ภาษาซีรีแอก (อังกฤษ: Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดในกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13
ภาษาซีรีแอก | |
---|---|
ܠܫܢܐ ܣܘܪܝܝܐ leššānā Suryāyā | |
ออกเสียง | /surˈjɑjɑ/ (ตะวันออก), /surˈjɔjɔ/ (ตะวันตก) |
ประเทศที่มีการพูด | อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน, จอร์เจีย, อิหร่าน, อิรัก, เลบานอน, ปาเลสไตน์, อิสราเอล, ซีเรีย, ตุรกี, รัฐเกราลา, อินเดีย |
จำนวนผู้พูด | 1 500,000 คน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | แอโฟรเอชีแอติก
|
ระบบการเขียน | อักษรซีรีแอก |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | อิรัก (บริเวณที่มีชาวอัสซีเรียเป็นชนส่วนใหญ่) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | syr |
ISO 639-3 | มีหลากหลาย:syr – ภาษาซีรีแอก (ทั่วไป)syc – ภาษาซีรีแอก (คลาสสิก)aii – ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียbhn – ภาษาแอราเมอิกใหม่โบห์ตันcld – ภาษาแอราเมอิกใหม่คัลเดียlhs – ภาษามลาโซkqd – ภาษากอย ซันจัก ซูรัตsyn – ภาษาเซนายาtru – ภาษาตูโรโย |
การจัดจำแนก
ภาษาซีรีแอกเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติก อยู่ในภาษากลุ่มเซมิติก สาขาเซมิติกตะวันตก และจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาแอราเมอิก เขียนด้วยอักษรซีรีแอก
การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์
เริ่มแรกภาษาซีรีแอกเป็นสำเนียงของภาษาแอราเมอิกท้องถิ่น ในเมโสโปเตเมียภาคเหนือ ก่อนที่ภาษาอาหรับจะเข้ามาเป็นภาษหลักในภูมิภาคนี้ ภาษาซีรีแอกเคยเป็นภาษาหลักของชาวคริสต์ในตะวันออกกลาง เอเชียกลางและรัฐเกรละ ปัจจุบันมีผู้ใช้เป็นภาษาแรกในชุมชนเล็ก ๆ ในซีเรีย เลบานอน ตุรกี อิรัก อิหร่าน ปาเลสไตน์ อิสราเอล อาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจาน
ประวัติ
ประวัติของภาษาซีรีแอกแบ่งได้เป็นสามยุคกว้างๆคือ
- เป็นภาษาของ
- Syriac (ܟܬܒܢܝܐ Kṯāḇānāyâ: ภาษาซีรีแอกวรรณคดี) แบ่งได้อีกเป็น
- เป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดีของชาวคริสต์นิกายซีรีแอกและมาโรไนต์
- เป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดีของชาวคริสต์นิกายคัลเดียและอัสซีเรีย
- เป็นภาษาแอราเมอิกตะวันออกสมัยใหม่ แบ่งได้เป็น
- ได้แก่ ภาษาตูโรโย และภาษามลาโซ
- เช่น ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย ภาษาแอราเมอิกใหม่คัลเดีย เป็นต้น
จุดกำเนิด
