ภาษามลยาฬัม [มะ-ละ-ยา-ลำ] (มลยาฬัม: മലയാളം, อักษรโรมัน: Malayāḷam, ) เป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมลยาฬัม
ภาษามลยาฬัม | |
---|---|
malayāḷaṁ | |
മലയാളം, มลยาฬํ | |
มลยาฬัม ในอักษรมลยาฬัม | |
ออกเสียง | ; |
ประเทศที่มีการพูด | อินเดีย |
ภูมิภาค | รัฐเกรละที่มีชุมชนที่ติดกับอำเภอ Kanyakumari ของรัฐทมิฬนาฑู, ลักษทวีปและ (ปุฑุเจรี) |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 35 ล้านคน (ในอินเดีย) (2011) ภาษาที่สอง: 700,000 |
ตระกูลภาษา | ดราวิเดียน
|
รูปแบบก่อนหน้า |
|
ภาษาถิ่น | (ลักษทวีป), , , , , , , , , , , , , , , , และ |
ระบบการเขียน |
|
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | อินเดีย |
, | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | ml |
ISO 639-2 | mal |
ISO 639-3 | mal |
49-EBE-ba | |
ภาษามลยาฬัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว พ.ศ. 1400 ก่อนจะแยกออกเป็นอีกภาษาหนึ่ง พัฒนาการของภาษาในช่วงแรกได้รับอิทธิพลจากภาษาทมิฬมาก การติดต่อค้าขายกับชาวอาหรับและเคยอยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส ทำให้ได้รับอิทธิพลของภาษากลุ่มโรมานซ์ เซมิติกและอินโด-อารยันเข้ามา ซึ่งอิทธิพลจากภาษาภายนอกเหล่านี้จะต่างกันไปในหมู่ผู้พูดที่นับถือศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามและศาสนาฮินดู
พัฒนาการ
คำว่ามลยาฬัมเกิดจากคำในภาษาทมิฬสองคำคือมาไล แปลว่าภูเขา และอาฬัมแปลว่าบริเวณ ซึ่งหมายถึงบริเวณภูเขา จุดกำเนิดของภาษามลยาฬัมไม่ว่าจะในฐานะสำเนียงของภาษาทมิฬหรือแตกออกมาจากภาษาดราวิเดียนดั้งเดิมโดยอิสระ ได้มีการโต้แย้งกันในหมู่นักภาษาศาสตร์ Robert Caldwell กล่าวว่า ภาษามลยาฬัมแยกออกมาจากภาษาทมิฬคลาสสิก หลังจากที่ยืมคำจำนวนมากจากภาษาสันสกฤต และสูญเสียการลงท้ายเกี่ยวกับบุคคลของกริยา อย่างไรก็ตาม ในพุทธศตวรรษที่ 18 ได้พบการเขียนภาษามลยาฬัมซึ่งมีความแตกต่างจากภาษาทมิฬ บทกวีที่ชื่อรมชริตัมมีอายุย้อนหลังไปถึงพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งเกิดขึ้นก่อนจะได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสฤต รูปแบบการเขียนที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตมาก พบในพุทธศตวรรษที่ 19 ซึ่งใช้คำศัพท์ที่มาจากคัมภีร์ปุราณะ
ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ถุนชัถถุ รมนุชัน เอซุถาชัน เขียนเอกสารฉบับแรกที่ใช้อักษรครันถะ-มลยาฬัม ซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของภาษามลยาฬัม และใช้ในการแปลรามายณะและมหาภารตะมาเป็นภาษามลยาฬัม
ภาษามลยาฬัมอยู่ในกลุ่มภาษาดราวิเดียนใต้เช่นเดียวกับภาษาทมิฬ ภาษาโกทวะ และภาษาตุฬุ ส่วนใหญ่เชื่อว่าภาษาทมิฬดั้งเดิมได้แยกออกมาเป็นภาษาทมิฬและภาษามลยาฬัม ต่อมา ใชนช่วงที่รัฐเกรละมีความโดดเด่นทางสังคมและการเมือง มีการติดต่อค้าขายกับชาวอาหรับ รวมทั้งการรุกรานของโปรตุเกส ทำให้ภาษามลยาฬัมได้รับอิทธิพลจากกล่มภาษาโรมานซ์ กลุ่มภาษาเซมิติก และกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน และทำให้ภาษาที่ใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาเชน คริสต์ อิสลามและยูดายมีความแตกต่างกัน
ที.เค. กฤษณะ เมนน ได้แบ่งยุคของภาษามลยาฬัมออกเป็น 4 ยุคคือ
- การินทมิฬ เมื่อราว 2,457 ปีก่อนพุทธศักราชจนถึง พ.ศ. 443 ส่วนใหญ่เหมือนกับภาษาทมิฬ ยังไม่รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต
- ภาษามลยาฬัมโบราณ เมื่อประมาณ 443 – 868 ภาษามลยาฬัมได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต และยืมคำจากภาษาสันสกฤตมาเป็นจำนวนมาก มีการลงท้ายกริยาด้วยบุคคลซึ่งขึ้นกับเพศและจำนวน เขียนด้วยอักษรทมิฬ-พราหมี
- ภาษามลยาฬัมยุคกลาง พ.ศ. 868 – 1968 เป็นยุคที่ศาสนาเชนมีอิทธิพลต่อภาษามาก
- ภาษามลยาฬัมสมัยใหม่ ตั้งแต่พ.ศ. 1968 เป็นต้นมา เป็นช่วงที่ภาษามลยาฬัมเป็นเอกเทศจากภาษาทมิฬและภาษาสันสกฤต ซึ่งแบ่งย่อยเป็นช่วงก่อนและหลังการเข้ายึดครองของอังกฤษ
มิชชันนารีที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ได้ริเริ่มการพิมพ์ในรัฐเกรละ และต่อมาศาสนาคริสต์ได้นำภาษามลยาฬัมไปใช้ในทางศาสนาแทนภาษาซีเรียค ดอกทรินา คริสตัมถูกแปลเป็นภาษามลยาฬัมและตีพิมพ์โดยชาวโปรตุเกสเมื่อ พ.ศ. 2121 ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกที่ตีพิมพ์ในรัฐเกรละ การสร้างตัวพิมพ์อักษรมลยาฬัมเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2364 หนังสือพิมพ์ภาษามลยาฬัมฉบับแรกชื่อ รัชยะ สมชรัม ตีพิมพ์โดยมิชชันนารีชาวเยอรมันเมื่อ พ.ศ. 2390
พัฒนาการของวรรณคดี
เอกสารที่เขียนด้วยอักษรมลยาฬัมที่เก่าที่สุดคือจารึกวซับปัลลิอายุราว พ.ศ. 1373 วรรณคดีในยุคแรก ๆ ของภาษานี้ได้แก่เพลงยุคคลาสสิกที่เรียกนาทัน ปาตตุ เพลงพื้นบ้านที่ใช้คำศัพท์แบบพื้นบ้าน และมนิปรวลัมที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต กวีนิพพนธ์ภาษามลยาฬัมเกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 25
สัทวิทยา
สระ
ภาษามลยาฬัมได้ยืมสระประสม /äu/ (ഔ) และ /ai/ (ഐ) มาจากภาษาสันสกฤต โดยส่วนใหญ่พบในคำยืมจากภาษาสันสกฤต
ไวยากรณ์
โครงสร้างประโยคของภาษามลยาฬัมเป็นแบบประธาน-กรรม- กริยา เช่นเดียวกับภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่น ๆ คุณศัพท์และคำแสดงความเป็นเจ้าของนำหน้าคำนาม มีการกทางไวยากรณ์ 6-7 การก คำกริยาเป็นไปตามกาล มาลาและเป้าหมาย แต่ไม่ผันตามบุคคล เพศ หรือจำนวน ยกเว้น รูปแบบโบราณหรือในกวีนิพนธ์
ระบบการเขียน
ในอดีตที่ผ่านมามีอักษรหลายชนิดใช้เขียนภาษามลยาฬัมได้แก่ อักษรวัตเตซุถุ อักษรโกเลซุถุ และอักษรมลยาฬัม จัดอยู่ในกลุ่มอักษรครันถะซึ่งเป็นรูปแบบของอักษรพราหมีที่แพร่หลายทางตอนใต้ และต่อมาได้พัฒนามาเป็นอักษรมลยาฬัมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
อักษรมลยาฬัมมี 53 ตัว แบ่งเป็นสระ 16 ตัวและพยัญชนะ 37 ตัว รูปแบบดั้งเดิมของการเขียนถูกแทนที่ด้วยรูปแบบใหม่ที่ประดิษฐ์ขึ้นใน พ.ศ. 2524 ซึ่งมีการลดรูปพยัญชนะที่เคยมีแตกต่างกันถึง 900 แบบจนน้อยกว่า 90 แบบ ทำให้สามารถพิมพ์ด้วยอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ดีดได้ ภาษามลยาฬัมเคยเขียนด้วยอักษรอื่น เช่น อักษรอาหรับ อักษรซีเรียค และอักษรละตินแต่ไม่เป็นที่นิยม อักษรอาหรับพบที่มัดดารอซะฮ์และหมู่เกาะลักษทวีป
สำเนียงและอิทธิพลจากภายนอก
อิทธิพลของภาษาสันสกฤตพบมากในรูปแบบมาตรฐานของภาษามลยาฬัมที่ใช้ในวรรณคดี คำยืมและอิทธิพลของภาษาฮีบรูและภาษาซีเรียครวมทั้งภาษาลาดิโนพบมากในภาษามลยาฬัมของชาวยิว ส่วนในชุมชนชาวคริสต์จะพบอิทธิพลของภาษาอังกฤษ ภาษาโปรตุเกส ภาษาซีเรียคและภาษากรีก ส่วนชุมชนของชาวมุสลิมจะพบอิทธิพลของภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซีย สำเนียงของชาวมุสลิมที่รู้จักกันดีคือสำเนียงมัปปิลาที่พูดในบริเวณมาลาบาร์ของรัฐเกรละ ส่วนสำเนียงอื่น ๆ จะพบทางเหนือของรัฐเกรละ
