ในวิชาคณิตศาสตร์ มัชฌิมเรขาคณิต เป็นค่ามัชฌิมหรือค่าเฉลี่ยที่บ่งบอกถึงแนวโน้มสู่ส่วนกลางของจำนวนชุดหนึ่งด้วยผลคูณของค่าแต่ละค่า (ต่างจากมัชฌิมเลขคณิตซึ่งใช้ผลบวกของค่าแต่ละค่า) นิยามของมัชฌิมเรขาคณิตคือรากที่ n ของผลคูณของจำนวน n จำนวน กล่าวได้ว่า สำหรับชุดของจำนวน a1, a2, ..., an มัชฌิมเรขาคณิตมีนิยามเป็น
หรือแสดงออกโดยสมมูลกันเป็นมัชฌิมเลขคณิตของแต่ละจำนวนในมาตราส่วนลอการิทึม
ยกตัวอย่าง มัชฌิมเรขาคณิตของจำนวนสองจำนวน อาทิ 2 กับ 8 เป็น (square root) ของผลคูณของทั้งสองจำนวน นั่นคือ ยกอีกตัวอย่างหนึ่ง มัชฌิมเรขาคณิตของจำนวนสามจำนวน 4, 1, และ 1/32 เป็นรากที่สามของผลคูณของทั้งสามจำนวน (1/8) นั่นก็คือ 1/2 กล่าวคือ มัชฌิมเรขาคณิตใช้ได้กับจำนวนบวกเท่านั้น
มัชฌิมเรขาคณิตมักถูกใช้สำหรับชุดของจำนวนซึ่งจะนำมาคูณกันหรือมีลักษณะเป็นเลขยกกำลัง เช่นตัวเลขการเติบโตต่าง ๆ อาทิจำนวนประชากรโลกหรืออัตราดอกเบี้ยของการลงทุนทางการเงินเมื่อเวลาผ่านไป นอกจากนี้ยังถูกนำมาใช้ในการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะของคอมพิวเตอร์ โดยมีประโยชน์สำหรับการคำนวณค่ามัชฌิมของ (speedup) เพราะค่ามัชฌิมของจำนวน 0.5x (ช้าลงครึ่งหนึ่ง) กับ 2x (เร็วขึ้นสองเท่า) จะเป็นจำนวนเท่ากับ 1 (ไม่เร็วขึ้น)
สามารถทำความเข้าใจมัชฌิมเรขาคณิตในแง่ของเรขาคณิตได้ มัชฌิมเรขาคณิตของจำนวนสองจำนวน กับ เป็นความยาวของด้านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีพื้นที่เท่ากับพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านยาว และ มัชฌิมเรขาคณิตของจำนวนสามจำนวนก็คล้ายกัน มัชฌิมเรขาคณิตของ , , กับ เป็นความยาวของสันหนึ่งของทรงลูกบาศก์ซึ่งมีปริมาตรเท่ากับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก (cuboid) ที่แต่ละสันยาวเท่ากับจำนวนสามจำนวนที่กำหนดมา
มัชฌิมเรขาคณิตเป็นหนึ่งในสามค่ามัชฌิมพีทาโกรัสเช่นเดียวกับมัชฌิมเลขคณิตและ (harmonic mean) สำหรับชุดข้อมูลจำนวนบวกทุกชุดซึ่งมีสองจำนวนที่มีไม่เท่ากันเป็นอย่างน้อย มัชฌิมฮาร์มอนิกจะมีค่าน้อยที่สุดเสมอ มัชฌิมเลขคณิตจะมีค่ามากที่สุดจากมัชฌิมทั้งสามชนิด และมัชฌิมเรขาคณิตจะอยู่ระหว่างทั้งสองค่า (ดูที่ (Inequality of arithmetic and geometric means))
การคำนวณ
มัชฌิมเรขาคณิตของชุดข้อมูล มีนิยามเป็น:
สมการนี้ใช้(สัญกรณ์ π ตัวใหญ่)เพื่อแสดงถึงการคูณเป็นลำดับ ทั้งสองฝั่งของสมการแสดงการคูณค่าชุดหนึ่งตามลำดับ ("n" คือจำนวนของค่าทั้งหมด) เพื่อให้ได้ผลคูณรวมของเซต จากนั้นจึงหารากที่ n ของผลคูณรวมเพื่อหาค่ามัชฌิมเรขาคณิตของชุดข้อมูล ตัวอย่างเช่น หากมีเซตของจำนวนสี่จำนวน ผลคูณของ เท่ากับ แล้วค่ามัชฌิมเรขาคณิตจะเท่ากับรากที่สี่ของ 24 หรือประมาณ 2.213 เลขชี้กำลัง ที่ฝั่งซ้ายแสดงถึงการหารากที่ n กล่าวคือ .
การคำนวณด้วยการทำซ้ำ
มัชฌิมเรขาคณิตของชุดข้อมูลชุดหนึ่งจะมัชฌิมเลขคณิตของชุดข้อมูลนั้น ยกเว้นหากสมาชิกทุกตัวในชุดข้อมูลมีค่าเท่ากัน ในกรณีนี้ค่ามัชฌิมเรขาคณิตและเลขคณิตจะมีค่าเท่ากัน เหตุนี้ทำให้สามารถให้นิยามค่า (arithmetic-geometric mean) ได้ ซึ่งเป็นส่วนร่วมกันระหว่างทั้งสองที่จะให้ค่าออกมาระหว่างทั้งสองค่านั้นเสมอ
มัชฌิมเรขาคณิตคือ มัชฌิมเลขคณิต-ฮาร์มอนิก ด้วย ในแง่ที่หากมีลำดับอยู่สองลำดับ ( และ ) ที่มีนิยามว่า:
และ
โดยที่ คือมัชฌิมเลขคณิตและ คือของค่าในลำดับก่อน ๆ ของทั้งสองลำดับ แล้ว และ จะลู่เข้าหาค่าของมัชฌิมเรขาคณิตของ และ ทั้งสองลำดับจะลู่เข้าหาลิมิตเดียวกัน และคงสภาพของมัชฌิมเรขาคณิตไว้:
และได้ผลลัพธ์เดียวกันเมื่อแทนที่มัชฌิมเลขคณิตกับฮาร์มอนิกด้วย (generalized mean) สองค่าที่มีเลขชี้กำลัง เป็นจำนวนจำกัดที่มีค่าตรงข้ามกัน เช่น 1 กับ -1
ความสัมพันธ์กับลอการิทึม
มัชฌิมเรขาคณิตสามารถถูกแสดงออกในรูปเลขชี้กำลังของมัชฌิมเลขคณิตของลอการิทึมได้ การคูณสามารถแสดงออกเป็นผลรวมและการยกกำลังสามารถแสดงออกเป็นการคูณได้โดยใช้เอกลักษณ์ลอการิทึมเพื่อแปลงสภาพของสูตร:
โดยที่
- เพราะ
หรือสามารถใช้ฐานเป็นจำนวนจริงบวกใด ๆ ก็ตามทั้งในลอการิทึมและเลขยกกำลัง
นอกจากนั้น หากให้ เป็นจำนวนลบได้
โดยที่ m คือจำนวนของจำนวนลบ
นี่บางครั้งถูกเรียกว่า log-average (อย่าสับสนกับ (logarithmic average)) เพราะเป็นการคำนวณหาค่ามัชฌิมเลขคณิตของค่า ที่ถูกแปลงเป็นรูปลอการิทึม (กล่าวคือเป็นมัชฌิมเลขคณิตในมาตราส่วนลอการิทึม) แล้วจากนั้นใช้การยกกำลังเพื่อแปลงการคำนวณกลับไปยังมาตราส่วนเดิม นั่นคือ เป็น (Quasi-arithmetic mean) ที่ ตัวอย่างเช่น มัชฌิมเรขาคณิตของ 2 กับ 8 สามารถคำนวณหาได้ดังนี้ โดย เป็นฐานค่าใดก็ตามของลอการิทึม (โดยทั่วไปจะเท่ากับ 2 ค่า หรือ 10):
สำหรับชุดข้อมูล เราสามารถมองค่ามัชฌิมเรขาคณิตได้ว่าเป็นค่าที่จะให้ค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน
- ,
โดยทั่วไป รูปลอการิทึมเป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมในการปฏิบัติใช้มัชฌิมเรขาคณิตในภาษาคอมพิวเตอร์ เพราะการคำนวณผลคูณของจำนวนหลายจำนวนอาจนำให้เกิด (arithmetic underflow) หรือ (arithmetic overflow) ซึ่งมีโอกาสเกิดน้อยกว่าในกรณีของการหาผลรวมของลอการิทึมของจำนวนแต่ละจำนวน
เปรียบเทียบกับมัชฌิมเลขคณิต
มัชฌิมเรขาคณิตของชุดข้อมูลของจำนวน (บวก) จะมีค่ามากที่สุดไม่เกินไปกว่ามัชฌิมเลขคณิตของมันเสมอ และจะเท่ากันก็ต่อเมื่อทุก ๆ จำนวนในชุดข้อมูลมีค่าเท่ากัน มิเช่นนั้นมัชฌิมเรขาคณิตจะมีค่าน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น มัชฌิมเรขาคณิตของ 2 กับ 3 คือ 2.45 ในขณะที่มัชฌิมเลขคณิตเท่ากับ 2.5
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หมายความว่าเมื่อเซตของจำนวนที่ไม่เหมือนกันถูกทำให้ (mean-preserving spread) กล่าวคือสมาชิกของเซต "กระจายออกจากกัน" มากขึ้นแต่ไม่ทำให้มัชฌิมเลขคณิตเปลี่ยนไป มัชฌิมเรขาคณิตจะมีค่าน้อยลง
อัตราการเติบโตโดยเฉลี่ย
ในบางกรณี มัชฌิมเรขาคณิตเป็นค่าที่ใช้วัดอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยของปริมาณจำเพาะหนึ่งได้ดี อาทิหากคำสั่งซื้อต่อปีเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 และร้อยละ 25 ในปีถัดไป ผลจะเท่ากับการมีอัตราการเติบโตคงที่ร้อยละ 50 เพราะมัชฌิมเรขาคณิตของ 1.80 กับ 1.25 คือ 1.50 ในการหาอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ย ไม่จำเป็นต้องหาผลคูณของอัตราการเติบโตที่วัดได้มาในทุก ๆ ขั้น หากให้ปริมาณมาเป็นลำดับของ โดยที่ คือจำนวนขั้นจากเริ่มต้นจนจบ อัตราการเติบโตระหว่างการวัดแต่ละครั้ง และ คือ มัชฌิมเรขาคณิตของอัตราการเติบโตเหล่านี้จึงเท่ากับ:
การประยุกต์ใช้กับค่าที่ถูกทำให้เป็นบรรทัดฐาน
สมบัติพื้นฐานของมัชฌิมเรขาคณิตซึ่งมัชฌิมชนิดอื่น ๆ ไม่มีคือ หากมีลำดับสองลำดับ และ ที่ความยาวเท่ากัน
จะทำให้มัชฌิมเรขาคณิตเป็นมัชฌิมชนิดเดียวที่ถูกต้องเมื่อคำนวณหาค่าเฉลี่ยของผลลัพธ์ซึ่งถูกทำให้เป็นบรรทัดฐาน (normalized) กล่าวคือผลลัพธ์ซึ่งแสดงออกเป็นอัตราส่วนกับค่าอ้างอิง กรณีเช่นนี้เกิดขึ้นเมื่อต้องการแสดงประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์เมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ที่นำมาอ้างอิง หรือเมื่อต้องการคำนวณดัชนีค่าเฉลี่ยค่าเดียวจากแหล่งที่ไม่เป็นแบบเดียวกัน (เช่นการคาดหมายคงชีพ ระยะเวลาการศึกษา และอัตราการเสียชีวิตทารก) ในสถานการณ์เหล่านี้ การใช้มัชฌิมเลขคณิตหรือฮาร์มอนิกจะเปลี่ยนการจัดลำดับของผลลัพธ์โดยขึ้นอยู่กับค่าที่ใช้อ้างอิง ยกตัวอย่างเช่นการเปรียบเทียบเวลากระทำการของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้:
ตาราง 1
คอมพิวเตอร์ A | คอมพิวเตอร์ B | คอมพิวเตอร์ C | |
---|---|---|---|
โปรแกรม 1 | 1 | 10 | 20 |
โปรแกรม 2 | 1000 | 100 | 20 |
มัชฌิมเลขคณิต | 500.5 | 55 | 20 |
มัชฌิมเรขาคณิต | 31.622 . . . | 31.622 . . . | 20 |
มัชฌิมฮาร์มอนิก | 1.998 . . . | 18.182 . . . | 20 |
ทั้งมัชฌิมเลขคณิตและเรขาคณิตเห็นพ้องกันว่าคอมพิวเตอร์ C มีความเร็วประมวลผลสูงที่สุด ทว่าเมื่อเราแสดงด้วยค่าที่ถูกทำให้เป็นบรรทัดฐานอย่างถูกต้องแล้ว แล้วใช้ค่ามัชฌิมเลขคณิต เราแสดงให้เห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่องเป็นคอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุด หากใช้ A เป็นบรรทัดฐานและอ้างอิงตามมัชฌิมเลขคณิต A จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุด:
ตาราง 2
คอมพิวเตอร์ A | คอมพิวเตอร์ B | คอมพิวเตอร์ C | |
---|---|---|---|
โปรแกรม 1 | 1 | 10 | 20 |
โปรแกรม 2 | 1 | 0.1 | 0.02 |
มัชฌิมเลขคณิต | 1 | 5.05 | 10.01 |
มัชฌิมเรขาคณิต | 1 | 1 | 0.632 . . . |
มัชฌิมฮาร์มอนิก | 1 | 0.198 . . . | 0.039 . . . |
ในขณะที่หากใช้ B เป็นบรรทัดฐานและอ้างอิงตามมัชฌิมเลขคณิต คอมพิวเตอร์ B จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุด แต่หากอ้างอิงตามมัชฌิมฮาร์มอนิก คอมพิวเตอร์ A จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุด:
ตาราง 3
คอมพิวเตอร์ A | คอมพิวเตอร์ B | คอมพิวเตอร์ C | |
---|---|---|---|
โปรแกรม 1 | 0.1 | 1 | 2 |
โปรแกรม 2 | 10 | 1 | 0.2 |
มัชฌิมเลขคณิต | 5.05 | 1 | 1.1 |
มัชฌิมเรขาคณิต | 1 | 1 | 0.632 |
มัชฌิมฮาร์มอนิก | 0.198 . . . | 1 | 0.363 . . . |
และเมื่อใช้ C เป็นบรรทัดฐานและอ้างอิงตามมัชฌิมเลขคณิต คอมพิวเตอร์ C จะเร็วที่สุด แต่เมื่ออ้างอิงตามมัชฌิมฮาร์มอนิก คอมพิวเตอร์ A จะเร็วที่สุด:
ตาราง 4
คอมพิวเตอร์ A | คอมพิวเตอร์ B | คอมพิวเตอร์ C | |
---|---|---|---|
โปรแกรม 1 | 0.05 | 0.5 | 1 |
โปรแกรม 2 | 50 | 5 | 1 |
มัชฌิมเลขคณิต | 25.025 | 2.75 | 1 |
มัชฌิมเรขาคณิต | 1.581 . . . | 1.581 . . . | 1 |
มัชฌิมฮาร์มอนิก | 0.099 . . . | 0.909 . . . | 1 |
ในทุก ๆ กรณี ลำดับความเร็วที่อ้างอิงตามมัชฌิมเรขาคณิตคงลำดับเดิมเหมือนกับที่ได้จากค่าที่ยังไม่ได้ถูกทำให้เป็นบรรทัดฐาน
อย่างไรก็ตาม การให้เหตุผลแนวนี้ถูกตั้งคำถาม การได้ผลลัพธ์อย่างคงเส้นคงวาไม่ได้หมายความว่าเป็นผลลัพธ์ที่ถูกต้องเสมอไป โดยทั่วไปแล้ว จะเข้มงวดกว่าหากกำหนดให้แต่ละโปรแกรมมีน้ำหนักของตัวเอง คำนวณเวลากระทำการเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก (ด้วยมัชฌิมเลขคณิต) แล้วนำผลลัพธ์นั้นมาใช้เป็นบรรทัดฐานกับคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ทั้งสามตารางด้านบนเพียงแต่กำหนดน้ำหนักให้กับแต่ละโปรแกรมต่างกัน เป็นเหตุที่ผลลัพธ์ของมัชฌิมเลขคณิตกับฮาร์มอนิกไม่สอดคล้องกัน (ตาราง 4 ให้น้ำหนักกับทั้งสองโปรแกรมเท่ากัน ตาราง 2 ให้น้ำหนัก 1/1000 กับโปรแกรมที่สอง และตาราง 3 ให้น้ำหนัก 1/100 กับโปรแกรมที่สองและน้ำหนัก 1/10 กับโปรแกรมที่หนึ่ง) ควรหลีกเลี่ยงการใช้งานมัชฌิมเรขาคณิตในการรวบรวมตัวเลขสมรรถภาพ เพราะการคูณเวลากระทำการด้วยกันไม่มีนัยทางกายภาพใด ๆ ซึ่งต่างจากการบวกเข้าด้วยกันสำหรับมัชฌิมเลขคณิต ตัวชี้วัดซึ่งเป็นสัดส่วนผกผันกับเวลา (เช่นหรือ (Instructions per cycle)) ควรเฉลี่ยด้วยมัชฌิมฮาร์มอนิก
มัชฌิมเรขาคณิตและมัชฌิมเรขาคณิตถ่วงน้ำหนักสามารถหาได้จากลิมิตของเมื่อกำหนดให้เลขชี้กำลัง มีค่าเข้าใกล้ศูนย์
มัชฌิมเรขาคณิตของฟังก์ชันต่อเนื่อง
หาก เป็นฟังก์ชันค่าจริงบวกต่อเนื่อง มัชฌิมเรขาคณิตของมันในช่วงนี้คือ
ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันเอกลักษณ์ ในช่วงหนึ่งหน่วยแสดงให้เห็นว่ามัชฌิมเรขาคณิตของจำนวนบวกระหว่าง 0 กับ 1 เท่ากับ
การประยุกต์ใช้
การเติบโตตามสัดส่วน
มัชฌิมเรขาคณิตเหมาะสมต่อการอธิบายการเติบโตตามสัดส่วนมากกว่ามัชฌิมเลขคณิต ไม่ว่าจะเป็น (exponential growth) (การเติบโตตามสัดส่วนที่คงที่) หรือการเติบโตแบบแปรผัน มัชฌิมเรชาคณิตของอัตราการเติบโตเป็นที่รู้จักในสาขาบริหารธุรกิจว่า (compound annual growth rate; CAGR) มัชฌิมเรขาคณิตของการเติบโตในช่วงเวลาระยะหนึ่งให้ผลลัพธ์เป็นอัตราการเติบโตแบบคงที่ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ในตอนสุดท้ายเท่ากัน
สมมุติว่าต้นส้มออกผลส้ม 100 ลูกในปีหนึ่ง จากนั้น 180, 210 และ 300 ลูกในปีถัด ๆ ไป อัตราการเติบโตของแต่ละปีจึงเท่ากับร้อยละ 80, 16.6666 และ 42.8571 ตามลำดับ เมื่อเราคำนวณหาอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ย (เชิงเส้น) ด้วยมัชฌิมเลขคณิตได้เท่ากับร้อยละ 46.5079 (80% + 16.6666% + 42.8571% แล้วหารด้วย 3) แต่หากเราเริ่มจากส้ม 100 ลูกและให้ออกผลเติบโตร้อยละ 46.5079 ต่อปี ผลลัพธ์จะได้ผลส้ม 314 ลูก ซึ่งไม่ใช่ 300 ค่าเฉลี่ยเชิงเส้นจึงให้ผลลัพธ์ที่เกินจริงไปจากการเติบโตต่อปี