ภาษาซีรีแอกเริ่มจากเป็นสำเนียงที่ไม่มีการเขียนของภาษาแอราเมอิกโบราณในเมโสโปเตเมียเหนือ หลักฐานอย่างแรกของสำเนียงนี้คืออิทธิพลต่อภาษาแอราเมอิกจักรวรรดิในพุทธศตวรรษที่ 10 หลังจากการรุกรานซีเรียและเมโสโปเตเมียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ภาษาซีรีแอกและภาษาแอราเมอิกสำเนียงอื่นๆกลายเป็นภาษาเขียนเพื่อต่อต้านการทำให้เป็นกรีก ใน พ.ศ. 411 ราชอาณาจักรออสโรเอเนที่พบในเอเดสซาใช้ภาษาซีรีแอกเป็นภาษาราชการ
ภาษาซีรีแอกวรรณคดี
ในพุทธศตวรรษที่ 8 โบสต์คริสต์ในเริ่มใช้ภาษาซีรีแอกในทางศาสนา มีการแปลไบเบิลเป็นภาษาซีรีแอก (ܦܫܝܛܬܐ Pšîṭtâ) และมีการเขียนกวีนิพนธ์ด้วยภาษาซีรีแอกมากมาย ตัวอย่างเช่น Ṭûḇayhôn l'aylên daḏkên b-lebbhôn: d-hennôn neḥzôn l'allāhâ.(ลมหายใจบริสุทธิ์ในหัวใจ สำหรับพวกเขาที่จะได้เห็นพระเจ้า)
ใน พ.ศ. 1032 ชาวคริสต์ที่พูดภาษาซีรีแอกจำนวนมากอพยพจากจักรวรรดิโรมันไปยังเปอร์เซียเพื่อหลีกหนีการกลั่นแกล้งและความเป็นปฏิปักษ์ของชาวคริสต์ที่พูดภาษากรีก การเพิ่มขึ้นของนิกายในเปอร์เซียที่เรียกว่าโดยชาวตะวันตก ทำให้ภาษาซีรีแอกถูกแบ่งเป็นสองส่วนคือสำเนียงตะวันตกและตะวันออกโดยมีความแตกต่างกันทั้งด้านระบบเสียง ระบบการเขียนและคำศัพท์ด้วยบางส่วน
ภาษาซีรีแอกยุคกลางตะวันตกเป็นภาษาราชการของ
ภาษาซีรีแอกยุคกลางตะวันออกเป็นภาษาทางศาสนาของ (รวมด้วย)
ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ภาษาอาหรับเข้ามาเป็นภาษาสำหรับการติดต่อสื่อสารแทนภาษาซีรีแอก การรุกรานของมองโกลในพุทธศตวรรษที่ 18 ทำให้ผู้พูดภาษานี้ลดลงอย่างรวดเร็ว มีการฟื้นฟูภาษาซีรีแอกโดยออกหนังสือพิมพ์เป็นภาษาซีรีแอกวรรณคดี (ܟܬܒܢܝܐ Kthābānāyā) แปลหนังสือจากภาษาอาหรับและภาษาของชาวตะวันตกเป็นภาษาซีรีแอก ส่วนภาษาซีรีแอกในรัฐเกรละถูกแทนที่ด้วยภาษามลยาฬัม
ภาษาซีรีแอกสมัยใหม่
ภาษาซีรีแอกคลาสสิกผสมกับสำเนียงตะวันออกอื่นๆของภาษาแอราเมอิกที่ไม่มีการเขียนซึ่งใช้พูดตลอดภาคเหนือของเมโสโปเตเมีย ภาษาซีรีแอกสมัยใหม่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของภาษาซีรีแอกคลาสสิกและมีความหลากหลายจนทำให้การติดต่อระหว่างผู้พูดภาษาซีรีแอกสมัยใหม่ต่างสำเนียงกันเข้าใจกันได้ยาก
ภาษาหลักของภาษาซีรีแอกตะวันตกสมัยใหม่ได้แก่ภาษาตูโรโยซึ่งเป็นสำเนียงภูเขาของตูร์ อับดินในตุรกีตะวันออก ภาษาที่ใกล้เคียงแต่เป็นอีกภาษาหนึ่งต่างหากและคาดว่าเป็นภาษาตายไปแล้วคือภาษามลาโซ