อ้างอิง
- "Census of India Website : Office of the Registrar General & Census Commissioner, India". จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2018. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
- Johnson, Todd M.; Grim, Brian J. (2013). "Chapter 1. Global Religious Populations, 1910–2010". (PDF) (1st ed.). John Wiley & Sons, Ltd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 October 2013. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.
- ภาษามลยาฬัม ที่ Ethnologue (22nd ed., 2019)
- Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. [1] 14 พฤศจิกายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- . Ethnologue. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2017.
- Official languages, UNESCO, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2005, สืบค้นเมื่อ 10 May 2007
- "Wals.info". Wals.info. สืบค้นเมื่อ 2012-02-20.
- Asher, R. E. and Kumari, T. C. (1997). Malayalam. Routledge Pub.: London.
- http://www.jaimalayalam.com/papers/socialCaseMalayalam05.pdf
- Suriyani Malayalam, Nasrani Foundation
- A sacredlanguage is vanishing from State 2008-08-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Hindu
- Prayer from the Past, India Today
- Gaṅgopādhyāẏa, Subrata (2004). Symbol, Script, and Writing: From Petrogram to Printing and Further. Sharada Pub. House. p. 158.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-05. สืบค้นเมื่อ 2013-12-05.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาษามลยาฬัม ที่เว็บไซต์ Curlie
- Malayalam language at Encyclopædia Britannica
- Unicode Code Chart for Malayalam (PDF Format)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasamlyalm ma la ya la mlyalm മലയ ള xksrormn Malayaḷam epnphasarachkarkhxngrthekralathangphakhitkhxngxinediy miphuphudpraman 36 lankhn aelamiphuphudinekaalksthwipdwy cdxyuintrakulphasadrawiediyn iklekhiyngkbphasathmil ekhiyndwyxksrmlyalmphasamlyalmmalayaḷaṁമലയ ള mlyalmlyalm inxksrmlyalmxxkesiyng praethsthimikarphudxinediyphumiphakhrthekrlathimichumchnthitidkbxaephx Kanyakumari khxngrththmilnathu lksthwipaela puthuecri chatiphnthucanwnphuphud35 lankhn inxinediy 2011 phasathisxng 700 000trakulphasadrawiediyn phasamlyalmrupaebbkxnhnaphasamlyalmphasathin lksthwip aelarabbkarekhiynxksrmlyalm phrahmi xdit xdit xdit khrntha xdit xdit aethbimichngan xdit xksrhibru xksrlatin imthangkar sthanphaphthangkarphasathangkar xinediy rthekrla puthuecri rhsphasaISO 639 1mlISO 639 2malISO 639 3mal49 EBE ba source source source source source source phuphudphasamlyalm bnthukinpraethsaexfrikait phasamlyalmcdxyuinklumdrawiediynit khadwamikaenidrwmkbphasathmilemuxraw ph s 1400 kxncaaeykxxkepnxikphasahnung phthnakarkhxngphasainchwngaerkidrbxiththiphlcakphasathmilmak kartidtxkhakhaykbchawxahrbaelaekhyxyuphayitkarpkkhrxngkhxngoprtueks thaihidrbxiththiphlkhxngphasaklumormans esmitikaelaxinod xarynekhama sungxiththiphlcakphasaphaynxkehlanicatangknipinhmuphuphudthinbthuxsasnakhrist