แต่หากเราใช้มัชฌิมเรขาคณิตแทน การเติบโตร้อยละ 80 คือการคูณด้วย 1.80 เราจึงหามัชฌิมเรขาคณิตของ 1.80, 1.166666 และ 1.428571 กล่าวคือ ดังนั้น อัตราการเติบโต "โดยเฉลี่ย" ต่อปีจึงเท่ากับร้อยละ 44.2249 หากเราเริ่มจากส้ม 100 ลูกและให้ออกผลเติบโตร้อยละ 44.2249 ต่อปี ผลลัพธ์จะได้ผลส้ม 300 ลูก
การเงิน
มีการนำมัชฌิมเรขาคณิตมาใช้คำนวณดัชนีทางการเงินต่าง ๆ (การเฉลี่ยแต่ละองค์ประกอบของดัชนี) เช่นในอดีต (FT 30) ใช้มัชฌิมเรขาคณิต ของสหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรปก็ใช้เช่นกัน
นี่ส่งผลให้ความเคลื่อนไหวภายในดัชนีถูกแสดงออกมาในระดับที่อ่อนลงเมื่อเทียบกับการใช้มัชฌิมเลขคณิต
สังคมศาสตร์
แม้จะหาการใช้มัชฌิมเรขาคณิตในการคำนวณสถิติทางสังคมได้ยากพอสมควร แต่เมื่อ ค.ศ. 2010 ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติได้เปลี่ยนมาคำนวณด้วยวิธีนี้ โดยให้เหตุผลว่าสะท้อนภาพธรรมชาติของสถิติที่รวบรวมมาและนำมาเปรียบเทียบอันไม่สามารถหาสิ่งใดมาทดแทนได้ได้ดีกว่าเดิม:
มัชฌิมเรขาคณิตลดระดับการทดแทนกันได้ของแต่ละมิติ และรับรองว่าการลดลงร้อยละ 1 ของการคาดหมายคงชีพเมื่อกำเนิดเป็นต้นจะส่งผลต่อดัชนี HDI เท่ากับการลดลงร้อยละ 1 ในการศึกษาหรือรายได้ ดังนั้น การใช้วิธีการนี้เป็นพื้นฐานสำหรับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ต่าง ๆ จะเคารพความแตกต่างในตัวเองของแต่ละมิติมากกว่าวิธีการหาค่าเฉลี่ยแบบง่าย
รายได้ที่กระจายอย่างเท่าเทียมสวัสดิการเทียบเท่าของ (Atkinson Index) ที่มีตัวแปร (inequality aversion) คือมัชฌิมเรขาคณิตของรายได้ทั้งหมด ส่วนเมื่อตัวแปรนั้นมีค่าที่ไม่เท่ากับ 1 รายได้ดังกล่าวจะมีค่าเท่ากับ ( space) หารด้วยจำนวนของข้อมูล โดย
เรขาคณิต
ในกรณีของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ความสูงคือความยาวของเส้นตรงที่ลากจากมุมฉากไปตั้งฉากกับด้านตรงข้ามมุมฉาก เส้นนี้แบ่งด้านตรงข้ามมุมฉากเป็นสองส่วน และมัชฌิมเรขาคณิตของทั้งสองส่วนนี้คือความสูงของรูปสามเหลี่ยมนั้น สมบัตินี้มีชื่อว่า
ในกรณีของวงรี กึ่งแกนโทคือมัชฌิมเรขาคณิตของระยะทางที่ยาวที่สุดกับระยะทางที่สั้นที่สุดจากโฟกัสไปยังวงรี และเป็นมัชฌิมเรขาคณิตของกึ่งแกนเอกกับ(กึ่งเลตัสเรกตัม) และกึ่งแกนเอกคือมัชฌิมเรขาคณิตของระยะทางจากจุดศูนย์กลางไปยังโฟกัสจุดใดก็ตามกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางไปยัง (Directrix (conic section)) เส้นใดก็ตาม
หรือกล่าวได้อีกแบบว่า หากมีรูปวงกลมรัศมีเท่ากับ เลือกจุดสองจุดซึ่งอยู่ตรงข้ามกันบนรูปวงกลม แล้วกดให้เปลี่ยนรูปกลายเป็นวงรีโดยมีกึ่งแกนเอกและกึ่งแกนโทเท่ากับ และ ตามลำดับ เนื่องจากพื้นที่ของวงกลมรูปเดิมกับวงรีรูปที่ได้มามีค่าเท่ากัน เรากล่าวได้ว่า
รัศมีของวงกลมเดิมคือมัชฌิมเรขาคณิตของกึ่งแกนเอกกับกึ่งแกนโทของวงรีที่ได้มาจากการเปลี่ยนรูปวงกลมรูปนั้น
ระยะทางไปยังขอบฟ้าของทรงกลมมีค่าประมาณเท่ากับมัชฌิมเรขาคณิตของระยะทางไปยังจุดบนทรงกลมที่อยู่ใกล้ที่สุดกับระยะทางไปยังจุดบนทรงกลมที่ไกลที่สุด หากกำหนดให้ระยะทางไปยังจุดบนทรงกลมที่ใกล้ที่สุดมีค่าน้อย
มัชฌิมเรขาคณิตถูกนำมาใช้ในการประมาณ (squaring the circle) ของศรีนิวาสะ รามานุชัน และการสร้างรูปสิบเจ็ดเหลี่ยมด้วย "mean proportional"
อัตราส่วนลักษณะ
มัชฌิมเรขาคณิตถูกใช้ในการเลือกอัตราส่วนลักษณะประนีประนอมในภาพยนตร์และภาพเคลื่อนไหว กล่าวคือหากมีอัตราส่วนลักษณะอยู่สองแบบ มัชฌิมเรขาคณิตของทั้งสองจะเป็นอัตราส่วนลักษณะที่ประนีประนอมระหว่างทั้งสองที่ทำให้บิดเบี้ยวหรือสูญเสียภาพไปเท่า ๆ กันในแง่หนึ่ง ในเชิงรูปธรรม รูปสี่เหลี่ยมสองรูปที่มีพื้นที่เท่ากัน (ที่จุดศูนย์กลางเดียวกันและมีด้านที่ขนานกัน) แต่มีอัตราส่วนลักษณะต่างกัน มีส่วนร่วมกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีอัตราส่วนลักษณะเป็นมัชฌิมเรขาคณิตของทั้งสอง และเปลือกนอกของมัน (รูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กที่สุดที่ครอบรูปสี่เหลี่ยมทั้งสองรูป) ก็มีอัตราส่วนลักษณะเป็นมัชฌิมเรขาคณิตของทั้งสองเช่นกัน
ในการหาสมดุลระหว่างอัตราส่วนลักษณะ 2.35 กับ 4:3 มัชฌิมเรขาคณิตเท่ากับ (SMPTE) จึงเลือกอัตราส่วนลักษณะ เคินส์ พาวเวอส์ (Kerns Powers) ค้นพบอัตราส่วนลักษณะนี้ผ่านวิธีการเชิงประจักษ์ เขาตัดรูปสี่เหลี่ยมออกเป็นพื้นที่เท่ากันและตัดออกให้มีอัตราส่วนลักษณะเท่ากับอัตราส่วนที่มีใช้อยู่แพร่หลายในขณะนั้น เมื่อนำมาซ้อนกันโดยวางจุดศูนย์กลางให้ตรงกัน เขาพบว่ารูปสี่เหลี่ยมอัตราส่วนลักษณะทั้งหมดใส่พอดีกับรูปสี่เหลี่ยมภายนอกที่มีอัตราส่วนลักษณะเท่ากับ 1.77:1 และทั้งหมดก็คลุมพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมภายในร่วมกันที่มีอัตราส่วนลักษณะเท่ากับ 1.77:1 เช่นกัน
เมื่อใช้เทคนิคหามัชฌิมเรขาคณิตแบบเดียวกันกับอัตราส่วนลักษณะ 16:9 และ 4:3 จะได้ผลลัพธ์โดยประมาณเท่ากับ (...) ซึ่งในแบบเดียวกัน เป็นการประนีประนอมระหว่างอัตราส่วนทั้งสอง
ขนาดกระดาษ
มัชฌิมเรขาคณิตถูกใช้คำนวณขนาดกระดาษซีรีส์ B และ C กระดาษขนาด มีพื้นที่เท่ากับมัชฌิมเรขาคณิตของพื้นที่ของกระดาษขนาด กับ ตัวอย่างเช่น พื้นที่ของกระดาษ B1 เท่ากับ เพราะเป็นมัชฌิมเรขาคณิตของพื้นที่ของกระดาษ A0 () กับของกระดาษ A1 ()
ขนาดกระดาษซีรีส์ C ใช้หลักการเดียวกัน โดยมีพื้นที่เท่ากับมัชฌิมเรขาคณิตของขนาดกระดาษซีรีส์ A และ B ตัวอย่างเช่น กระดาษ C4 มีพื้นที่เท่ากับมัชฌิมเรขาคณิตของพื้นที่ของกระดาษ A4 และ B4
ข้อได้เปรียบของความสัมพันธ์แบบนี้คือกระดาษ A4 สามารถใส่ลงในซองกระดาษขนาด C4 ได้พอดี และกระดาษทั้งสองใส่ลงในซองกระดาษขนาด B4 ได้พอดี
อื่น ๆ
- (Spectral flatness) ในการประมวลผลสัญญาณคือหน่วยวัดความแบนราบหรือความแหลมของสเปกตรัม มีนิยามเป็นอัตราส่วนระหว่างมัชฌิมเรขาคณิตกับมัชฌิมเลขคณิตของสเปกตรัมกำลัง
- (Anti-reflective coatings) เป็นสารเคลือบที่ลดการสะท้อนระหว่างสื่อกลางสองประเภทที่มีดัชนีหักเหเท่ากับ และ โดยดัชนีหักเหที่ดีที่สุดของสารเคลือบกันแสงสะท้อน จะเท่ากับมัชฌิมเรขาคณิต