ภาษาซีรีแอกตะวันออกสมัยใหม่มีลักษณะใกล้เคียงกับสำเนียงยิวของภาษาแอราเมอิกตะวันออก ภาษาในกลุ่มนี้แพร่กระจายจากบริเวณทะเลสาบอูร์เมียในโมซุล มีความหลากหลายมาก ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียและภาษาแอราเมอิกใหม่คัลเดียเป็นภาษาหลักของชาวคริสต์ เนื่องจากความขัดแย้งในบริเวณนี้ในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ทำให้ผู้พูดภาษานี้มีการแพร่กระจายไป ทางใต้ไปซีเรียและอิรัก ทางเหนือไปจอร์เจีย อาร์มีเนียและอาเซอร์ไบจาน รวมทั้งบริเวณอื่นๆของโลก
ไวยากรณ์
คำในภาษาซีรีแอกสร้างจากรากศัพท์พยัญชนะสามตัวเช่นเดียวกับภาษากลุ่มเซมิติกอื่นๆ ตัวอย่างเช่น ܫܩܠ, ŠQL, แสดงความหมายพื้นฐานของการนำไป และสามารถสร้างคำจากรากศัพท์นี้ได้เป็น
- ܫܩܠ — šqal: "เขานำไป (perfect tense) "
- ܢܫܩܘܠ — nešqûl: "เขานำไป (ปัจจุบัน"
- ܫܩܠ — šaqel: "เขาถูกยกขึ้น"
- ܐܫܩܠ — ašqel: "เขาจัดออก"
- ܫܩܠܐ — šqālâ: "การนำไป, ภาระ, พยางค์"
- ܫܩܠܐ — šeqlē: "ภาษี"
- ܫܩܠܘܬܐ — šaqlûṯā: "สัตว์สำหรับบรรทุก"
- ܫܘܩܠ — šûqālâ: "ความจองหอง"
นาม
คำนามส่วนใหญ่มาจากรากศัพท์พยัญชนะสามตัว นามมีสองเพศคือบุรุษและสตรี แบ่งตามจำนวนเป็นเอกพจน์และพหูพจน์ ส่วนน้อยที่เป็นทวิพจน์ สถานะทางไวยากรณ์ของนามมีสามแบบเช่นเดียวกับภาษาอื่นในกลุ่มเดียวกันคือ
- สถานะสัมบูรณ์เป็นรูปแบบพื้นฐานของนาม เช่น — ܫܩܠܝܢ, šeqlîn, "ภาษี".
- สถานะเน้น แสดงนามชี้เฉพาะ แบบเดียวกับนามที่ใช้กบคำนำหน้านาม the ในภาษาอังกฤษ เช่น — ܫܩܠܐ, šeqlē, "ภาษี".
- โครงสร้างผูกประโยค เป็นนามที่สัมพันธ์กับอีกคำนามหนึ่ง เช่น — ܫܩܠܝ, šeqlay, "ภาษีของ.."
ระหว่างพัฒนาการของภาษาซีรีแอกคลาสสิก สถานะเน้นกลายเป็นโครงสร้างทั่วไปของนาม สถานะสัมบูรณ์และสถานะโครงสร้างถูกใช้ในรูปวลีต่างๆ เช่น ܒܪ ܐܢܫܐ, bar nāšâ, "ผู้ชาย", ตรงตัว "ลูกชายของผู้ชาย")
ภาษาซีรีแอกโบราณและยุคคลาสสิกตอนต้น คำนามแสดงความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่สร้างด้วยสถานะโครงสร้าง เช่น ܫܩܠܝ ܡܠܟܘܬܐ, šeqlay malkûṯâ, หมายถึง "ภาษีของราชอาณาจักร" ต่อมาสถานะโครงสร้างถูกแทนที่ด้วยอนุภาคแสดงความสัมพันธ์ ܕ, d- ทำให้วลีเดิมข้างต้นเปลี่ยนเป็น ܫܩܠܐ ܕܡܠܟܘܬܐ, šeqlē d-malkûṯâ, ซึ่งนามทั้งสองคำอยู่ในสถานะเน้น นอกจากนั้น อาจใช้วิธีเติมปัจจัยก่อนประธาน เป็น ܫܩܠܝܗ ܕܡܠܟܘܬܐ, šeqlêh d-malkûṯâ นามทั้งสองคำยังอยู่ในสถานะเน้นเช่นเดิม แต่นามคำแรกมีปัจจัยเพิ่มเข้ามาและถอดความตามตัวอักษรได้เป็น ภาษีของหล่อน, อาณาจักรเหล่านั้น
คำคุณศัพท์
คำคุณศัพท์มีเพศเช่นเดียวกับนามที่ขยาย จะอยู่ในสถานะสัมบูรณ์เมื่อเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ แต่อาจจะเปลี่ยนไปเมื่อแสดงลักษณะไปตามลักษณะของนาม เช่น, ܒܝܫܝܢ ܫܩܠܐ, bîšîn šeqlē, หมายถึง "ภาษีเป็นสิ่งชั่วร้าย", ในขณะที่ ܫܩܠܐ ܒܝܫܐ, šeqlē ḇîšē, หมายถึง "ภาษีชั่วร้าย"