sasnaxislamaelasasnahinduphthnakarkhawamlyalmekidcakkhainphasathmilsxngkhakhuxmail aeplwaphuekha aelaxalmaeplwabriewn sunghmaythungbriewnphuekha cudkaenidkhxngphasamlyalmimwacainthanasaeniyngkhxngphasathmilhruxaetkxxkmacakphasadrawiediyndngedimodyxisra idmikarotaeyngkninhmunkphasasastr Robert Caldwell klawwa phasamlyalmaeykxxkmacakphasathmilkhlassik hlngcakthiyumkhacanwnmakcakphasasnskvt aelasuyesiykarlngthayekiywkbbukhkhlkhxngkriya xyangirktam inphuththstwrrsthi 18 idphbkarekhiynphasamlyalmsungmikhwamaetktangcakphasathmil bthkwithichuxrmchritmmixayuyxnhlngipthungphuththstwrrsthi 17 sungekidkhunkxncaidrbxiththiphlcakphasasnsvt rupaebbkarekhiynthiidrbxiththiphlcakphasasnskvtmak phbinphuththstwrrsthi 19 sungichkhasphththimacakkhmphirpurana inrawphuththstwrrsthi 21 22 thunchththu rmnuchn exsuthachn ekhiynexksarchbbaerkthiichxksrkhrntha mlyalm sungthuxepntnkaenidkhxngphasamlyalm aelaichinkaraeplramaynaaelamhaphartamaepnphasamlyalm phasamlyalmxyuinklumphasadrawiediynitechnediywkbphasathmil phasaokthwa aelaphasatulu swnihyechuxwaphasathmildngedimidaeykxxkmaepnphasathmilaelaphasamlyalm txma ichnchwngthirthekrlamikhwamoddednthangsngkhmaelakaremuxng mikartidtxkhakhaykbchawxahrb rwmthngkarrukrankhxngoprtueks thaihphasamlyalmidrbxiththiphlcakklmphasaormans klumphasaesmitik aelaklumphasaxinod xaryn aelathaihphasathiichinhmuphunbthuxsasnaechn khrist xislamaelayudaymikhwamaetktangkn thi ekh kvsna emnn idaebngyukhkhxngphasamlyalmxxkepn 4 yukhkhux karinthmil emuxraw 2 457 pikxnphuththskrachcnthung ph s 443 swnihyehmuxnkbphasathmil yngimrbxiththiphlcakphasasnskvt phasamlyalmobran emuxpraman 443 868 phasamlyalmidrbxiththiphlcakphasasnskvt aelayumkhacakphasasnskvtmaepncanwnmak mikarlngthaykriyadwybukhkhlsungkhunkbephsaelacanwn ekhiyndwyxksrthmil phrahmi phasamlyalmyukhklang ph s 868 1968 epnyukhthisasnaechnmixiththiphltxphasamak phasamlyalmsmyihm tngaetph s 1968 epntnma epnchwngthiphasamlyalmepnexkethscakphasathmilaelaphasasnskvt sungaebngyxyepnchwngkxnaelahlngkarekhayudkhrxngkhxngxngkvs michchnnarithiekhamaephyaephrsasnakhristidrierimkarphimphinrthekrla aelatxmasasnakhristidnaphasamlyalmipichinthangsasnaaethnphasasieriykh dxkthrina khristmthukaeplepnphasamlyalmaelatiphimphodychawoprtueksemux ph s 2121 sungepnhnngsuxelmaerkthitiphimphinrthekrla karsrangtwphimphxksrmlyalmerimkhunemux ph s 2364 hnngsuxphimphphasamlyalmchbbaerkchux rchya smchrm tiphimphodymichchnnarichaweyxrmnemux ph s 2390 phthnakarkhxngwrrnkhdi exksarthiekhiyndwyxksrmlyalmthiekathisudkhuxcarukwsbpllixayuraw ph s 1373 wrrnkhdiinyukhaerk khxngphasaniidaekephlngyukhkhlassikthieriyknathn pattu ephlngphunbanthiichkhasphthaebbphunban aelamniprwlmthiidrbxiththiphlcakphasasnskvt kwiniphphnthphasamlyalmekidkhunemuxrawphuththstwrrsthi 25sthwithyasra phasamlyalmidyumsraprasm au ഔ aela ai ഐ macakphasasnskvt odyswnihyphbinkhayumcakphasasnskvtiwyakrnokhrngsrangpraoykhkhxngphasamlyalmepnaebbprathan krrm kriya echnediywkbphasaklumdrawiediynxun