- ในการผสมสีเชิงลบ (Subtractive color mixing) เส้นโค้งความสะท้อนเชิงสเปกตรัม (spectral reflectance curve) ของ (Color mixing) ที่มี (Tint, shade and tone) (Opacity (optics)) และความเจือจางเท่ากัน จะมีค่าโดยประมาณเท่ากับมัชฌิมเรขาคณิตของเส้นโค้งความสะท้อนของสีแต่ละสี โดยคำนวณที่แต่ละความยาวคลื่นในสเปกครัมของสีเหล่านั้น
- (geometric mean filter) ถูกใช้ในการประมวลผลภาพเพื่อกรองสิ่งรบกวนออกไป
ดูเพิ่ม
- (Quadrature (mathematics))
- (Log-normal distribution)
- ค่าเฉลี่ยกำลังสอง
- (Geometric standard deviation)
- ผลคูณ
- (Hyperbolic coordinates)
- (Heteroscedasticity)
- (Heronian mean)
- มัชฌิมพีทาโกรัส
- (Weighted geometric mean)
- (Muirhead's inequality)
- (Rate of return)
หมายเหตุ
- มัชฌิมเรขาคณิตใช้ได้กับจำนวนบวกเท่านั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการหารากของผลคูณที่มีค่าเป็นลบ ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจินตภาพ
อ้างอิง
- Friehauf, Matt; Hertel, Mikaela; Liu, Juan; Luong, Stacey (2013). "On Compass and Straightedge Constructions: Means" (PDF). Department of Mathematics, University of Washington. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 สิงหาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2018.
- Joyce, David E. (2013). "Book VI, Proposition 13, To find a mean proportional to two given straight lines.". Euclid's Elements. Department of Mathematics and Computer Science, Clark University. จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2023. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2019.
- "2.5: Geometric Mean". Introductory Business Statistics (OpenStax). Statistics LibreTexts (ภาษาอังกฤษ). 20 เมษายน 2019. จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2023. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2021.
- Crawley, Michael J. (2005). Statistics: An Introduction using R. John Wiley & Sons Ltd. ISBN .
- ถ้า และ แล้ว ของ a กับ b และรัศมี
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสได้
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสได้
ใช้ได้ - Mitchell, Douglas W. (2004). "More on spreads and non-arithmetic means". The Mathematical Gazette. 88: 142–144. doi:10.1017/S0025557200174534. S2CID 168239991.
- Fleming, Philip J.; Wallace, John J. (1986). "How not to lie with statistics: the correct way to summarize benchmark results". Communications of the ACM. 29 (3): 218–221. doi:10.1145/5666.5673. S2CID 1047380.
- Smith, James E. (1988). "Characterizing computer performance with a single number". Communications of the ACM. 31 (10): 1202–1206. doi:10.1145/63039.63043. S2CID 10805363.
- Rowley, Eric E. (1987). The Financial System Today. Manchester University Press. ISBN .
- Bird, Derek (12 มีนาคม 2013). Introducing the new RPIJ measure of Consumer Price Inflation (Report). Office for National Statistics. p. 4.
- . hdr.undp.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มีนาคม 2011.
The geometric mean reduces the level of substitutability between dimensions and at the same time ensures that a 1 percent decline in say life expectancy at birth has the same impact on the HDI as a 1 percent decline in education or income. Thus, as a basis for comparisons of achievements, this method is also more respectful of the intrinsic differences across the dimensions than a simple average.
- Ramanujan, S. (1914). "Modular equations and approximations to π" (PDF). Quarterly Journal of Mathematics. 45: 350–372. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2022.
- Stowell, T.P. (1876) [1818]. "Extract from Leybourn's Math. Repository". The Analyst. Vol. 3–4. Mills & Company – โดยทาง Google Books.
- "The Father Of 16:9". (PDF). The CinemaSource Press. 2001. p. 8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 กันยายน 2009. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2009.
- US 5956091, DREWERY; JOHN OLIVER; DEVEREUX; VICTOR GERALD, "Method of showing 16:9 pictures on 4:3 displays", issued 21 กันยายน 1999
- MacEvoy, Bruce. "Colormaking Attributes: Measuring Light & Color". handprint.com. Colorimetry. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 กรกฎาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์คำนวณมัชฌิมเรขาคณิตและเลขคณิต. 2023-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- มัชฌิมเลขคณิตและเรขาคณิต (ภาษาอังกฤษ). 2023-02-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ควรใช้มัชฌิมเรขาคณิตเมื่อใด (ภาษาอังกฤษ). 2023-02-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การคำนวณมัชฌิมเรขาคณิตด้วยข้อมูลชนิดต่าง ๆ (ภาษาอังกฤษ). 2010-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- มัชฌิมเรขาคณิตที่เว็บไซต์ MathWorld (ภาษาอังกฤษ). 2023-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ความหมายเชิงเรขาคณิตของมัชฌิมเรขาคณิต (ภาษาอังกฤษ). 2023-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- เครื่องคำนวณมัชฌิมเรขาคณิตสำหรับชุดข้อมูลขนาดใหญ่ (ภาษาพีเอชพี)
- การคำนวณการแบ่งสรรปันส่วนที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐโดยใช้มัชฌิมเรขาคณิต (ภาษาอังกฤษ). 2022-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- เว็บไซต์แคลคูลัสแบบนอนนิวโตเนียน (ภาษาอังกฤษ). 2023-02-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- นิยามและสูตรของมัชฌิมเรขาคณิต (ภาษาอังกฤษ). 2023-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Wilson, David A. L.; Martin, Barry (มีนาคม 2006). "The Distribution of the Geometric Mean". The Mathematical Gazette (ภาษาอังกฤษ). 90 (517): 40–49. JSTOR 3621411.