กริยา
ส่วนใหญ่อยุ่ในรูปรากศัพท์พยัญชนะสามตัว คำกริยาแต่ละคำแสดงบุคคล เพศ (ยกเว้นบุรุษที่ 1 ) จำนวน กาลและสันธาน ภาษาซีรีแอกมีสองกาลคือกาลสัมบูรณ์และกาลไม่สัมบูรณ์ ซึ่งเทียบเคียงได้กับอนาคตและอดีต กาลปัจจุบันใช้อนุภาคตามด้วยสรรพนามประธาน คำสันธานรวมอยู่กับคำกริยาเช่นเดียวกับภาษากลุ่มเซมิติกอื่นๆ ซึ่งจะทำให้ความหมายของกริยาเปลี่ยนไป สันธานตัวแรกคือ สถานะพื้นฐานหรือรูปแบบPə`al (แสดงความหมายจริงๆของคำ) สถานะเน้นหรือรูปแบบ Pa``el, แสดงความหมายที่เน้นหนัก สถานะอย่างกว้างหรือรุปแบบ Ap̄`el, แสดงความหมายที่เป็นเหตุผล สถานะเหล่านี้เป็นคู่ขนานกับสันธานถูกกระทำ Eṯpə`el, Eṯpa``al และ Ettap̄`al ตามลำดับนอกจากนี้มีสันธานไม่ปกติ เช่น the Šap̄`el and Eštap̄`al, เพื่อให้ความหมายที่กว้างขึ้น
อ้างอิง
- Beyer, Klaus1986.The Aramaic Language: its distribution and subdivisions.John F. Healey (trans.)GöttingenVandenhoeck und Ruprechtpages=44isbn=3-525-53573-2
- Journal of Sacred Literature, New Series [Series 4] vol. 2 (1863) pp. 75-87, The Syriac Language and Literature
- Beyer, Klaus (1986). The Aramaic language: its distribution and subdivisions. Göttingen: Vandenhoeck und Ruprecht. .
- (2006). An Introduction to Syriac Studies. Piscataway, NJ: Gorgias Press. .
- (1895). Lexicon Syriacum. Berlin: Reuther & Reichard; Edinburgh: T. & T. Clark.
- Healey, John F (1980). First studies in Syriac. University of Birmingham/Sheffield Academic Press. .
- Maclean, Arthur John (2003). Grammar of the dialects of vernacular Syriac: as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan, north-west Persia, and the Plain of Mosul: with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul. Gorgias Press. .
- and Julius Euting (1880) Kurzgefasste syrische Grammatik. Leipzig: T.O. Weigel. [translated to English as Compendious Syriac Grammar, by James A. Crichton. London: Williams & Norgate 1904. 2003 edition: ].
- Payne Smith, Jessie (Ed.) (1903). A compendious Syriac dictionary founded upon the Thesaurus Syriacus of . Oxford University Press, reprinted in 1998 by Eisenbraums. .
- Robinson, Theodore Henry (1915). Paradigms and exercises in Syriac grammar. Oxford University Press. .
