส่วนภูมิภาค
- หอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ
- เชียงใหม่
- หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.9 นครราชสีมา
- นครพนม
- หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก กาญจนบุรี
- หอสมุดแห่งชาติ ชลบุรี
- จันทบุรี
- สงขลา
- สงขลา
- หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ตรัง
อ้างอิง
- National Library, Organization 2014-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- "NATIONAL LIBRARY OF THAILAND ANNUAL REPORT [2014]" (PDF). National Diet Library, Japan. National Library of Thailand. สืบค้นเมื่อ 14 February 2018.
- Reeder, Matt (2016-05-16). . Dissertation Reviews. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-07. สืบค้นเมื่อ 2021-11-05.
- ความเป็นมาของสำนักหอสมุดแห่งชาติ จากเว็บไซต์หอสมุดแห่งชาติ 2009-12-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
- Patrick Jory. "Books and the Nation : The Making of Thailand's National Library" Journal of Southeast Asian Studies 31:2 (September 2000,) p.351-373
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-02. สืบค้นเมื่อ 2018-06-07.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-10. สืบค้นเมื่อ 2018-06-07.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-02. สืบค้นเมื่อ 2018-06-05.
- ทุ่ม 438 ล้านปรับโฉมหอสมุดชาติหวังดึงนักอ่าน
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-03. สืบค้นเมื่อ 2018-06-07.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Review and photographs inside the National Library, edited by Bangkok Library website
- สำนักหอสมุดแห่งชาติ ที่เฟซบุ๊ก
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sankhxsmudaehngchati twyx hsch kxtngemux ph s 2448 pccubntngxyuthi thnnsamesn aekhwngwchirphyabal ekhtdusit krungethphmhankhr sungerimepidthakarmatngaetwnthi 5 phvsphakhm ph s 2509 epntnma epnhnwyngansngkdkrmsilpakr krathrwngwthnthrrmhxsmudaehngchatiekhruxnghmayrachkarkhxngsankhxsmudaehngchatipraephthhxsmudaehngchatikxtngph s 2448sthanthitngkrungethphmhankhrphikd13 46 20 N 100 30 18 E 13 772337 N 100 505094 E 13 772337 100 505094karekbrwbrwmkhnad3 2 lanelm 2556 khxmulxunngb86 840 300 bath 2556 phuxanwykarenawrtn pyyangam 2566 rksarachkarbukhlakr197 khn 2556 ewbistwww wbr nlt wbr go wbr thaephnthi in ph s 2556 hxsmudnimiwtthukhanginmakkwa 3 lanchin aelamisakhatangcnghwd 11 aehng odymingbpraman 87 lanbathaelawacangphnknganpraman 200 khnphumihlngcudprasngkhhlkkhxnghxsmudaehngchatikhuxkarsasm cdekb rksa aelabriharthrphysinthangpyyakhxngchatithnghmdodyimkhanungthungsux odymichudsasmkhxngexksartwekhiynithy silacaruk iblan wrrnkhdiithy aelasingtiphimph echnediywknkbwtthuphaphaelaesiyngaelathrphyakrdicithlprawtihxphrasmudwchiryan trasylksnkhxnghxphrasmudwchiryan hxphrasmudwchiryannn edimphrarachoxrsthida inphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw phrxmphrahvthykntngkhunechlimphraekiyrtiyssmedcphrabrmchnknath emuxpimaaem ph s 2426 aetaerkxasytngthihxngchntamukhkrasnphrathinngckrimhaprasaththangtawntk aelwmatngthitukthimdabtrnghnaphrathinngckri emux ph s 2430 aelwyayxxkmatngthitukxnepnhxshthysmakhm emux ph s 2434 