- Vogel, Richard M. (2020). "The geometric mean?" (PDF). Communications in Statistics - Theory and Meth (ภาษาอังกฤษ). 51 (1): 82–94. doi:10.1080/03610926.2020.1743313. ISSN 1532-415X. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2023 – โดยทาง sites.tufts.edu.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichakhnitsastr mchchimerkhakhnit epnkhamchchimhruxkhaechliythibngbxkthungaenwonmsuswnklangkhxngcanwnchudhnungdwyphlkhunkhxngkhaaetlakha tangcakmchchimelkhkhnitsungichphlbwkkhxngkhaaetlakha niyamkhxngmchchimerkhakhnitkhuxrakthi n khxngphlkhunkhxngcanwn n canwn klawidwa sahrbchudkhxngcanwn a1 a2 an mchchimerkhakhnitminiyamepnmchchimerkhakhnittwxyang lg displaystyle l g siaedng epnmchchimerkhakhnitkhxng l1 displaystyle l 1 kb l2 displaystyle l 2 odyintwxyangni swnkhxngesntrng l2 BC displaystyle l 2 overline BC thukkahndihtngchakkb AB displaystyle overline AB phaphekhluxnihwcakhangiw 10 winathikxnerimelnihmxikkhrng i 1nai 1n a1a2 ann displaystyle left prod i 1 n a i right frac 1 n sqrt n a 1 a 2 cdots a n hruxaesdngxxkodysmmulknepnmchchimelkhkhnitkhxngaetlacanwninmatraswnlxkarithum exp 1n i 1nln ai displaystyle exp left frac 1 n sum limits i 1 n ln a i right yktwxyang mchchimerkhakhnitkhxngcanwnsxngcanwn xathi 2 kb 8 epn square root khxngphlkhunkhxngthngsxngcanwn nnkhux 2 8 4 displaystyle sqrt 2 cdot 8 4 ykxiktwxyanghnung mchchimerkhakhnitkhxngcanwnsamcanwn 4 1 aela 1 32 epnrakthisamkhxngphlkhunkhxngthngsamcanwn 1 8 nnkkhux 1 2 klawkhux 4 1 1 323 1 2 displaystyle sqrt 3 4 cdot 1 cdot 1 32 1 2 mchchimerkhakhnitichidkbcanwnbwkethann mchchimerkhakhnitmkthukichsahrbchudkhxngcanwnsungcanamakhunknhruxmilksnaepnelkhykkalng echntwelkhkaretibottang xathicanwnprachakrolkhruxxtradxkebiykhxngkarlngthunthangkarenginemuxewlaphanip nxkcakniyngthuknamaichinkarwdepriybethiybsmrrthnakhxngkhxmphiwetxr odymipraoychnsahrbkarkhanwnkhamchchimkhxng speedup ephraakhamchchimkhxngcanwn 0 5x chalngkhrunghnung kb 2x erwkhunsxngetha caepncanwnethakb 1 imerwkhun samarththakhwamekhaicmchchimerkhakhnitinaengkhxngerkhakhnitid mchchimerkhakhnitkhxngcanwnsxngcanwn a displaystyle a kb b displaystyle b epnkhwamyawkhxngdanhnungkhxngrupsiehliymcturssungmiphunthiethakbphunthikhxngrupsiehliymmumchakthimidanyaw a displaystyle a aela b displaystyle b mchchimerkhakhnitkhxngcanwnsamcanwnkkhlaykn mchchimerkhakhnitkhxng a displaystyle a b displaystyle b kb c displaystyle c epnkhwamyawkhxngsnhnungkhxngthrnglukbasksungmiprimatrethakbprimatrkhxngthrngsiehliymmumchak cuboid thiaetlasnyawethakbcanwnsamcanwnthikahndma mchchimerkhakhnitepnhnunginsamkhamchchimphithaokrsechnediywkbmchchimelkhkhnitaela harmonic mean sahrbchudkhxmulcanwnbwkthukchudsungmisxngcanwnthimiimethaknepnxyangnxy mchchimharmxnikcamikhanxythisudesmx mchchimelkhkhnitcamikhamakthisudcakmchchimthngsamchnid aelamchchimerkhakhnitcaxyurahwangthngsxngkha duthi Inequality of arithmetic and geometric means karkhanwnmchchimerkhakhnitkhxngchudkhxmul a1 a2 an textstyle left a 1 a 2 ldots a n right miniyamepn i 1nai 1n a1a2 ann displaystyle left prod i 1 n a i right frac 1 n sqrt n a 1 a 2 cdots a n smkarniichsykrn p twihyephuxaesdngthungkarkhunepnladb thngsxngfngkhxngsmkaraesdngkarkhunkhachudhnungtamladb n khuxcanwnkhxngkhathnghmd ephuxihidphlkhunrwmkhxngest caknncungharakthi n khxngphlkhunrwmephuxhakhamchchimerkhakhnitkhxngchudkhxmul twxyangechn hakmiestkhxngcanwnsicanwn 1 2 3 4 textstyle 1 2 3 4 phlkhunkhxng 1 2 3 4 textstyle 1 times 2 times 3 times 4 ethakb 24 textstyle 24 aelwkhamchchimerkhakhnitcaethakbrakthisikhxng 24 hruxpraman 2 213 elkhchikalng 1n textstyle frac 1 n thifngsayaesdngthungkarharakthi n klawkhux 2414 244 textstyle 24 frac 1 4 sqrt 4 24 karkhanwndwykarthasa mchchimerkhakhnitkhxngchudkhxmulchudhnungcamchchimelkhkhnitkhxngchudkhxmulnn ykewnhaksmachikthuktwinchudkhxmulmikhaethakn inkrninikhamchchimerkhakhnitaelaelkhkhnitcamikhaethakn ehtunithaihsamarthihniyamkha arithmetic geometric mean id sungepnswnrwmknrahwangthngsxngthicaihkhaxxkmarahwangthngsxngkhannesmx mchchimerkhakhnitkhux mchchimelkhkhnit harmxnik dwy inaengthihakmiladbxyusxngladb an textstyle a n aela hn textstyle h n thiminiyamwa an 1 an hn2 a0 x displaystyle a n 1 frac a n h n 2 quad a 0 x aela hn 1 21an 1hn h0 y displaystyle h n 1 frac 2 frac 1 a n frac 1 h n quad h 0 y odythi an 1 textstyle a n 1 khuxmchchimelkhkhnitaela hn 1 textstyle h n 1 khuxkhxngkhainladbkxn khxngthngsxngladb aelw an textstyle a n aela hn textstyle h n caluekhahakhakhxngmchchimerkhakhnitkhxng x textstyle x aela y textstyle y thngsxngladbcaluekhahalimitediywkn aelakhngsphaphkhxngmchchimerkhakhnitiw aihi ai hiai hihiai ai hi1ai 1hi ai 1hi 1 displaystyle sqrt a i h i sqrt frac a i h i frac a i h i h i a i sqrt frac a i h i frac 1 a i frac 1 h i sqrt a i 1 h i 1 aelaidphllphthediywknemuxaethnthimchchimelkhkhnitkbharmxnikdwy generalized mean sxngkhathimielkhchikalng p displaystyle p epncanwncakdthimikhatrngkhamkn echn 1 kb 1 khwamsmphnthkblxkarithum mchchimerkhakhnitsamarththukaesdngxxkinrupelkhchikalngkhxngmchchimelkhkhnitkhxnglxkarithumid karkhunsamarthaesdngxxkepnphlrwmaelakarykkalngsamarthaesdngxxkepnkarkhunidodyichexklksnlxkarithumephuxaeplngsphaphkhxngsutr odythi a1 a2 an gt 0 displaystyle a 1 a 2 dots a n gt 0 i 1nai 1n exp 1n i 1nln ai displaystyle left prod i 1 n a i right frac 1 n exp left frac 1 n sum i 1 n ln a i right ephraa i 1nai 1n a1a2 ann eln a1a2 an 1 n e1n ln a1 ln a2 ln an e1n i 1nln aigeometric mean a earithmetic mean ln a displaystyle begin aligned left prod i 1 n a i right frac 1 n amp sqrt n a 1 a 2 cdots a n amp e ln a 1 a 2 cdots a n 1 n amp e frac 1 n left ln a 1 ln a 2 cdots ln a n right amp e frac 1 n sum i 1 n ln a i text geometric mean a text amp e text arithmetic mean ln a text end aligned hruxsamarthichthanepncanwncringbwkid ktamthnginlxkarithumaelaelkhykkalng nxkcaknn hakih ai displaystyle a i epncanwnlbid i 1nai 1n 1 m 1nexp 1n i 1nln ai displaystyle left prod i 1 n a i right frac 1 n left left 1 right m right frac 1 n exp left frac 1 n sum i 1 n ln left a i right right odythi m khuxcanwnkhxngcanwnlb nibangkhrngthukeriykwa log average xyasbsnkb logarithmic average ephraaepnkarkhanwnhakhamchchimelkhkhnitkhxngkha ai displaystyle a i thithukaeplngepnruplxkarithum klawkhuxepnmchchimelkhkhnitinmatraswnlxkarithum aelwcaknnichkarykkalngephuxaeplngkarkhanwnklbipyngmatraswnedim nnkhux epn