- อักษรซีรีแอก
แหล่งข้อมูลอื่น
- Beth Mardutho — The Syriac Institute
- Hugoye: Journal of Syriac Studies
- Payne Smith's Compendious Syriac Dictionary 2008-12-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Bar Hebraeus Verlag (catalogue of Syriac books)[]
- Gorgias Press (catalogue of Syriac books) 2007-09-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Ethnologue report on Syriac
- Learn Assyrian Aramaic — an introduction to the Syriac language in its eastern version
- Suryoyo Online — Online Journal of Syrian Orthodox Church, Syriac Studies and Aramaeans
- Introduction To The Syriac-Aramaic Language — an introduction and resources from a popular Maronite website
- Syriac-English-French Online Dictionary — poor general coverage
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasasiriaexk xngkvs Syriac language siriaexk ܣܘܪܝܝܐ Suryaya epnsaeniyngtawnxxkkhxngphasaaexraemxik ichphudinklumchawkhrist thixyurahwangckrwrrdiormnaelaepxresiy rahwangkhriststwrrsthi 1 12 pccubnyngkhngichinthangsasna odyphuphudphasaaexraemxikihminsieriy aelaichinobsthkhristkhxngchawsieriy inrthekrla praethsxinediy epnphasathangsasnaintawnxxkklanginchwngphuththstwrrsthi 7 13 khwamhmayxyangkwanghmaythungphasaaexraemxiktawnxxkthnghmdthiichinhmuchawkhrist khwamhmayxyangcaephaaecaacnghmaythungphasakhlassikkhxngxiedssa sungepnphasathangsasnakhxngchawsiriaexkthinbthuxsasnakhrist aelaklayepnsuxinkarephyaephrwthnthrrmaelasasnakhristcakthangehnuxipsumalabar aelacakthangtawnxxkipthungcinekhyichepnphasaklangrahwangchawxahrbkbchawepxresiykxncathukaethnthidwyphasaxahrbemux phuththstwrrsthi 13phasasiriaexkܠܫܢܐ ܣܘܪܝܝܐ lessana Suryayaxxkesiyng surˈjɑjɑ tawnxxk surˈjɔjɔ tawntk praethsthimikarphudxarmieniy xaesxribcan cxreciy xihran xirk elbanxn paelsitn xisraexl sieriy turki rthekrala xinediycanwnphuphud1 500 000 khn imphbwnthi trakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitiktawntkphasaklumesmitikklangphasaklumesmitiktawntkechiyngehnuxphasaaexraemxikphasaaexraemxiktawnxxkphasasiriaexkrabbkarekhiynxksrsiriaexksthanphaphthangkarphasathangkar xirk briewnthimichawxssieriyepnchnswnihy rhsphasaISO 639 2syrISO 639 3mihlakhlay a href https iso639 3 sil org code syr class extiw title iso639 3 syr syr a phasasiriaexk thwip a href https iso639 3 sil org code syc class extiw title iso639 3 syc syc a phasasiriaexk khlassik a href https iso639 3 sil org code aii class extiw title iso639 3 aii aii a phasaaexraemxikihmxssieriy a href https iso639 3 sil org code bhn class extiw title iso639 3 bhn bhn a phasaaexraemxikihmobhtn a href https iso639 3 sil org code cld class extiw title iso639 3 cld cld a phasaaexraemxikihmkhlediy a href https iso639 3 sil org code lhs class extiw title iso639 3 lhs lhs a phasamlaos a href https iso639 3 sil org code kqd class extiw title iso639 3 kqd kqd a phasakxy snck