hxphrasmudwchiryanepnhxsmudkhxngsomsrsmachikxyutlxdsmythiklawma rwmewla 21 pi inpiphuththskrach 2440 hlngcakthiphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwesdcniwtiphrankhrklbcakesdcpraphasyuorp phraxngkhidmiphrarachdariwa inpraethssyamniyngimmihxsmudsahrbphrankhr pracwbkbwarathiphrabrmrachsmphphaehngphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwkalngcaewiynmamakhrb 100 pi in ph s 2447 phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw miphrarachprasngkhcathrngsthapnaxnusawriyechlimphraekiyrdismedcphrabrmchnknathihepnkhxngthawrskxyanghnung cungthrngchkchwnphrarachwngsanuwngsihthrngxuthisthwayhxphrasmudwchiryanepnhxphrasmudsahrbphrankhr ihkhyaykickarhxphrasmudwchiryansungaetedimthiepnhxphrasmudsahrbrachskul ihepnhxsmudsahrbbrikarprachachnthwip aelaphrarachthannamwa hxphrasmudwchiryansahrbphrankhr odyidcdtngkhunxyangepnthangkarinwnthi 12 tulakhm ph s 2448 txmainpiphuththskrach 2459 phrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw rchkalthi 6 oprdekla ihyayhxphrasmudwchiryansahrbphrankhrcakedimthitngxyuthisalashthysmakhm maiwthitukihyrimthnnhnaphrathatusungeriykwatukthawrwtthu aelaphraxngkhidesdcphrarachdaeninthrngprakxbphithiepid emuxwnthi 6 mkrakhm 2459 inpiphuththskrach 2469 phrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhw rchkalthi 7 oprdekla ihaeykhxphrasmudwchiryansahrbphrankhrxxkepn 2 hx khux hxphrasmudwchirawuth tngxyuthitukthawrwtthuechnedimihepnthiekbhnngsuxchbbphimphaela hxphrasmudwchiryan ihichepnthiekbhnngsuxtwekhiynaelatuphrathrrm piphuththskrach 2476 rthbalcdtngkrmsilpakrkhunaelamiphrarachkvsdikaaebngswnrachkarkahndihhxphrasmudsahrbphrankhr mithanaepnkxnghnunginkrmsilpakreriykwa kxnghxsmudaelaidmikarepliynaeplngchuxhxphrasmudsahrbphrankhrepnhxsmudaehngchatiinewlatxma cnthungphuththskrach 2505 rthbalidxnumtingbpramankxsrangxakharhxsmudaehngchatiepnxakharthrngithy sung 5 chnkhun thibriewnthawasukri thnnsamesn aelaidmiphithiepidxyangepnthangkar emuxwnthi 5 phvsphakhm 2509 sankhxsmudaehngchati epnxakharthrngithy 5 chn bnenuxthipraman 17 ir pccubntngxyuthithawasukri thnnsamesn ekhtdusit krungethphmhankhr sngkdkrmsilpakr krathrwngwthnthrrmkarrwbrwmhnngsuxhxphramnethiyrthrrmkxtnginsmyrchkalthi 1 ichepnthiekbrwbrwmphraitrpidkchbbhlwng txmacungkhyayipsukarrwbrwmchbbmxy singhl aelahnngsuxxunenuxnginphuththsasnadwy sahrbhxphuththsasnsngkhhakxtnginrchkalthi 5 emux ph s 2443 ephuxekbnganekiywkbphuththsasnaiwinthiediywkn imwacaepnphraitrpidkinphasatang xrrthktha dika xnudika nganwichakar iwyakrnbali nganaepl hnngsuxethsna hnngsuxekiywkbphuththsasnainphasalaw mxy singhl yipun aelasnskvt l in ph s 2448 hlngcakthihxsmudwchiryan hxphramnethiyrthrrm aelahxphuththsasnsngkhha rwmekhaepnchux hxphrasmudsahrbphrankhr phayitkarduaelkhxngkrathrwngthrrmkar kidmiprakaskhxngthanghxsmud aecngipyngethsaphibal waprasngkhcarwbrwmkhmphirphraitrpidk aelahnngsuxithy khxihkhnnahnngsuxmabricakh ihyumkhdlxkhruxkhayaekhxsmud emuxhnngsuxhlngihlekhamakphbkbhnngsuxaeplk echn hnngsuxthiekhiynodyecanayaelakhunnanginxdit xyang phrarachphngsawdarkrungeka chbbhlwngpraesrithxksrniti sungphbkhnathiyayaekkhnhnungkalngcaexaipephaifrwmkbexksarxun