khunsphthaelakhaaesdngkhwamepnecakhxngnahnakhanam mikarkthangiwyakrn 6 7 kark khakriyaepniptamkal malaaelaepahmay aetimphntambukhkhl ephs hruxcanwn ykewn rupaebbobranhruxinkwiniphnthrabbkarekhiynpayekhiyndwyxksrmlyalmxlkurxanaeplepnphasamlyalm ekhiyndwyxksrxahrb inxditthiphanmamixksrhlaychnidichekhiynphasamlyalmidaek xksrwtetsuthu xksrokelsuthu aelaxksrmlyalm cdxyuinklumxksrkhrnthasungepnrupaebbkhxngxksrphrahmithiaephrhlaythangtxnit aelatxmaidphthnamaepnxksrmlyalmthiichxyuinpccubn xksrmlyalmmi 53 tw aebngepnsra 16 twaelaphyychna 37 tw rupaebbdngedimkhxngkarekhiynthukaethnthidwyrupaebbihmthipradisthkhunin ph s 2524 sungmikarldrupphyychnathiekhymiaetktangknthung 900 aebbcnnxykwa 90 aebb thaihsamarthphimphdwyxmphiwetxraelaekhruxngphimphdidid phasamlyalmekhyekhiyndwyxksrxun echn xksrxahrb xksrsieriykh aelaxksrlatinaetimepnthiniym xksrxahrbphbthimddarxsahaelahmuekaalksthwipsaeniyngaelaxiththiphlcakphaynxkxiththiphlkhxngphasasnskvtphbmakinrupaebbmatrthankhxngphasamlyalmthiichinwrrnkhdi khayumaelaxiththiphlkhxngphasahibruaelaphasasieriykhrwmthngphasaladionphbmakinphasamlyalmkhxngchawyiw swninchumchnchawkhristcaphbxiththiphlkhxngphasaxngkvs phasaoprtueks phasasieriykhaelaphasakrik swnchumchnkhxngchawmuslimcaphbxiththiphlkhxngphasaxahrbaelaphasaepxresiy saeniyngkhxngchawmuslimthiruckkndikhuxsaeniyngmppilathiphudinbriewnmalabarkhxngrthekrla swnsaeniyngxun caphbthangehnuxkhxngrthekrlaxangxing Census of India Website Office of the Registrar General amp Census Commissioner India cakaehlngedimemux 15 August 2018 subkhnemux 26 December 2019 Johnson Todd M Grim Brian J 2013 Chapter 1 Global Religious Populations 1910 2010 PDF 1st ed John Wiley amp Sons Ltd khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 20 October 2013 subkhnemux 2022 01 08 phasamlyalm thi Ethnologue 22nd ed 2019 Statement 1 Abstract of speakers strength of languages and mother tongues 2011 www censusindia gov in Office of the Registrar General amp Census Commissioner India 1 14 phvscikayn 2018 thi ewyaebkaemchchin Ethnologue khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 16 April 2017 Official languages UNESCO khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 28 September 2005 subkhnemux 10 May 2007 Wals info Wals info subkhnemux 2012 02 20 Asher R E and Kumari T C 1997 Malayalam Routledge Pub London http www jaimalayalam com papers socialCaseMalayalam05 pdf Suriyani Malayalam Nasrani Foundation A sacredlanguage is vanishing from State 2008 08 16 thi ewyaebkaemchchin The Hindu Prayer from the Past India Today Gaṅgopadhyaẏa Subrata 2004 Symbol Script and Writing From Petrogram to Printing and Further Sharada Pub House p 158 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 10 05 subkhnemux 2013 12 05 aehlngkhxmulxunwikiphiediy saranukrmesri inphasamalayalm phasamlyalm thiewbist Curlie Malayalam language at Encyclopaedia Britannica Unicode Code Chart for Malayalam PDF Format