surt a href https iso639 3 sil org code syn class extiw title iso639 3 syn syn a phasaesnaya a href https iso639 3 sil org code tru class extiw title iso639 3 tru tru a phasatuoroyexksarphasasiriaexkxayurawphuththstwrrsthi 16karcdcaaenkphasasiriaexkepnsmachikkhxngtrakulphasaaexfofr exechiytik xyuinphasaklumesmitik sakhaesmitiktawntk aelacdxyuinklumkhxngphasaaexraemxik ekhiyndwyxksrsiriaexkkaraephrkracaythangphumisastrerimaerkphasasiriaexkepnsaeniyngkhxngphasaaexraemxikthxngthin inemosopetemiyphakhehnux kxnthiphasaxahrbcaekhamaepnphashlkinphumiphakhni phasasiriaexkekhyepnphasahlkkhxngchawkhristintawnxxkklang exechiyklangaelarthekrla pccubnmiphuichepnphasaaerkinchumchnelk insieriy elbanxn turki xirk xihran paelsitn xisraexl xarmieniy cxreciy aelaxaesxribcanprawtiprawtikhxngphasasiriaexkaebngidepnsamyukhkwangkhux epnphasakhxng Syriac ܟܬܒܢܝܐ Kṯaḇanaya phasasiriaexkwrrnkhdi aebngidxikepn epnphasathangsasnaaelawrrnkhdikhxngchawkhristnikaysiriaexkaelamaorint epnphasathangsasnaaelawrrnkhdikhxngchawkhristnikaykhlediyaelaxssieriy epnphasaaexraemxiktawnxxksmyihm aebngidepn idaek phasatuoroy aelaphasamlaos echn phasaaexraemxikihmxssieriy phasaaexraemxikihmkhlediy epntncudkaenid phasasiriaexkerimcakepnsaeniyngthiimmikarekhiynkhxngphasaaexraemxikobraninemosopetemiyehnux hlkthanxyangaerkkhxngsaeniyngnikhuxxiththiphltxphasaaexraemxikckrwrrdiinphuththstwrrsthi 10 hlngcakkarrukransieriyaelaemosopetemiykhxngphraecaxelksanedxrmharach phasasiriaexkaelaphasaaexraemxiksaeniyngxunklayepnphasaekhiynephuxtxtankarthaihepnkrik in ph s 411 rachxanackrxxsorexenthiphbinexedssaichphasasiriaexkepnphasarachkar phasasiriaexkwrrnkhdi inphuththstwrrsthi 8 obstkhristinerimichphasasiriaexkinthangsasna mikaraeplibebilepnphasasiriaexk ܦܫܝܛܬܐ Psiṭta aelamikarekhiynkwiniphnthdwyphasasiriaexkmakmay twxyangechn Ṭuḇayhon l aylen daḏken b lebbhon d hennon neḥzon l allaha lmhayicbrisuththiinhwic sahrbphwkekhathicaidehnphraeca in ph s 1032 chawkhristthiphudphasasiriaexkcanwnmakxphyphcakckrwrrdiormnipyngepxresiyephuxhlikhnikarklnaeklngaelakhwamepnptipkskhxngchawkhristthiphudphasakrik karephimkhunkhxngnikayinepxresiythieriykwaodychawtawntk thaihphasasiriaexkthukaebngepnsxngswnkhuxsaeniyngtawntkaelatawnxxkodymikhwamaetktangknthngdanrabbesiyng rabbkarekhiynaelakhasphthdwybangswn phasasiriaexkyukhklangtawntkepnphasarachkarkhxng phasasiriaexkyukhklangtawnxxkepnphasathangsasnakhxng rwmdwy Abun d ḇasmaya source source bthswdkhaaetphrabida Abun d ḇasmaya rxngepnphasasiriaexk hakmipyhainkarelniflni duthiwithiichsux tngaetphuththstwrrsthi 12 epntnma phasaxahrbekhamaepnphasasahrbkartidtxsuxsaraethnphasasiriaexk karrukrankhxngmxngoklinphuththstwrrsthi 18 thaihphuphudphasanildlngxyangrwderw mikarfunfuphasasiriaexkodyxxkhnngsuxphimphepnphasasiriaexkwrrnkhdi ܟܬܒܢܝܐ Kthabanaya aeplhnngsuxcakphasaxahrbaelaphasakhxngchawtawntkepnphasasiriaexk