phbwahnngsuxchbbniekaaekkwachbbxun ethathiphbma yngmihnngsuxaeplk thiphbmacakthangwnghna epnbnthukprawtisastrsmytnrachwngsckrichinhnung khux cdhmayehtukhwamthrngcakhxngkrmhlwngnrinthrethwi sungthaihphbmummxngprawtisastrihm khxngbanemuxng hnngsuxaeplkxikpraephthkhux thixthibayeruxngrawaeplk echn karbrryaythungphithikrrmaeplk khathaxakhm layaethng sahrbhmwdhnngsuxtangpraeths erimaerkidmxbhmayihbrrnarkschawtawntkchals siwstrp tharaychuxhnngsuxkhxnghxsmudwchiryanxxkmainpi ph s 2435 chuxwa Catalogue of the Books of the Royal Vajirajan Library by Order of H R H Krom Hmun Damrong Rachanphap caaenkhnngsuxxxkepnhmwdhmukhwamrutammatrthantawntk odyaebngxxkepneruxng aephthysastr prchyathrrmchati prawtisastrthrrmchati phumisastr prawtisastr kdhmay sngkhmwithya esrsthsastrkaremuxngaelasthiti karenginaelakarphanichy karthhar nawiksastr phasasastr wrrnkhdibrisuththi obrankhdi wiswkrrmsastr karkhaaelaxutsahkrrm ethwwithya epntn sahrbkaraebnghmwdhmuhnngsuxkhxngithythiephingekidkhunemux ph s 2448 aebngxxkepn 3 aephnkkwang khux aephnkhnngsuxphrasasna aephnkhnngsuxtangpraeths aelaaephnkhnngsuxithy nxkcakniinpi ph s 2448 hxphrasmud yngcdaebnghnngsuxaephnkithyxxkepn 3 hmwdhmuyxy idaek obrankhdi wrrnkhdi aelatara inpccubnhxphrasmud mikhlngsingphimph mimatngaethxsmudsahrbphrankhr cdaebnghxsmudxxkepn 2 hx khux hxphrasmudwchiryan hxhnung sahrbekbhnngsuxtwekhiyn aelahxphrasmudwchirawuthhxhnung sahrbepnthiekbhnngsuxtwphimph thngthiepnphasaithyaelaphasatangpraeths tngaetxdit imwaorngphimphcatiphimphhnngsuxeruxngid txngsnghxphrasmuderuxngla 2 elm elmhnungekbiwthihxphrasmud xikelmhnungekbiwinhxnghnngsuxphisucn sahrbepnhlkthanxangxing emuxekidkhdikhuninorngsal emuxsalsng hxnghnngsuxphisucnidepliynepnngankhlngsingphimph inpi ph s 2538 aelainpi ph s 2553 idepliynepnkhlngsingphimphkhunkbklumphthnathrphyakrsarsneths cnthungpccubn odythahnathicdekbsingphimphthukpraephththicdphimphinpraethsthiklumphthnathrphyakrsarsnethsidrbtamphrarachbyyticdaecngkarphimph ph s 2550 xyangla 1 elm chbb idaek hnngsux warsar hnngsuxphimph odythakarlngthaebiyninthankhxmul aelathabtrhlkthankarcdphimphhnngsuxpayhxsmudaehngchati nxkcakcarwbrwmhnngsuxcakthwrachxanackraelw phxinsmyrchkalthi 6 hxsmud idtiphimphephyaephrhnngsux eknthkartiphimphkhux ngannnkhwrekiywdwywichakhwamru makkwathicaepnhnngsuxthrrmdasamythirasdrniymchmchxb nganehlaniidaekbrrdawrrnkhdiaelaprawtisastrkhxngbanemuxngaelanganaeplthangphuththsasna echn wrrnkhdieruxngphraxphymni khunchangkhunaephn xiehna ewssndrchadk l hruxprachumphngsawdar sungerimtiphimphtxenuxngtngaet ph s 2441 aelaklayepnaehlngkhxmulhlksahrbkarekhiynprawtisastrithy inchwngthswrrs 2420 2430 mikarphimphhnngsuxphimph wchiryan warsarthiihsmachikkhxnghxsmud ekhiyneruxngrawkhwamruhruxwrrnkhdi prawtisastr nithan rwmsuphasitkhaphngephy withyasastr sasna kickrrmesrsthkicaelakarphanichy khawtangpraethsaelathxngthin aelanganaeplcakphasayuorp nxkcakniyngmikarphimphnganprawtisastraelawrrnkhdichbbsmburndwyngbpramankhxngtnexng aetenuxngcakngbpramancakd cungihorngphimphexkchnekhamachwycdphimph odymisyyawacamxbhnngsuxrxyla 