Quasi arithmetic mean thi f x log x displaystyle f x log x twxyangechn mchchimerkhakhnitkhxng 2 kb 8 samarthkhanwnhaiddngni ody b displaystyle b epnthankhaidktamkhxnglxkarithum odythwipcaethakb 2 kha e displaystyle e hrux 10 b12 logb 2 logb 8 4 displaystyle b frac 1 2 left log b 2 log b 8 right 4 sahrbchudkhxmul a1 an displaystyle a 1 ldots a n erasamarthmxngkhamchchimerkhakhnitidwaepnkhathicaihkhatasudkhxngfngkchn f a i 1n log ai log a 2 i 1n log ai a 2 displaystyle f a sum i 1 n log a i log a 2 sum i 1 n log a i a 2 odythwip ruplxkarithumepnthangeluxkthiidrbkhwamniyminkarptibtiichmchchimerkhakhnitinphasakhxmphiwetxr ephraakarkhanwnphlkhunkhxngcanwnhlaycanwnxacnaihekid arithmetic underflow hrux arithmetic overflow sungmioxkasekidnxykwainkrnikhxngkarhaphlrwmkhxnglxkarithumkhxngcanwnaetlacanwn epriybethiybkbmchchimelkhkhnit echingerkhakhnitwa max a b gt rutminsaekhwr RMS hruxkhaechliykalngsxng QM gt mchchimelkhkhnit AM gt mchchimerkhakhnit GM gt HM gt min a b khxngcanwnbwkthitangknsxngcanwn a aela bkarphisucn Proof without words PR displaystyle PR khuxesnphansunyklangkhxngrupwngklmthimicudsunyklang O displaystyle O rsmi AO displaystyle AO khuxmchchimelkhkhnitkhxng a displaystyle a kb b displaystyle b GQ displaystyle GQ khxngrupsamehliym PGR displaystyle PGR khuxmchchimerkhakhnitcak geometric mean theorem AO GQ displaystyle AO geq GQ sahrbxtraswn a b displaystyle a b id mchchimerkhakhnitkhxngchudkhxmulkhxngcanwn bwk camikhamakthisudimekinipkwamchchimelkhkhnitkhxngmnesmx aelacaethaknktxemuxthuk canwninchudkhxmulmikhaethakn miechnnnmchchimerkhakhnitcamikhanxykwa twxyangechn mchchimerkhakhnitkhxng 2 kb 3 khux 2 45 inkhnathimchchimelkhkhnitethakb 2 5 odyechphaaxyangying hmaykhwamwaemuxestkhxngcanwnthiimehmuxnknthukthaih mean preserving spread klawkhuxsmachikkhxngest kracayxxkcakkn makkhunaetimthaihmchchimelkhkhnitepliynip mchchimerkhakhnitcamikhanxylng xtrakaretibotodyechliy inbangkrni mchchimerkhakhnitepnkhathiichwdxtrakaretibotodyechliykhxngprimancaephaahnungiddi xathihakkhasngsuxtxpiephimkhunrxyla 80 aelarxyla 25 inpithdip phlcaethakbkarmixtrakaretibotkhngthirxyla 50 ephraamchchimerkhakhnitkhxng 1 80 kb 1 25 khux 1 50 inkarhaxtrakaretibotodyechliy imcaepntxnghaphlkhunkhxngxtrakaretibotthiwdidmainthuk khn hakihprimanmaepnladbkhxng a0 a1 an displaystyle a 0 a 1 a n odythi n displaystyle n khuxcanwnkhncakerimtncncb xtrakaretibotrahwangkarwdaetlakhrng ak displaystyle a k aela ak 1 displaystyle a k 1 khux ak 1 ak displaystyle a k 1 a k mchchimerkhakhnitkhxngxtrakaretibotehlanicungethakb a1a0a2a1 anan 1 1n ana0 1n displaystyle left frac a 1 a 0 frac a 2 a 1 cdots frac a n a n 1 right frac 1 n left frac a n a 0 right frac 1 n karprayuktichkbkhathithukthaihepnbrrthdthansmbtiphunthankhxngmchchimerkhakhnitsungmchchimchnidxun immikhux hakmiladbsxngladb X displaystyle X aela Y displaystyle Y thikhwamyawethakn GM XiYi GM Xi GM Yi displaystyle operatorname GM left frac X i Y i right frac operatorname GM X i operatorname GM Y i cathaihmchchimerkhakhnitepnmchchimchnidediywthithuktxngemuxkhanwnhakhaechliykhxngphllphthsungthukthaihepnbrrthdthan normalized klawkhuxphllphthsungaesdngxxkepnxtraswnkbkhaxangxing krniechnniekidkhunemuxtxngkaraesdngprasiththiphaphkhxngkhxmphiwetxremuxethiybkbkhxmphiwetxrthinamaxangxing hruxemuxtxngkarkhanwndchnikhaechliykhaediywcakaehlngthiimepnaebbediywkn echnkarkhadhmaykhngchiph rayaewlakarsuksa aelaxtrakaresiychiwitthark insthankarnehlani karichmchchimelkhkhnithruxharmxnikcaepliynkarcdladbkhxngphllphthodykhunxyukbkhathiichxangxing yktwxyangechnkarepriybethiybewlakrathakarkhxngopraekrmkhxmphiwetxrtang dngtxipni tarang 1 khxmphiwetxr A khxmphiwetxr B khxmphiwetxr Copraekrm 1 1 10 20opraekrm 2 1000 100 20mchchimelkhkhnit 500 5 55 20mchchimerkhakhnit 31 622 31 622 20mchchimharmxnik 1 998 18 182 20 thngmchchimelkhkhnitaelaerkhakhnitehnphxngknwakhxmphiwetxr C mikhwamerwpramwlphlsungthisud thwaemuxeraaesdngdwykhathithukthaihepnbrrthdthanxyangthuktxngaelw aelwichkhamchchimelkhkhnit eraaesdngihehnidwakhxmphiwetxrthngsxngekhruxngepnkhxmphiwetxrthierwthisud hakich A epnbrrthdthanaelaxangxingtammchchimelkhkhnit A caepnkhxmphiwetxrthierwthisud tarang 2 khxmphiwetxr A khxmphiwetxr B khxmphiwetxr Copraekrm 1 1 10 20opraekrm 2 1 0 1 0 02mchchimelkhkhnit 1 5 05 10 01mchchimerkhakhnit 1 1 0 632 mchchimharmxnik 1 0 198 0 039 inkhnathihakich B epnbrrthdthanaelaxangxingtammchchimelkhkhnit khxmphiwetxr B caepnkhxmphiwetxrthierwthisud aethakxangxingtammchchimharmxnik khxmphiwetxr A caepnkhxmphiwetxrthierwthisud tarang 3 khxmphiwetxr A khxmphiwetxr B khxmphiwetxr Copraekrm 1 0 1 1 2opraekrm 2 10 1 0 2mchchimelkhkhnit 5 05 1 1 1mchchimerkhakhnit 1 1 0 632mchchimharmxnik 0 198 1 0 363 aelaemuxich C epnbrrthdthanaelaxangxingtammchchimelkhkhnit khxmphiwetxr C caerwthisud aetemuxxangxingtammchchimharmxnik khxmphiwetxr A caerwthisud tarang 4 khxmphiwetxr A khxmphiwetxr B khxmphiwetxr Copraekrm 1 0 05 0 5 1opraekrm 2 50 5 1mchchimelkhkhnit 25 025 2 75 1mchchimerkhakhnit 1 581 1 581 1mchchimharmxnik 0 099 0 909 1 inthuk krni ladbkhwamerwthixangxingtammchchimerkhakhnitkhngladbedimehmuxnkbthiidcakkhathiyngimidthukthaihepnbrrthdthan xyangirktam karihehtuphlaenwnithuktngkhatham karidphllphthxyangkhngesnkhngwaimidhmaykhwamwaepnphllphththithuktxngesmxip odythwipaelw caekhmngwdkwahakkahndihaetlaopraekrmminahnkkhxngtwexng khanwnewlakrathakarechliyaebbthwngnahnk dwymchchimelkhkhnit aelwnaphllphthnnmaichepnbrrthdthankbkhxmphiwetxrekhruxngidekhruxnghnung thngsamtarangdanbnephiyngaetkahndnahnkihkbaetlaopraekrmtangkn epnehtuthiphllphthkhxngmchchimelkhkhnitkbharmxnikimsxdkhlxngkn tarang 4 ihnahnkkbthngsxngopraekrmethakn tarang 2 ihnahnk 1 1000 kbopraekrmthisxng aelatarang 3 ihnahnk 1 100 kbopraekrmthisxngaelanahnk 1 10 kbopraekrmthihnung khwrhlikeliyngkarichnganmchchimerkhakhnitinkarrwbrwmtwelkhsmrrthphaph ephraakarkhunewlakrathakardwyknimminythangkayphaphid sungtangcakkarbwkekhadwyknsahrbmchchimelkhkhnit twchiwdsungepnsdswnphkphnkbewla echnhrux Instructions per cycle khwrechliydwymchchimharmxnik mchchimerkhakhnitaelamchchimerkhakhnitthwngnahnksamarthhaidcaklimitkhxngemuxkahndihelkhchikalng p displaystyle p mikhaekhaiklsunymchchimerkhakhnitkhxngfngkchntxenuxnghak f a b 0 displaystyle f a b to 0 infty epnfngkchnkhacringbwktxenuxng mchchimerkhakhnitkhxngmninchwngnikhux GM f exp 1b a abln f x dx displaystyle text GM f exp left frac 1 b a int a b ln f x dx right twxyangechn fngkchnexklksn f x x displaystyle f x x inchwnghnunghnwyaesdngihehnwamchchimerkhakhnitkhxngcanwnbwkrahwang 0 kb 1 ethakb 1e displaystyle frac 1 e karprayuktichkaretibottamsdswn mchchimerkhakhnitehmaasmtxkarxthibaykaretibottamsdswnmakkwamchchimelkhkhnit imwacaepn exponential growth karetibottamsdswnthikhngthi hruxkaretibotaebbaeprphn mchchimerchakhnitkhxngxtrakaretibotepnthiruckinsakhabriharthurkicwa compound annual growth rate CAGR mchchimerkhakhnitkhxngkaretibotinchwngewlarayahnungihphllphthepnxtrakaretibotaebbkhngthisungcaihphllphthintxnsudthayethakn smmutiwatnsmxxkphlsm 100 lukinpihnung caknn 180 210 aela 300 lukinpithd ip xtrakaretibotkhxngaetlapicungethakbrxyla 80 16 6666 aela 42 8571 tamladb emuxerakhanwnhaxtrakaretibotodyechliy echingesn dwymchchimelkhkhnitidethakbrxyla 46 5079 80 16 6666 42 8571 aelwhardwy 3 aethakeraerimcaksm 100 lukaelaihxxkphletibotrxyla 46 5079 txpi phllphthcaidphlsm 314 luk sungimich 300 khaechliyechingesncungihphllphththiekincringipcakkaretibottxpi aethakeraichmchchimerkhakhnitaethn karetibotrxyla 80 khuxkarkhundwy 1 80 eracunghamchchimerkhakhnitkhxng 1 80 1 166666 aela 1 428571 klawkhux1 80 1 166666 1 4285713 1 442249 displaystyle sqrt 3 1 80 times 1 166666 times 1 428571 approx 1 442249 dngnn xtrakaretibot odyechliy txpicungethakbrxyla 44 2249 hakeraerimcaksm 100 lukaelaihxxkphletibotrxyla 44 2249 txpi phllphthcaidphlsm 300 luk karengin mikarnamchchimerkhakhnitmaichkhanwndchnithangkarengintang karechliyaetlaxngkhprakxbkhxngdchni echninxdit FT 30 ichmchchimerkhakhnit khxngshrachxanackraelashphaphyuorpkichechnkn nisngphlihkhwamekhluxnihwphayindchnithukaesdngxxkmainradbthixxnlngemuxethiybkbkarichmchchimelkhkhnit sngkhmsastr aemcahakarichmchchimerkhakhnitinkarkhanwnsthitithangsngkhmidyakphxsmkhwr aetemux kh s 2010 dchnikarphthnamnusykhxngshprachachatiidepliynmakhanwndwywithini odyihehtuphlwasathxnphaphthrrmchatikhxngsthitithirwbrwmmaaelanamaepriybethiybxnimsamarthhasingidmathdaethnididdikwaedim mchchimerkhakhnitldradbkarthdaethnknidkhxngaetlamiti aelarbrxngwakarldlngrxyla 1 khxngkarkhadhmaykhngchiphemuxkaenidepntncasngphltxdchni HDI ethakbkarldlngrxyla 1 inkarsuksahruxrayid dngnn karichwithikarniepnphunthansahrbkarepriybethiybphlsmvththitang caekharphkhwamaetktangintwexngkhxngaetlamitimakkwawithikarhakhaechliyaebbngay rayidthikracayxyangethaethiymswsdikarethiybethakhxng Atkinson Index thimitwaepr inequality aversion ϵ 1 0 displaystyle epsilon 1 0 khuxmchchimerkhakhnitkhxngrayidthnghmd swnemuxtwaeprnnmikhathiimethakb 1 rayiddngklawcamikhaethakb Lp displaystyle L p space hardwycanwnkhxngkhxmul ody p 1 ϵ displaystyle p 1 epsilon erkhakhnit khwamsungkhxngrupsamehliymmumchakwdcakmumchakipyngdantrngkhammumchakkhuxmchchimerkhakhnitkhxngkhwamyawkhxngthngsxngswnkhxngdantrngkhammumchakthithukaebngepnsxngswn ichthvsdibthphithaokrskbsamehliymthngsamrupkhxngdan p q r s r p h aela s h q id p q 2 r2 s2p2 2pq q2 p2 h2 h2 q2 2pq 2h2 h pq displaystyle begin aligned p q 2 amp quad r 2 quad s 2 p 2 2pq q 2 amp overbrace p 2 h 2 overbrace h 2 q 2 2pq quad amp 2h 2 therefore h sqrt pq end aligned inkrnikhxngrupsamehliymmumchak khwamsungkhuxkhwamyawkhxngesntrngthilakcakmumchakiptngchakkbdantrngkhammumchak esnniaebngdantrngkhammumchakepnsxngswn aelamchchimerkhakhnitkhxngthngsxngswnnikhuxkhwamsungkhxngrupsamehliymnn smbtinimichuxwa inkrnikhxngwngri kungaeknothkhuxmchchimerkhakhnitkhxngrayathangthiyawthisudkbrayathangthisnthisudcakofksipyngwngri aelaepnmchchimerkhakhnitkhxngkungaeknexkkbkungeltserktm aelakungaeknexkkhuxmchchimerkhakhnitkhxngrayathangcakcudsunyklangipyngofkscudidktamkbrayathangcakcudsunyklangipyng Directrix conic section esnidktam hruxklawidxikaebbwa hakmirupwngklmrsmiethakb r displaystyle r eluxkcudsxngcudsungxyutrngkhamknbnrupwngklm aelwkdihepliynrupklayepnwngriodymikungaeknexkaelakungaeknothethakb a displaystyle a aela b displaystyle b tamladb enuxngcakphunthikhxngwngklmrupedimkbwngrirupthiidmamikhaethakn eraklawidwa pr2 pabr2 abr ab displaystyle begin aligned pi r 2 amp pi ab r 2 amp ab r amp sqrt ab end aligned rsmikhxngwngklmedimkhuxmchchimerkhakhnitkhxngkungaeknexkkbkungaeknothkhxngwngrithiidmacakkarepliynrupwngklmrupnn rayathangipyngkhxbfakhxngthrngklmmikhapramanethakbmchchimerkhakhnitkhxngrayathangipyngcudbnthrngklmthixyuiklthisudkbrayathangipyngcudbnthrngklmthiiklthisud hakkahndihrayathangipyngcudbnthrngklmthiiklthisudmikhanxy mchchimerkhakhnitthuknamaichinkarpraman squaring the circle khxngsriniwasa ramanuchn aelakarsrangrupsibecdehliymdwy mean proportional xtraswnlksna karepriybethiybphunthietharahwangxtraswnlksnatang thiekhins phawewxs ichephuxhamatrthan siaedngkhux TV 4 3 1 33 sismkhux 1 66 sinaenginkhux 16 9 1 77 siehluxngkhux 1 85 simwngkhux 2 2 aelasichmphukhux 2 35 mchchimerkhakhnitthukichinkareluxkxtraswnlksnapranipranxminphaphyntraelaphaphekhluxnihw klawkhuxhakmixtraswnlksnaxyusxngaebb mchchimerkhakhnitkhxngthngsxngcaepnxtraswnlksnathipranipranxmrahwangthngsxngthithaihbidebiywhruxsuyesiyphaphipetha kninaenghnung inechingrupthrrm rupsiehliymsxngrupthimiphunthiethakn thicudsunyklangediywknaelamidanthikhnankn aetmixtraswnlksnatangkn miswnrwmknepnrupsiehliymthimixtraswnlksnaepnmchchimerkhakhnitkhxngthngsxng aelaepluxknxkkhxngmn rupsiehliymkhnadelkthisudthikhrxbrupsiehliymthngsxngrup kmixtraswnlksnaepnmchchimerkhakhnitkhxngthngsxngechnkn inkarhasmdulrahwangxtraswnlksna 2 35 kb 4 3 mchchimerkhakhnitethakb 2 35 43 1 7701 textstyle sqrt 2 35 times frac 4 3 approx 1 7701 SMPTE cungeluxkxtraswnlksna 16 9 1 777 textstyle 16 9 1 77 overline 7 ekhins phawewxs Kerns Powers khnphbxtraswnlksnaniphanwithikarechingpracks ekhatdrupsiehliymxxkepnphunthiethaknaelatdxxkihmixtraswnlksnaethakbxtraswnthimiichxyuaephrhlayinkhnann emuxnamasxnknodywangcudsunyklangihtrngkn ekhaphbwarupsiehliymxtraswnlksnathnghmdisphxdikbrupsiehliymphaynxkthimixtraswnlksnaethakb 1 77 1 aelathnghmdkkhlumphunthirupsiehliymphayinrwmknthimixtraswnlksnaethakb 1 77 1 echnkn emuxichethkhnikhhamchchimerkhakhnitaebbediywknkbxtraswnlksna 16 9 aela 4 3 caidphllphthodypramanethakb 1 555 textstyle 1 55 overline 5 sunginaebbediywkn epnkarpranipranxmrahwangxtraswnthngsxng khnadkradas mchchimerkhakhnitthukichkhanwnkhnadkradassiris B aela C kradaskhnad Bn displaystyle B n miphunthiethakbmchchimerkhakhnitkhxngphunthikhxngkradaskhnad An displaystyle A n kb An 1 displaystyle A n 1 twxyangechn phunthikhxngkradas B1 ethakb 22m2 displaystyle frac sqrt 2 2 mathrm m 2 ephraaepnmchchimerkhakhnitkhxngphunthikhxngkradas A0 1m2 displaystyle 1 mathrm m 2 kbkhxngkradas A1 12m2 displaystyle frac 1 2 mathrm m 2 1m2 12m2 12m4 12m2 22m2 displaystyle sqrt 1 mathrm m 2 cdot frac 1 2 mathrm m 2 sqrt frac 1 2 mathrm m 4 frac 1 sqrt 2 mathrm m 2 frac sqrt 2 2 mathrm m 2 khnadkradassiris C ichhlkkarediywkn odymiphunthiethakbmchchimerkhakhnitkhxngkhnadkradassiris A aela B twxyangechn kradas C4 miphunthiethakbmchchimerkhakhnitkhxngphunthikhxngkradas A4 aela B4 khxidepriybkhxngkhwamsmphnthaebbnikhuxkradas A4 samarthislnginsxngkradaskhnad C4 idphxdi aelakradasthngsxngislnginsxngkradaskhnad B4 idphxdi xun Spectral flatness inkarpramwlphlsyyankhuxhnwywdkhwamaebnrabhruxkhwamaehlmkhxngsepktrm miniyamepnxtraswnrahwangmchchimerkhakhnitkbmchchimelkhkhnitkhxngsepktrmkalng Anti reflective coatings epnsarekhluxbthildkarsathxnrahwangsuxklangsxngpraephththimidchnihkehethakb n0 displaystyle n 0 aela n2 displaystyle n 2 odydchnihkehthidithisudkhxngsarekhluxbknaesngsathxn n1 displaystyle n 1 caethakbmchchimerkhakhnit n1 n0n2 displaystyle n 1 sqrt n 0 n 2 inkarphsmsiechinglb Subtractive color mixing esnokhngkhwamsathxnechingsepktrm spectral reflectance curve khxng Color mixing thimi Tint shade and tone Opacity optics aelakhwamecuxcangethakn camikhaodypramanethakbmchchimerkhakhnitkhxngesnokhngkhwamsathxnkhxngsiaetlasi odykhanwnthiaetlakhwamyawkhluninsepkkhrmkhxngsiehlann geometric mean filter thukichinkarpramwlphlphaphephuxkrxngsingrbkwnxxkipduephimsthaniyxykhnitsastr Quadrature mathematics Log normal distribution khaechliykalngsxng Geometric standard deviation phlkhun Hyperbolic coordinates Heteroscedasticity Heronian mean mchchimphithaokrs Weighted geometric mean Muirhead s inequality Rate of return hmayehtumchchimerkhakhnitichidkbcanwnbwkethannephuxhlikeliyngkarharakkhxngphlkhunthimikhaepnlb sungcaidphllphthepncanwncintphaphxangxingFriehauf Matt Hertel Mikaela Liu Juan Luong Stacey 2013 On Compass and Straightedge Constructions Means PDF Department of Mathematics University of Washington PDF cakaehlngedimemux 17 singhakhm 2022 subkhnemux 14 mithunayn 2018 Joyce David E 2013 Book VI Proposition 13 To find a mean proportional to two given straight lines Euclid s Elements Department of Mathematics and Computer Science Clark University cakaehlngedimemux 3 kumphaphnth 2023 subkhnemux 19 krkdakhm 2019 2 5 Geometric Mean Introductory Business Statistics OpenStax Statistics LibreTexts phasaxngkvs 20 emsayn 2019 cakaehlngedimemux 3 kumphaphnth 2023 subkhnemux 16 singhakhm 2021 Crawley Michael J 2005 Statistics An Introduction using R John Wiley amp Sons Ltd ISBN 9780470022986 tha AC a displaystyle AC a aela BC b displaystyle BC b aelw OC AM displaystyle OC AM khxng a kb b aelarsmi r QO OG displaystyle r QO OG ichthvsdibthphithaokrsid QC2 QO2 OC2 QC QO2 OC2 QM displaystyle QC 2 QO 2 OC 2 therefore QC sqrt QO 2 OC 2 QM ichthvsdibthphithaokrsid OC2 OG2 GC2 GC OC2 OG2 GM displaystyle OC 2 OG 2 GC 2 therefore GC sqrt OC 2 OG 2 GM ichid HCGC GCOC HC GC2OC HM displaystyle frac HC GC frac GC OC therefore HC frac GC 2 OC HM Mitchell Douglas W 2004 More on spreads and non arithmetic means The Mathematical Gazette 88 142 144 doi 10 1017 S0025557200174534 S2CID 168239991 Fleming Philip J Wallace John J 1986 How not to lie with statistics the correct way to summarize benchmark results Communications of the ACM 29 3 218 221 doi 10 1145 5666 5673 S2CID 1047380 Smith James E 1988 Characterizing computer performance with a single number Communications of the ACM 31 10 1202 1206 doi 10 1145 63039 63043 S2CID 10805363 Rowley Eric E 1987 The Financial System Today Manchester University Press ISBN 0719014875 Bird Derek 12 minakhm 2013 Introducing the new RPIJ measure of Consumer Price Inflation Report Office for National Statistics p 4 hdr undp org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2 minakhm 2011 The geometric mean reduces the level of substitutability between dimensions and at the same time ensures that a 1 percent decline in say life expectancy at birth has the same impact on the HDI as a 1 percent decline in education or income Thus as a basis for comparisons of achievements this method is also more respectful of the intrinsic differences across the dimensions than a simple average Ramanujan S 1914 Modular equations and approximations to p PDF Quarterly Journal of Mathematics 45 350 372 PDF cakaehlngedimemux 9 phvscikayn 2022 Stowell T P 1876 1818 Extract from Leybourn s Math Repository The Analyst Vol 3 4 Mills amp Company odythang Google Books The Father Of 16 9 PDF The CinemaSource Press 2001 p 8 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 9 knyayn 2009 subkhnemux 24 tulakhm 2009 US 5956091 DREWERY JOHN OLIVER DEVEREUX VICTOR GERALD Method of showing 16 9 pictures on 4 3 displays issued 21 knyayn 1999 MacEvoy Bruce Colormaking Attributes Measuring Light amp Color handprint com Colorimetry cakaehlngedimemux 14 krkdakhm 2019 subkhnemux 2 mkrakhm 2020 aehlngkhxmulxunewbistkhanwnmchchimerkhakhnitaelaelkhkhnit 2023 02 08 thi ewyaebkaemchchin mchchimelkhkhnitaelaerkhakhnit phasaxngkvs 2023 02 03 thi ewyaebkaemchchin khwrichmchchimerkhakhnitemuxid phasaxngkvs 2023 02 03 thi ewyaebkaemchchin karkhanwnmchchimerkhakhnitdwykhxmulchnidtang phasaxngkvs 2010 11 12 thi ewyaebkaemchchin mchchimerkhakhnitthiewbist MathWorld phasaxngkvs 2023 03 05 thi ewyaebkaemchchin khwamhmayechingerkhakhnitkhxngmchchimerkhakhnit phasaxngkvs 2023 02 05 thi ewyaebkaemchchin ekhruxngkhanwnmchchimerkhakhnitsahrbchudkhxmulkhnadihy phasaphiexchphi karkhanwnkaraebngsrrpnswnthinngsmachiksphaphuaethnrasdrshrthodyichmchchimerkhakhnit phasaxngkvs 2022 09 26 thi ewyaebkaemchchin ewbistaekhlkhulsaebbnxnniwoteniyn phasaxngkvs 2023 02 13 thi ewyaebkaemchchin niyamaelasutrkhxngmchchimerkhakhnit phasaxngkvs 2023 03 12 thi ewyaebkaemchchin Wilson David A L Martin Barry minakhm 2006 The Distribution of the Geometric Mean The Mathematical Gazette phasaxngkvs 90 517 40 49 JSTOR 3621411 Vogel Richard M 2020 The geometric mean PDF Communications in Statistics Theory and Meth phasaxngkvs 51 1 82 94 doi 10 1080 03610926 2020 1743313 ISSN 1532 415X PDF cakaehlngedimemux 3 kumphaphnth 2023 odythang sites tufts edu