swnphasasiriaexkinrthekrlathukaethnthidwyphasamlyalm phasasiriaexksmyihm phasasiriaexkkhlassikphsmkbsaeniyngtawnxxkxunkhxngphasaaexraemxikthiimmikarekhiynsungichphudtlxdphakhehnuxkhxngemosopetemiy phasasiriaexksmyihmepnephiyngswnhnungkhxngphasasiriaexkkhlassikaelamikhwamhlakhlaycnthaihkartidtxrahwangphuphudphasasiriaexksmyihmtangsaeniyngknekhaicknidyak phasahlkkhxngphasasiriaexktawntksmyihmidaekphasatuoroysungepnsaeniyngphuekhakhxngtur xbdininturkitawnxxk phasathiiklekhiyngaetepnxikphasahnungtanghakaelakhadwaepnphasatayipaelwkhuxphasamlaos phasasiriaexktawnxxksmyihmmilksnaiklekhiyngkbsaeniyngyiwkhxngphasaaexraemxiktawnxxk phasainklumniaephrkracaycakbriewnthaelsabxuremiyinomsul mikhwamhlakhlaymak phasaaexraemxikihmxssieriyaelaphasaaexraemxikihmkhlediyepnphasahlkkhxngchawkhrist enuxngcakkhwamkhdaeynginbriewnniinchwng 200 pithiphanma thaihphuphudphasanimikaraephrkracayip thangitipsieriyaelaxirk thangehnuxipcxreciy xarmieniyaelaxaesxribcan rwmthngbriewnxunkhxngolkiwyakrnkhainphasasiriaexksrangcakraksphthphyychnasamtwechnediywkbphasaklumesmitikxun twxyangechn ܫܩܠ SQL aesdngkhwamhmayphunthankhxngkarnaip aelasamarthsrangkhacakraksphthniidepn ܫܩܠ sqal ekhanaip perfect tense ܢܫܩܘܠ nesqul ekhanaip pccubn ܫܩܠ saqel ekhathukykkhun ܐܫܩܠ asqel ekhacdxxk ܫܩܠܐ sqala karnaip phara phyangkh ܫܩܠܐ seqle phasi ܫܩܠܘܬܐ saqluṯa stwsahrbbrrthuk ܫܘܩܠ suqala khwamcxnghxng nam khanamswnihymacakraksphthphyychnasamtw nammisxngephskhuxburusaelastri aebngtamcanwnepnexkphcnaelaphhuphcn swnnxythiepnthwiphcn sthanathangiwyakrnkhxngnammisamaebbechnediywkbphasaxuninklumediywknkhux sthanasmburnepnrupaebbphunthankhxngnam echn ܫܩܠܝܢ seqlin phasi sthanaenn aesdngnamchiechphaa aebbediywkbnamthiichkbkhanahnanam the inphasaxngkvs echn ܫܩܠܐ seqle phasi okhrngsrangphukpraoykh epnnamthismphnthkbxikkhanamhnung echn ܫܩܠܝ seqlay phasikhxng rahwangphthnakarkhxngphasasiriaexkkhlassik sthanaennklayepnokhrngsrangthwipkhxngnam sthanasmburnaelasthanaokhrngsrangthukichinrupwlitang echn ܒܪ ܐܢܫܐ bar nasa phuchay trngtw lukchaykhxngphuchay phasasiriaexkobranaelayukhkhlassiktxntn khanamaesdngkhwamepnecakhxngswnihysrangdwysthanaokhrngsrang echn ܫܩܠܝ ܡܠܟܘܬܐ seqlay malkuṯa hmaythung phasikhxngrachxanackr txmasthanaokhrngsrangthukaethnthidwyxnuphakhaesdngkhwamsmphnth ܕ d thaihwliedimkhangtnepliynepn ܫܩܠܐ ܕܡܠܟܘܬܐ seqle d malkuṯa sungnamthngsxngkhaxyuinsthanaenn nxkcaknn xacichwithietimpccykxnprathan epn ܫܩܠܝܗ ܕܡܠܟܘܬܐ seqleh d malkuṯa namthngsxngkhayngxyuinsthanaennechnedim aetnamkhaaerkmipccyephimekhamaaelathxdkhwamtamtwxksridepn phasikhxnghlxn xanackrehlann khakhunsphth khakhunsphthmiephsechnediywkbnamthikhyay caxyuinsthanasmburnemuxepnsingthiyunynid aetxaccaepliynipemuxaesdnglksnaiptamlksnakhxngnam echn ܒܝܫܝܢ ܫܩܠܐ bisin seqle hmaythung phasiepnsingchwray inkhnathi ܫܩܠܐ ܒܝܫܐ seqle ḇise hmaythung phasichwray kriya