20 ihhxsmud xyangirkdi swnihyaelwkarcdphimphaelaaeckcayhnngsuxkhxnghxsmud thaphanrabbkarphimphaeckepnhnngsuxngansph kartiphimphthisakhykhxnghxsmud echn in ph s 2423 rchkalthi 5 thrngsngihphimphkhumuxhnngsuxswdmntchbbaerk phimphaeckcayipyngwdthwpraethscanwn 1 hmunchbb inkhanamikhaxthibaywacaxanphasabalithiekhiyndwyxksrithyxyangir enuxngcakimekhyichxksrithyaeplbalimakxn aelakarphimphphraitrpidkchbbsmburnthiekhiyndwyxksrithykhrngaerkinpi ph s 2436 yngepnkarsrangkhwamepnithyihkbrabbkarekhiyn xiththiphlkhxnghnngsuxchbbhxphrasmud yngkhngmisubenuxngthungpccubn nganaetlachinthuknamatiphimphsahlaykhrngodymkcaimmikarepliynaeplngcaktnchbbedim hnngsuxehlanimiichinkareriynkarsxntamorngeriynipcnthungmhawithyaly aelawangrakthanngantiphimphphayitkarxupthmnkhxnghxphrasmud ekuxbthngsinhnngsuxhnngsuxthwip hnngsuxthwip prakxbdwy hnngsuxnanachati phasayipun eyxrmn frngess law xarbikh sngkhmsastr phasasastr withyasastr aelawithyasastrprayukt ebdetld silpa wrrnkhdi phumisastr aelaprawtisastr swnphayinhxngsmudhlwngwicitrwathkar mihnngsuxekiywkbpraethsithy hnngsuxcin nganniphnthkhxnghlwngwicitrwathkar hnngsuxaelatnchbblaymux ekhruxngichhlwngwicitrwathkar aelaphayinhxngsmudphrayaxnumanrachthn mihnngsuxsilpa wrrnkhdi phumisastraelaprawtisastrphasaxngkvs nwniyay aelahnngsux singkhxngekhruxngichswntw khxngthiralukkhxngphrayaxnumanrachthn exksarobran hxngbrikarexksarobran miexksarobranpraephthcaruk hnngsuxsmudithy khmphiriblan yngmikhmphiriblanchbbhlwng srangkhuninrchkalphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly mibangswnekbiwthihxngexksarobran sankhxsmudaehngchati aetexksarswnihyekbiwthihxmnethiyrthrrm inphrabrmmharachwng aelaphayinhxsmudyngmi nxkehnuxcakexksarobranyngekb silacaruk xikdwy hnngsuxhayak hnngsuxhayakaelaexksarthimikhunkhaepnmrdkthrphysinthangpyyakhxngchatithngdanenuxhaaeladankarphimph khuxhnngsuxaelaexksarthimixayupraman 50 150 pi idaek hnngsuxhayakechn phrarachniphnth phraniphnth hnngsuxswnphraxngkhkhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw phrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw phrabathsmedcphrapineklaecaxyuhw aelaphrabrmwngsanuwngsphraxngkhxun hnngsuxthiphimphinrayaerimaerk hnngsuxchbbphimphkhrngaerk aelaphimphinoxkasphiesstang rwmthnghnngsuxthimikhwamoddedn mirupelmswyngam aelamiphaphprakxbthithrngkhunkha twxyangkhxnghnngsuxhayakechn hnngsuxbangkxkrikhxredxr sungthuxepnhnngsuxphimphithychbbaerkphimphpi ph s 2483 hruxhnngsuxphrarachniphntheruxngiklban chbbphimphkhrngaerk pi r s 93 hruxpi ph s 2417 thngni hxsmudaehngchati epnsthanthiekbrksa exksarsakhythangprawtisastrkhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw aela khmphiriblan eruxng tananphrathatuphnm thiidrbkarkhunthaebiynepnkhwamthrngcaaehngolk odyxngkhkarsuksa withyasastr aelawthnthrrmaehngshprachachati yuensok xakharxakhar 1 hxsmudaehngchatihnabnkhxnghxwchirawuthanusrnxakhar 1 hxsmudaehngchati mihxngbrikarhnngsuxkhwamruthwip prchya sasna sngkhmsastr phasasastr withyasastr ethkhonolyi mumthrphyakrsarsnethsekahli silpa wrrnkhdi phumisastr prawtisastr hnngsuxekiywkbpraethsithy thrphyakrsarsnethsphasacin