swnihyxyuinrupraksphthphyychnasamtw khakriyaaetlakhaaesdngbukhkhl ephs ykewnburusthi 1 canwn kalaelasnthan phasasiriaexkmisxngkalkhuxkalsmburnaelakalimsmburn sungethiybekhiyngidkbxnakhtaelaxdit kalpccubnichxnuphakhtamdwysrrphnamprathan khasnthanrwmxyukbkhakriyaechnediywkbphasaklumesmitikxun sungcathaihkhwamhmaykhxngkriyaepliynip snthantwaerkkhux sthanaphunthanhruxrupaebbPe al aesdngkhwamhmaycringkhxngkha sthanaennhruxrupaebb Pa el aesdngkhwamhmaythiennhnk sthanaxyangkwanghruxrupaebb Ap el aesdngkhwamhmaythiepnehtuphl sthanaehlaniepnkhukhnankbsnthanthukkratha Eṯpe el Eṯpa al aela Ettap al tamladbnxkcaknimisnthanimpkti echn the Sap el and Estap al ephuxihkhwamhmaythikwangkhunxangxingBeyer Klaus1986 The Aramaic Language its distribution and subdivisions John F Healey trans GottingenVandenhoeck und Ruprechtpages 44isbn 3 525 53573 2 Journal of Sacred Literature New Series Series 4 vol 2 1863 pp 75 87 The Syriac Language and Literature Beyer Klaus 1986 The Aramaic language its distribution and subdivisions Gottingen Vandenhoeck und Ruprecht ISBN 3 525 53573 2 2006 An Introduction to Syriac Studies Piscataway NJ Gorgias Press ISBN 1 59333 349 8 1895 Lexicon Syriacum Berlin Reuther amp Reichard Edinburgh T amp T Clark Healey John F 1980 First studies in Syriac University of Birmingham Sheffield Academic Press ISBN 0 7044 0390 0 Maclean Arthur John 2003 Grammar of the dialects of vernacular Syriac as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan north west Persia and the Plain of Mosul with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul Gorgias Press ISBN 1 59333 018 9 and Julius Euting 1880 Kurzgefasste syrische Grammatik Leipzig T O Weigel translated to English as Compendious Syriac Grammar by James A Crichton London Williams amp Norgate 1904 2003 edition ISBN 1 57506 050 7 Payne Smith Jessie Ed 1903 A compendious Syriac dictionary founded upon the Thesaurus Syriacus of Oxford University Press reprinted in 1998 by Eisenbraums ISBN 1 57506 032 9 Robinson Theodore Henry 1915 Paradigms and exercises in Syriac grammar Oxford University Press ISBN 0 19 926129 6 xksrsiriaexkaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phasasiriaexk Beth Mardutho The Syriac Institute Hugoye Journal of Syriac Studies Payne Smith s Compendious Syriac Dictionary 2008 12 08 thi ewyaebkaemchchin Bar Hebraeus Verlag catalogue of Syriac books lingkesiy Gorgias Press catalogue of Syriac books 2007 09 10 thi ewyaebkaemchchin Ethnologue report on Syriac Learn Assyrian Aramaic an introduction to the Syriac language in its eastern version Suryoyo Online Online Journal of Syrian Orthodox Church Syriac Studies and Aramaeans Introduction To The Syriac Aramaic Language an introduction and resources from a popular Maronite website Syriac English French Online Dictionary poor general coverage