aelaekbwarsaraelahnngsuxphimpheybelm aelachbblwngewla xakhar 2 hxsmudaehngchati ekbwithyaniphnthaelawicy hnngsuxhayak hnngsuxtwekhiynaelacaruk exksarobran hxwchirawuthanusrn srangkhunephuxchlxngwnphrabrmrachsmphphkhrb 100 pi khxngphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw inwnthi 1 mkrakhm ph s 2524 epnxakharthrngithy 3 chn hxsmuddntri prakxbdwyhxsmuddntriphrabathsmedcphraecaxyuhw rchkalthi 9 thirwbrwmephlngphrarachniphnththukrupaebb epnsunykhnkhwanganwichakarthangdandntri aela hxngsmuddntrithulkrahmxmsirinthr epnsunykhxmulthangwichakarthangdntrisahrbichsuksakhnkhwa wicydntriithy ithysakl ithylukthung aelaephlngphunemuxngdntritangpraeths hxsmuddarngrachanuphaph tngxyubriewnwngwrdis mihnngsuxswnphraxngkhkhxngsmedc krmphrayadarngrachanuphaph aelahnngsuxphrarachniphnthtlxdcnhnngsuxthiekiyngkhxngodyenninsakhaprawtisastrobrankhdi wrrnkhdi karemuxngkarpkkhrxng karthxngethiyw sasnaaelakhnbpraephni l rwmthungcdaesdngkhxngichswnphraxngkh sunynrathipephuxkarwicythangsngkhmsastr hnngsuxaelaexksarswnphraxngkhkhxngphraecawrwngkhethx krmhmunnrathipphngkhpraphnth echn bthlakhrphrarachniphnthphraecawrwngkhethx krmhmunnrathipphngkhpraphnth hnngsuxhayakekiywkbpraethsithy thngphasaithyaelaphasatangpraeths hnngsuxkdhmay karemuxngkarpkkhrxng phasaaelawrrnkhdi thngthiepnnganniphnth aelahnngsuxswnphraxngkh hxechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhwphumiphlxdulyedch hnngsuxekiywkbphrabathsmedcphraecaxyuhwaelaphrabrmwngsanuwngshxsmudaehngchatiswnphumiphakhhxsmudaehngchatiekhtladkrabng echlimphraekiyrti echiyngihm hxsmudaehngchatiechlimphraekiyrti r 9 nkhrrachsima nkhrphnm hxsmudaehngchatirchmngkhlaphiesk kaycnburi hxsmudaehngchati chlburi cnthburi sngkhla sngkhla hxsmudaehngchatiechlimphraekiyrtismedcphranangecasirikitiphrabrmrachininath trngxangxingNational Library Organization 2014 02 19 thi ewyaebkaemchchin NATIONAL LIBRARY OF THAILAND ANNUAL REPORT 2014 PDF National Diet Library Japan National Library of Thailand subkhnemux 14 February 2018 Reeder Matt 2016 05 16 Dissertation Reviews khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 11 07 subkhnemux 2021 11 05 khwamepnmakhxngsankhxsmudaehngchati cakewbisthxsmudaehngchati 2009 12 11 thi ewyaebkaemchchin ekhathungkhxmulemuxwnthi 12 krkdakhm ph s 2553 Patrick Jory Books and the Nation The Making of Thailand s National Library Journal of Southeast Asian Studies 31 2 September 2000 p 351 373 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 11 02 subkhnemux 2018 06 07 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 11 10 subkhnemux 2018 06 07 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 11 02 subkhnemux 2018 06 05 thum 438 lanprbochmhxsmudchatihwngdungnkxan khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 11 03 subkhnemux 2018 06 07 aehlngkhxmulxunwikisxrs mingantnchbbekiywkb hnngsuxhxhlwng ody krmphrayadarngrachanuphaph Review and photographs inside the National Library edited by Bangkok Library website sankhxsmudaehngchati thiefsbuk bthkhwamhnwynganhruxxngkhkrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk