ศาสนาพุทธแบบทิเบต (อังกฤษ: Tibetan Buddhism) คือศาสนาพุทธแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ
ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางศาสนาพุทธมาก ศาสนาพุทธแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างศาสนาพุทธนิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธนิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
ลักษณะเฉพาะ
พุทธศาสนาแบบทิเบตจะมีการศึกษาแบ่งเป็น 3 ระดับ คือระดับต้นจะศึกษาเถรวาท ระดับกลางศึกษามหายาน และระดับสูงศึกษาวัชรยานและมนตรยาน ภิกษุถือปาติโมกข์ตามนิกายมูลสรวาสติวาท มีสิกขาบท 253 ข้อ มีความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าต่างจากนิกายเถรวาทคือ นับถือพระธยานิพุทธะ 5 พระองค์ ได้แก่ พระไวโรจนพุทธะ พระอักโษภยพุทธะ พระอมิตาภพุทธะ พระอโมฆสิทธิพุทธะ และพระรัตนสัมภวพุทธะ นอกจากนี้ยังนับถือพระโพธิสัตว์อีกหลายพระองค์ เช่น พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์และพระชายาคือพระนางตารา พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ และพระวัชรปาณีโพธิสัตว์ เป็นต้น
ลักษณะเด่นอื่น ๆ ของพุทธศาสนาแบบทิเบตได้แก่ ลามะ ตรรกวิภาษ และการปฏิบัติแบบตันตระ
ลามะ
คำว่าลามะหมายถึงอาจารย์ ในการปฏิบัติธรรมในทิเบต ให้ความสำคัญกับอาจารย์มาก โดยความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับศิษย์มีผลต่อความสำเร็จของศิษย์ในการปฏิบัติตามสายตันตระ โดยถือว่าลามะเป็นตัวแทนของพระพุทธองค์ โดยเมื่อกล่าวสรณคมน์ ศิษย์จะระลึกถึงลามะเป็นที่พึ่งด้วย
วิภาษวิธี
เป็นการโต้วาทีทางธรรมโดยใช้หลักตรรกะ เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักธรรมในพุทธศาสนาดีขึ้น ขจัดความเห็นผิด วิธีการของตรรกวิภาษจะประกอบด้วยผู้ถามและผู้ตอบ ก่อนเริ่มต้นทั้ง 2 ฝ่ายจะสวดมนต์บูชาพระมัญชุศรีโพธิสัตว์ ที่ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งปัญญาจากนั้นจึงเริ่มถามตอบ
การปฏิบัติแบบตันตระ
บทความหลัก: พุทธศาสนาลัทธิตันตระ
เป็นการฝึกจิตเพื่อให้จิตอยู่ในสภาวะประภัสสร เพื่อเข้าถึงสุญตาการปฏิบัติตามแบบตันตระแบ่งเป็น 4 ขั้น คือ
- กริยาตันตระ ให้ความสำคัญกับท่ามุทราต่าง ๆ และการท่องมนต์
- จรรยาตันตระ ให้ความสำคัญกับท่าทางไปพร้อม ๆ กับการฝึกจิต เน้นการทำสมาธิ เข้าเงียบ
- โยคะตันตระ เน้นการฝึกภายในมากกว่าท่าทางภายนอก
- อนุตรโยคะตันตระ เน้นการฝึกจิตภายในอย่างเดียว เพื่อเข้าถึงรากฐานของจิตประภัสสร โดยขับพลังหยาบของจิตออกไป ซึ่งจะทำให้เข้าถึงสุญญตาในที่สุด
ประวัติ
ยุคเริ่มต้น
ใน พ.ศ. 976 (ทิเบต: ལྷ་ཐོ་ཐོ་རི་གཉན་བཙན་, ไวลี: lha tho tho ri gnyan btsan, พินอินทิเบต: lhato tori nyänzän) เป็นกษัตริย์ทิเบตองค์แรกที่นับถือพระพุทธศาสนา ได้รับเครื่องบรรณาการจากตัวแทนชาวอินเดีย โดยนำคัมภีร์พระพุทธศาสนา และพระพุทธรูปเข้ามาในทิเบต ถือว่าเป็นครั้งแรกที่คนทิเบตได้รู้จักกับพระพุทธศาสนา แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก เพราะชาวทิเบตยังนับถือลัทธิบอนซึ่งมีความเชื่อเรื่องภูติผีปีศาจอยู่มาก ชาวทิเบตเป็นชนชาติที่ชอบสงคราม ไม่มีอารยธรรมชั้นสูงเหมือนชนชาวเขาทั่วไป แต่ด้วยอิทธิพลของพุทธศาสนาจึงทำให้ทิเบตกลายเป็นผู้ใฝ่สันติสุข และเป็นชาวเขาที่มีอารยธรรมสูงส่งจนถึงมีอักขระพิเศษเพื่อพระศาสนา โดยนำแบบอย่างมาจากอักษรอินเดีย จากนั้นมาพระพุทธศาสนาจากอินเดียก็เข้าถึงทิเบตครั้งแรกเมื่อราว และประดิษฐานมั่นคงใน
ยุคประวัติศาสตร์
ใน พ.ศ. 1173 ถือว่าเป็นยุคประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของทิเบต พระเจ้าซงแจ็นกัมโป สนับสนุนให้มีการศึกษาพุทธศาสนาจากคัมภีร์ที่นำเข้ามาตั้งแต่ยุคต้น (พ.ศ. 976) พร้อมดำเนินการปฏิรูปศรัทธาทิเบต ต่อมาประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ โดยการสนับสนุนของพระมเหสี 2 พระองค์ คือพระนางเหวินเฉิง พระธิดาของจักรพรรดิถังไท่จงแห่งจีน และพระนางภริคุติเทวี พระธิดาของพระเจ้าอัมสุวารมาแห่งเนปาล ทั้งสองพระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนามหายานอย่างเคร่งครัด จึงได้นำพระพุทธรูปมาด้วยทั้งสองพระองค์ คือเจ้าหญิงเหวินเฉิง นำพระพุทธรูปชื่อโจโว มาประดิษฐานที่วัดซิลลากัง ในกรุงลาซา และเจ้าหญิงภริคุติเทวีได้นำพระพุทธรูปศากยมุนีที่สำคัญมาประดิษฐานที่วัดราโมเช ซึ่งเป็นวัดหลวง และมีความสำคัญรองเป็นอันดับสองในกรุงลาซา ช่วงนี้ได้มีชาวทิเบตเชื้อพระวงศ์ และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ไปศึกษาในจีน และพระภิกษุชาวจีนก็มาศึกษาในทิเบตเพื่อแปลพระคัมภีร์และพระสูตรจำนวนมาก
ในยุคนี้พระเจ้าซงแจ็นกัมโปได้ทรงส่งทูตชื่อ เทินมี สัมโภฏะ ไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยนาลันทา แล้วกลับทิเบต ท่านได้เริ่มงานประดิษฐ์อักษร และเขียนไวยากรณ์สอนชาวทิเบต โดยใช้อักษรพราหมี ที่นิยมใช้กันในกัศมีร์ (แคชเมียร์) และดำเนินงานเผยแผ่พุทธศาสนาทำให้ประชาชนเลื่อมใส นับว่าพุทธศาสนามีบทบาทสำคัญในการทำให้ชาวทิเบตมีวัฒนธรรมด้านภาษา แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย เพราะได้รับความต้านทานจากความเชื่อเดิม การที่ภาษาทิเบตที่มีรากฐานมาจากอินเดียทำให้รักษาความหมายในการแปลคัมภีร์พุทธศาสนาสันสกฤตเป็นทิเบตได้ดี หากต้นฉบับสันสกฤตสูญหาย ก็ใช้ต้นฉบับของทิเบตเทียบเคียงของเดิมได้ดีที่สุด
คุรุรินโปเชเผยแผ่หลักธรรม
ใน พ.ศ. 1298 - 1340 กษัตริย์องค์ที่ 5 นับจากพระเจ้าซงแจ็นกัมโปได้ไปอาราธนา ที่เคยศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยนาลันทามาเผยแผ่หลักคำสอนอันบริสุทธิ์ แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากท่านสอนแต่หลักธรรม แต่ไม่สอนเวทมนตร์คาถา แต่ชาวทิเบต มีความเชื่อเรื่องอำนาจภูติผีของลัทธิบอน และขณะนั้นเกิดโรคระบาด และภัยธรรมชาติ ทำให้ประชาชนเชื่อว่าท่านนำเหตุการณ์นี้มาด้วย
พระศานตรักษิตได้กลับไปอินเดีย แล้วอาราธนาพระปัทมสัมภวะ พระราชโอรสของพระเจ้าอินทรภูมิ แห่งแคว้นอุทยานซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศอัฟกานิสถาน ให้ไปเผยแผ่พุทธศาสนาลัทธิตันตระซึ่งถูกกับอัธยาศัยของประชาชน ท่านมีความชำนาญในเรื่องไสยศาสตร์สามารถปราบปีศาจ และทำให้ภูติผีปีศาจกลับมาสนับสนุนปกป้องพระพุทธศาสนาด้วย เหตุการณ์จึงสงบประชาชนฝ่ายข้าราชการ และฝ่ายราชสำนักก็ยอมรับนับถือท่านว่าเป็น คุรุรินโปเช คือพระอาจารย์ใหญ่ของพวกเขา ท่านปัทมสัมภวะได้สร้างวัดในพุทธศาสนาแห่งแรกของทิเบตในนาม ตามความเชื่อของอินเดียที่มีเขาพระสุเมรุอยู่ตรงกลาง มีอารามอยู่ 4 ทิศ และมีอารามด้านนอกอีกแปดทิศ เป็นสัญลักษณ์ของทีปในจักรวาล มีอีกวัดทางตะวันออก และตะวันตกเฉียงเหนือเป็นสัญลักษณ์พระจันทร์ และพระอาทิตย์ ในวัดนี้มีห้องสมุด ห้องนั่งสมาธิโดยอาจารย์สอนสมาธิจากจีน
พุทธศาสนาลัทธิตันตระ เจริญรุ่งเรืองเรื่อยมาจนถึง มีชื่อกำหนดแยกจำเพาะออกไปว่านิกายญิงมา ต่อมาพระศานตรักษิต ได้กลับทิเบตเพื่อปฏิบัติศาสนกิจอีกครั้งจนมรณภาพที่นั่น ท่านได้แปลพระคัมภีร์ และเป็นอุปัชฌาย์บวชให้แก่ชายหนุ่มทิเบต 5 คน เพื่อวางรากฐานการบวชสายทิเบต ตามพระราชดำริขอพระเจ้าตริสองเดซัน อุปสมบทกรรมที่นั่นมีพระนิกายร่วมด้วย 12 รูป พระภิกษุ 5 รูป ที่ได้รับการอุปสมบทนั้นได้เผยแผ่หลักธรรมประสบความสำเร็จอย่างยิ่ง เนื่องจากว่าอุปัชฌาย์ คือท่านศานตรักษิตเป็นอนุรักษนิยม และมีพระนิกายสรวาทที่มีหลักธรรมเหมือนกับเถรวาทมากที่สุดในบรรดาที่ใช้คัมภีร์ภาษาสันสกฤต จึงทำให้มีปัญญาชนที่สนใจหลักคำสอนอันบริสุทธิ์ไม่เจือไสยศาสตร์เข้ามาบวชถึง 300 คน
การร่ายรำชุดดำ
พุทธศาสนาในยุคนี้ได้รับการอุปถัมภ์จากกษัตริย์ทิเบตเป็นอย่างดี บางองค์เป็นนักปราชญ์รอบรู้พุทธธรรมลึกซึ้ง คือ พระเจ้าเสนาเล ซึ่งทรงสละราชสมบัติออกผนวชเป็นภิกษุ ใน พ.ศ. 1357 ได้มีการทำพจนานุกรมภาษาสันสกฤต-ทิเบต และในรัชสมัยของพระเจ้าราลปาเชน (พ.ศ. 1359) มีการเขียนประวัติศาสตร์ทิเบตเป็นฉบับแรก กษัตริย์พระองค์นี้มีพระราชศรัทธาอย่างแรงกล้าถึงกับสยายพระเกศารองเป็นอาสนะให้พระสงฆ์นั่งล้อมแสดงธรรมถวายพระองค์ พระสงฆ์ได้รับสิทธิพิเศษเป็นราชครู มีพระรูปหนึ่งมีผู้ถวายอาหารเจ็ดครอบครัว มีการลงโทษผู้ที่ไม่เคารพพระสงฆ์ สุดท้ายมีการลอบปลงพระชนม์ เนื่องจากพระองค์ทรงแต่งตั้งชาวพุทธให้ดำรงตำแหน่งทางการบริหาร หรือสนับสนุนพุทธศาสนาเกินไป จากนั้น พระเจ้าลางทรมาที่ทรงถือลัทธิบอนก็ครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งตนเป็นปรปักษ์ต่อพุทธศาสนาอยู่หลายปี ได้ทำลายวัดวาอารามที่สำคัญสองแห่งในนครลาซา กำจัดพระสงฆ์โดยให้ลาสิกขา ต่อมามีพระสงฆ์แต่งตัวด้วยชุดดำ ทาม้าสีดำ สวมหมวกสีดำเข้ามาปะปนกับประชาชน ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าลางทรมาสำเร็จ เป็นที่มาของฉากร่ายรำของพระทิเบตเรียกว่า การร่ายรำชุดหมวกดำ ถือว่าสิ้นสุดการทำลายล้างพุทธศาสนา คราวนี้พระสงฆ์ที่หนีภัยกลับทิเบตมีอำนาจเข้มแข็งกว่าเดิม
พระทีปังกรศรีชญาณ (อตีศะ)
ใน พ.ศ. 1600 ถือว่าเป็นยุคที่พระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าสู่ทิเบตโดยตรง ประดิษฐานมั่นคง เป็นศาสนาประจำชาติครั้งใหญ่สุดท้าย และมีนิกายแตกแยกออกไปมาก โดยมีพระทีปังกรศรีชญาณ หรือ จากในแคว้นพิหาร ได้เข้ามาเผยแผ่พุทธศาสนาในทิเบต ชาวทิเบตจึงนับถือพระอตีศะรองจากพระปัทมสัมภวะ โดยมีชื่อเรียกว่า "โจโวเจ" ซึ่งมีความหมายว่า ท่านอาจารย์ที่เคารพ คำสอนของท่านเป็นแบบโยคาจารที่ผสมผสานกันระหว่างมหายาน และหินยาน บังคับให้พระสงฆ์ถือพรหมจรรย์ และไม่สนับสนุนไสยศาสตร์
กำเนิดนิกายเกลุก
หลังจากนั้นปลายยุคนี้ ท่านสองขะปะ (พ.ศ. 1918) ซึ่งเป็นนักปฏิรูปผู้ยิ่งใหญ่ของทิเบต ได้อาศัยหลักคำสอนนี้แล้วตั้งนิกาย "นิกายเกลุก หรือเกลุกปะ หรือหมวกเหลือง" ขึ้น นิกายนี้องค์ดาไลลามะปัจจุบันสังกัดอยู่ และมีอิทธิพลในภาคกลางของทิเบต ท่านได้ชำระหลักพุทธธรรมให้บริสุทธิ์จากลัทธิพิธีต่าง ๆ มีการรวบรวมคัมภีร์ที่ได้แปลแล้วนั้นออกเป็น 2 หมวด คือ พุทธพจน์ 100 เล่ม และอรรถกถา 225 เล่ม คัมภีร์เหล่านี้เรียกว่าพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์พระพุทธศาสนาฉบับทิเบต ซึ่งตกทอดมาถึงปัจจุบัน
ยุคมองโกล
ใน พ.ศ. 2089 - 2130 มีกษัตริย์มองโกลนามว่า ได้พบกับประมุขสงฆ์ของนิกายเกลุกที่ชื่อว่า แล้วเลื่อมใส เนื่องจากท่านสืบเชื้อสายมาจากนิกายสักยะ และพักโมดรุ ซึ่งเป็นตระกูลที่มีอิทธิพลในทิเบต มีการดัดแปลงวัดที่นิกายอื่นอ่อนแอในการปกครอง และทิ้งให้ร้างให้เป็นวัดนิกายเกลุก (หมวกเหลือง) นิกายนี้เรียบง่าย เคร่งครัดในพระธรรมวินัย ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ชาวบ้านจึงนิยมมาก อีกอย่างหนึ่งกษัตริย์มองโกลทรงเชื่อว่าประมุขสงฆ์นี้เคยเป็นอาจารย์ของพระองค์ในชาติก่อน เมื่อพระองค์เสวยพระชาติเป็นกุบไลข่าน จึงถวายตำแหน่ง "ทะเล" แต่ทิเบตออกเสียงเป็น "ทะไล" (Dalai) ในความหมายของไทยก็คือทะเลเช่นกัน (คำว่าทะไลลามะ "ทะไล" เป็นภาษามองโกลแปลว่า ทะเล หรือ กว้างใหญ่ "ลามะ" หมายถึง พระหรือคฤหัสถ์ที่มีความรู้ความชำนาญ แต่ชาวทิเบตนิยมใช้คำว่า "คยาวา ริมโปเช" คือ ชัยรัตนะ) นับว่าเป็นต้นกำเนิดทะไลลามะครั้งแรก และท่านสอดนัมวังยาโสก็ได้ถวายตำแหน่ง "ธรรมราชาทรงความบริสุทธิ์" แก่อัลตันข่านเป็นการตอบแทน ท่านสอดนัมวังยาโสถือว่าตนเองเป็นทะไลลามะองค์ที่ 3 เพราะท่านได้ถวายตำแหน่งย้อนขึ้นไปแก่อวตารในสองชาติแรกของท่านด้วย ในขณะที่ท่านมีพระชนม์ชีพท่านได้สร้างวัดพระพุทธรูปหนึ่งพันองค์ ได้เผยแผ่พระศาสนาสู่มองโกเลีย และทิเบตตะวันออกซึ่งเคยเป็นดินแดนอิทธิพลของลัทธิบอน จนท่านได้ตำแหน่งพิเศษจากราชวงศ์หมิงของจีน ถึงยุคทะไลลามะองค์ที่ 4 นิกายหมวกเหลืองก็ยังเจริญรุ่งเรืองเพราะมีทหารมองโกลหนุนหลังอยู่
ยุคทะไลลามะครองอำนาจ
ในยุคของ ทะไลลามะองค์ที่ 5 (พ.ศ. 2158 - 2223) ชาวมองโกลในทิเบตไม่มีเอกภาพ ทำให้เจ้าเมืองซังอัน ซึ่งเป็นแคว้นหนึ่งของทิเบตชิงบัลลังก์ลาซาไปได้ ทะไลลามะองค์นี้ซึ่งมีมองโกลสนับสนุน จึงขอความช่วยเหลือไปยัง กุชรีข่าน ผู้นำมองโกลให้มายึดอำนาจคืนสำเร็จ และมอบอำนาจการปกครองทิเบตทั้งหมด คือฝ่ายอาณาจักร และศาสนจักรให้แก่ทะไลลามะ และเป็นครั้งแรกที่ทะไลลามะได้อำนาจสูงสุดทั้งหมด จากนั้นท่านก็ได้ย้ายที่ประทับที่พระราชวังโปตาลา นครลาซา ชาวทิเบตมีความเชื่อว่าทะไลลามะเป็นอวตารของพระอวโลกิเตศวรพระโพธิสัตว์ผู้กรุณา และเชื่อว่าปันเชนลามะ ผู้มีอำนาจรองจากทะไลลามะเป็นอวตารของพระอมิตาภะ แต่ทะไลลามะนั่งสมาธิแบบเนียงมา พลอยทำให้นิกายเนียงมาเจริญไปด้วย แต่นิกายโจนังหลังจากท่านตารนาถ ซึ่งเป็นนักประวัติศาสตร์มีชื่อเสียงแล้วถูกยึดวัดทั้งหมด ถือว่านิกายเกลุกพัฒนารุ่งเรืองตามคำสอนของพระนาคารชุนะ เป็นต้น แม้ลัทธิบอนก็ยังนำไปพัฒนาตนเองของตนเอง จนทะไลลามะสวรรคต ชาวทิเบตจึงถวายพระนามว่า "มหาปัญจะ" เพื่อแสดงความยิ่งใหญ่ของพระองค์ แม้พระองค์จะเสด็จสวรรคตแล้วยังมีผู้อ้างว่าทะไลลามะเสด็จเข้าสมาธิระยะยาว แล้วสำเร็จราชการแทนพระองค์ โดยปิดข่าวการสวรรคตนานถึง 13 ปี เพื่องานฟื้นฟูวังโปตาลาต่อไป จากนั้นมีการแต่งตั้งทะไลลามะองค์ที่ 6 แต่พระองค์โปรดการแต่งกวี และสนใจผู้หญิง ไม่สนใจบริหารประเทศ จึงถูกเนรเทศไปจีนแต่สิ้นพระชนม์ระหว่างทาง
จีนคอมมิวนิสต์ยึดทิเบต
จนถึง พ.ศ. 2351 - 2401 ได้ขึ้นเป็นทะไลลามะองค์ที่ 7 โดยการสนับสนุนของราชวงศ์ชิงของจีน ซึ่งจีนเคยมีบทบาทต่อตำแหน่งปันเชนลามะ หรือ บัณฑิตเซ็นโป แปลว่านักวิชาการใหญ่ จากนั้นมีสงครามกลางเมือง ฝ่ายทะไลลามะแพ้ต้องหนีภัยจากเมือง ทำให้นิกายเกลุกอับอายครั้งแรกในประวัติศาสตร์ จากนั้นมามีผู้สำเร็จราชการเป็นลามะเกลุก มีรัฐมนตรีเป็นลามะและฆราวาสด้วย ทะไลลามะอีก 4 พระองค์ต่อมาก็มีพระชนม์สั้นทั้งหมด บางองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์ จนถึง องค์ทะไลลามะองค์ที่ 13 เข้ามาบริหารประเทศ ทรงหลีกเลี่ยงติดต่อกับอังกฤษ โดยอาศัยจีนติดต่อกับรัสเซีย จนมีความผันผวนทางการเมือง องค์ทะไลลามะจึงลี้ภัยไปจีน เมื่อจีนรุกรานก็ลี้ภัยไปอินเดีย เมื่อจีนปฏิวัติท่านก็กลับทิเบต แล้วมีความสัมพันธ์กับอังกฤษ จากนั้นเหล่ามิชชันนารีชาวคริสต์เข้าไป ความสัมพันธ์กับอินเดียค่อย ๆ เลือนลางไป พระสงฆ์จากที่เคยมาจากอินเดียก็เสื่อมไปต่อมาทิเบตก็ปิดประเทศโดดเดี่ยว พอใจกับอำนาจที่นิกายเกลุกดำรงอยู่ติดต่อกันจนสวรรคตในปี พ.ศ. 2476 ก็มีผู้สำเร็จราชการปกครองประเทศ สิบแปดปีต่อมาจีนแดงยึดทิเบต ภิกษุลดลงอย่างมาก เนื่องจากจีนให้ลงทะเบียน ตามรายงานของบอกว่า มีพระสงฆ์จำนวน 7,700-10,000 รูป เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2502 รัฐบาลทิเบตสลายตัว มีคณะกรรมการคณะหนึ่งขึ้นมาบริหาร โดยมีปันเชนลามะเป็นประมุข
ปัจจุบัน
ทะไลลามะองค์ที่ 14 ท่านเทนซิน กยัตโส ได้ลี้ภัยไปที่ธรรมศาลา รัฐหิมาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย และจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นของทิเบตที่นี่ ต่อมาก็เป็นศูนย์รวมใจชาวทิเบตในต่างแดน ชาวทิเบตในจีน ช่วงแรกทำถนนทำให้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เนื่องจากไม่คุ้นเคยกับสภาพอากาศ จนบางคนเป็นวัณโรค บาคนเป็นโรคทางเดินหายใจ ต่อมาก็มาค้าขายเสื้อผ้าที่อินเดีย และได้ขยายไปตั้งนิคมอยู่ที่รัฐมิโซรัม ประเทศอินเดีย ในยุคนี้มีการเผยแผ่พุทธศาสนาแบบทิเบตไปทั่วโลกทั้ง 4 นิกาย ได้แก่ นิกายเนียงมา นิกายกาจู นิกายสักยะ และนิกายเกลุก ในอเมริกา มีชาวพุทธทิเบตประมาณ 5 ล้านคนและส่วนใหญ่เป็นของนิกายหมวกเหลือง ทะไลลามะยังต่อสู้เพื่อเอกราชของตนโดนสันติวิธี พร้อมกับรักษาจิตวิญญาณของชาวพุทธไว้อย่างมั่งคง
ภิกษุณี
ในทิเบตไม่เคยมีการประดิษฐานภิกษุณีสงฆ์ในประวัติศาสตร์ มีแต่พระภิกษุสงฆ์ หรือลามะ และสามเณรีเท่านั้น ดังที่ ปีเตอร์ สกีลลิง ผู้เชี่ยวชาญทิเบต และบาลีสันสกฤต ชี้แจงว่า "ในหิมาวันตประเทศ ได้มีภิกษุนิกายมูลสรวาทสติวาทินเข้ามาเผยแผ่หลักธรรม ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 (ประมาณ พ.ศ. 1300) แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏว่าได้จัดพิธีอุปสมบทภิกษุณีสงฆ์เลย" ทั้งนี้เพราะเหตุผลทางภูมิศาสตร์ การเดินทางไปทิเบตนั้นยากลำบากมากตามที่องค์ทะไลลามะกล่าวไว้ทำให้การบรรพชาอุปสมบทภิกษุณีที่ต้องมีปวัตตินี และกรรมวาจาจารย์ รวมทั้งภิกษุณีสงฆ์ และภิกษุสงฆ์อีกฝ่ายละ 10 รูป ในการบวชภิกษุณีอย่างน้อยต้องมี 22 รูปขึ้นไป จึงจะทำพิธีอุปสมบทกรรมได้ แต่สามเณรีในทิเบตมีมานานแล้ว ทั้งมีระบบการศึกษาพุทธธรรมที่เข้มข้นอีกด้วย แม้องค์ดาไลลามะที่ 14 แห่งทิเบต ที่ลี้ภัยในอินเดียในปัจจุบัน ยังได้กล่าวไว้ในคราวประชุมศากยธิดา สมาคมสตรีของชาวพุทธนานาชาติครั้งแรก ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย "เนื่องจากการเดินทางในอดีตลำบากมากภิกษุณีจึงไม่สามารถเดิมทางไปทิเบตได้ และเพราะไม่มีภิกษุณีวงศ์ในทิเบต พระสงฆ์ทิเบตจึงไม่ต้องอาบัติข้อที่เกี่ยวกับภิกษุณีตลอดไป นี้ถือว่าเป็นอานิสงส์ที่เราได้จากการไม่มีภิกษุณีในทิเบต" แต่นอกเขตทิเบตอย่างประเทศเนปาล, ภูฏาน และบางส่วนของอินเดีย มีการบวชเป็นภิกษุณีสงฆ์ในศาสนาพุทธแบบทิเบตด้วย
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8
- ส.ศิวรักษ์ (แปล),ของดีจากทิเบต, (กรุงเทพฯ:สองสยามจำกัด,2544),หน้า 8
- Skilling Peter, A Note on the History the Bhikkuni-Sangha (Pali & SanskritStudies Mahamakut Centennary Commemorative Volume,(Bangkok:Mahamakuta,2536),p 223
- Daugthers of the Buddha,Edit.by Karma Lekshe Tsomo,Opening Speech of His Holineess the Dalai Lama,(New York:Snow Lion Publications,1988),p 44
- ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์, พระพุทธศาสนาแบบธิเบต,(กรุงเทพฯ:ศูนย์ไทยธิเบต,2538),หน้า 17 หน้า 49-77
- yashe De Project,Ancient Tibet,(U.S.A.:Dhamma Publishing),pp. 265-266
- Bapat,P.V..,2500 Year of Buddism,p.93
- Rockhill,W.W.,The Dalai Lama of Lhasa,(Leizing,1958)p.8
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sasnaphuththaebbthiebt xngkvs Tibetan Buddhism khuxsasnaphuththaebbhnungsungthuxptibtiinthiebt aelapccubnidaephrhlayipinhlaypraeths dinaednthiebtinxditmikhwamrungeruxngthangsasnaphuththmak sasnaphuththaebbthiebtmiexklksnechphaakhuxepnkarphsmphsanrahwangsasnaphuththnikaymhayanthngcakxinediyaelacin idrbxiththiphlcaksasnaphuththnikaytntrakhxngxinediy cnekidepnnikaywchryankhun prachachnifthrrma emuxminganbuy prachachncaedinthangipaeswngbuyaemcaiklskephiyngid sungpccubnkmiihehnxyumakmay aetemuxtkxyuinkarpkkhrxngkhxngcinwdnbphnaehngthwnkhrlasa ehluximthunghnungrxyaehnginpccubn cnaethbimehluxkhwamecriyrungeruxnginxditlksnaechphaaphuththsasnaaebbthiebtcamikarsuksaaebngepn 3 radb khuxradbtncasuksaethrwath radbklangsuksamhayan aelaradbsungsuksawchryanaelamntryan phiksuthuxpatiomkkhtamnikaymulsrwastiwath misikkhabth 253 khx mikhwamechuxekiywkbphraphuththecatangcaknikayethrwathkhux nbthuxphrathyaniphuththa 5 phraxngkh idaek phraiworcnphuththa phraxkosphyphuththa phraxmitaphphuththa phraxomkhsiththiphuththa aelaphrartnsmphwphuththa nxkcakniyngnbthuxphraophthistwxikhlayphraxngkh echn phraxwolkietswrophthistwaelaphrachayakhuxphranangtara phramychusriophthistw aelaphrawchrpaniophthistw epntn lksnaednxun khxngphuththsasnaaebbthiebtidaek lama trrkwiphas aelakarptibtiaebbtntra lama khawalamahmaythungxacary inkarptibtithrrminthiebt ihkhwamsakhykbxacarymak odykhwamsmphnthrahwangxacarykbsisymiphltxkhwamsaerckhxngsisyinkarptibtitamsaytntra odythuxwalamaepntwaethnkhxngphraphuththxngkh odyemuxklawsrnkhmn sisycaralukthunglamaepnthiphungdwy wiphaswithi epnkarotwathithangthrrmodyichhlktrrka ephuxihmikhwamekhaicekiywkbhlkthrrminphuththsasnadikhun khcdkhwamehnphid withikarkhxngtrrkwiphascaprakxbdwyphuthamaelaphutxb kxnerimtnthng 2 faycaswdmntbuchaphramychusriophthistw thithuxwaepnphraophthistwaehngpyyacaknncungerimthamtxb karptibtiaebbtntra bthkhwamhlk phuththsasnalththitntra epnkarfukcitephuxihcitxyuinsphawapraphssr ephuxekhathungsuytakarptibtitamaebbtntraaebngepn 4 khn khux kriyatntra ihkhwamsakhykbthamuthratang aelakarthxngmnt crryatntra ihkhwamsakhykbthathangipphrxm kbkarfukcit ennkarthasmathi ekhaengiyb oykhatntra ennkarfukphayinmakkwathathangphaynxk xnutroykhatntra ennkarfukcitphayinxyangediyw ephuxekhathungrakthankhxngcitpraphssr odykhbphlnghyabkhxngcitxxkip sungcathaihekhathungsuyytainthisudprawtiyukherimtn in ph s 976 thiebt ལ ཐ ཐ ར གཉན བཙན iwli lha tho tho ri gnyan btsan phinxinthiebt lhato tori nyanzan epnkstriythiebtxngkhaerkthinbthuxphraphuththsasna idrbekhruxngbrrnakarcaktwaethnchawxinediy odynakhmphirphraphuththsasna aelaphraphuththrupekhamainthiebt thuxwaepnkhrngaerkthikhnthiebtidruckkbphraphuththsasna aetkyngimepnthiaephrhlayethaidnk ephraachawthiebtyngnbthuxlththibxnsungmikhwamechuxeruxngphutiphipisacxyumak chawthiebtepnchnchatithichxbsngkhram immixarythrrmchnsungehmuxnchnchawekhathwip aetdwyxiththiphlkhxngphuththsasnacungthaihthiebtklayepnphuifsntisukh aelaepnchawekhathimixarythrrmsungsngcnthungmixkkhraphiessephuxphrasasna odynaaebbxyangmacakxksrxinediy caknnmaphraphuththsasnacakxinediykekhathungthiebtkhrngaerkemuxraw aelapradisthanmnkhngin yukhprawtisastr in ph s 1173 thuxwaepnyukhprawtisastrthiaethcringkhxngthiebt phraecasngaecnkmop snbsnunihmikarsuksaphuththsasnacakkhmphirthinaekhamatngaetyukhtn ph s 976 phrxmdaeninkarptirupsrththathiebt txmaprakasihphraphuththsasnaepnsasnapracachati odykarsnbsnunkhxngphramehsi 2 phraxngkh khuxphranangehwineching phrathidakhxngckrphrrdithngithcngaehngcin aelaphranangphrikhutiethwi phrathidakhxngphraecaxmsuwarmaaehngenpal thngsxngphraxngkhthrngnbthuxphraphuththsasnamhayanxyangekhrngkhrd cungidnaphraphuththrupmadwythngsxngphraxngkh khuxecahyingehwineching naphraphuththrupchuxocow mapradisthanthiwdsillakng inkrunglasa aelaecahyingphrikhutiethwiidnaphraphuththrupsakymunithisakhymapradisthanthiwdraomech sungepnwdhlwng aelamikhwamsakhyrxngepnxndbsxnginkrunglasa chwngniidmichawthiebtechuxphrawngs aelakharachkarchnphuihyipsuksaincin aelaphraphiksuchawcinkmasuksainthiebtephuxaeplphrakhmphiraelaphrasutrcanwnmak inyukhniphraecasngaecnkmopidthrngsngthutchux ethinmi smophta ipsuksathimhawithyalynalntha aelwklbthiebt thaniderimnganpradisthxksr aelaekhiyniwyakrnsxnchawthiebt odyichxksrphrahmi thiniymichkninksmir aekhchemiyr aeladaeninnganephyaephphuththsasnathaihprachachneluxmis nbwaphuththsasnamibthbathsakhyinkarthaihchawthiebtmiwthnthrrmdanphasa aetkyngimepnthiaephrhlay ephraaidrbkhwamtanthancakkhwamechuxedim karthiphasathiebtthimirakthanmacakxinediythaihrksakhwamhmayinkaraeplkhmphirphuththsasnasnskvtepnthiebtiddi haktnchbbsnskvtsuyhay kichtnchbbkhxngthiebtethiybekhiyngkhxngedimiddithisud khururinopechephyaephhlkthrrm phrapthmsmphwa hruxkhururinopech phuephyaephphraphuththsasnacnepnthikwangkhwanginhmuchnchawthiebt in ph s 1298 1340 kstriyxngkhthi 5 nbcakphraecasngaecnkmopidipxarathna thiekhysuksaxyuthimhawithyalynalnthamaephyaephhlkkhasxnxnbrisuththi aetkimprasbkhwamsaercenuxngcakthansxnaethlkthrrm aetimsxnewthmntrkhatha aetchawthiebt mikhwamechuxeruxngxanacphutiphikhxnglththibxn aelakhnannekidorkhrabad aelaphythrrmchati thaihprachachnechuxwathannaehtukarnnimadwy phrasantrksitidklbipxinediy aelwxarathnaphrapthmsmphwa phrarachoxrskhxngphraecaxinthrphumi aehngaekhwnxuthyansungpccubnxyuinpraethsxfkanisthan ihipephyaephphuththsasnalththitntrasungthukkbxthyasykhxngprachachn thanmikhwamchanayineruxngisysastrsamarthprabpisac aelathaihphutiphipisacklbmasnbsnunpkpxngphraphuththsasnadwy ehtukarncungsngbprachachnfaykharachkar aelafayrachsankkyxmrbnbthuxthanwaepn khururinopech khuxphraxacaryihykhxngphwkekha thanpthmsmphwaidsrangwdinphuththsasnaaehngaerkkhxngthiebtinnam tamkhwamechuxkhxngxinediythimiekhaphrasuemruxyutrngklang mixaramxyu 4 this aelamixaramdannxkxikaepdthis epnsylksnkhxngthipinckrwal mixikwdthangtawnxxk aelatawntkechiyngehnuxepnsylksnphracnthr aelaphraxathity inwdnimihxngsmud hxngnngsmathiodyxacarysxnsmathicakcin phuththsasnalththitntra ecriyrungeruxngeruxymacnthung michuxkahndaeykcaephaaxxkipwanikayyingma txmaphrasantrksit idklbthiebtephuxptibtisasnkicxikkhrngcnmrnphaphthinn thanidaeplphrakhmphir aelaepnxupchchaybwchihaekchayhnumthiebt 5 khn ephuxwangrakthankarbwchsaythiebt tamphrarachdarikhxphraecatrisxngedsn xupsmbthkrrmthinnmiphranikayrwmdwy 12 rup phraphiksu 5 rup thiidrbkarxupsmbthnnidephyaephhlkthrrmprasbkhwamsaercxyangying enuxngcakwaxupchchay khuxthansantrksitepnxnurksniym aelamiphranikaysrwaththimihlkthrrmehmuxnkbethrwathmakthisudinbrrdathiichkhmphirphasasnskvt cungthaihmipyyachnthisnichlkkhasxnxnbrisuththiimecuxisysastrekhamabwchthung 300 khn karrayrachudda phuththsasnainyukhniidrbkarxupthmphcakkstriythiebtepnxyangdi bangxngkhepnnkprachyrxbruphuthththrrmluksung khux phraecaesnael sungthrngslarachsmbtixxkphnwchepnphiksu in ph s 1357 idmikarthaphcnanukrmphasasnskvt thiebt aelainrchsmykhxngphraecaralpaechn ph s 1359 mikarekhiynprawtisastrthiebtepnchbbaerk kstriyphraxngkhnimiphrarachsrththaxyangaerngklathungkbsyayphraeksarxngepnxasnaihphrasngkhnnglxmaesdngthrrmthwayphraxngkh phrasngkhidrbsiththiphiessepnrachkhru miphraruphnungmiphuthwayxaharecdkhrxbkhrw mikarlngothsphuthiimekharphphrasngkh sudthaymikarlxbplngphrachnm enuxngcakphraxngkhthrngaetngtngchawphuththihdarngtaaehnngthangkarbrihar hruxsnbsnunphuththsasnaekinip caknn phraecalangthrmathithrngthuxlththibxnkkhrxngrachy phraxngkhthrngtngtnepnprpkstxphuththsasnaxyuhlaypi idthalaywdwaxaramthisakhysxngaehnginnkhrlasa kacdphrasngkhodyihlasikkha txmamiphrasngkhaetngtwdwychudda thamasida swmhmwksidaekhamapapnkbprachachn lxbplngphrachnmphraecalangthrmasaerc epnthimakhxngchakrayrakhxngphrathiebteriykwa karrayrachudhmwkda thuxwasinsudkarthalaylangphuththsasna khrawniphrasngkhthihniphyklbthiebtmixanacekhmaekhngkwaedim phrathipngkrsrichyan xtisa in ph s 1600 thuxwaepnyukhthiphraphuththsasnacakxinediyekhasuthiebtodytrng pradisthanmnkhng epnsasnapracachatikhrngihysudthay aelaminikayaetkaeykxxkipmak odymiphrathipngkrsrichyan hrux cakinaekhwnphihar idekhamaephyaephphuththsasnainthiebt chawthiebtcungnbthuxphraxtisarxngcakphrapthmsmphwa odymichuxeriykwa ocowec sungmikhwamhmaywa thanxacarythiekharph khasxnkhxngthanepnaebboykhacarthiphsmphsanknrahwangmhayan aelahinyan bngkhbihphrasngkhthuxphrhmcrry aelaimsnbsnunisysastr kaenidnikayekluk phrasxngkhapa phucharaphuthththrrmepnphraitrpidkchbbthiebtthiichmacnthungpccubn hlngcaknnplayyukhni thansxngkhapa ph s 1918 sungepnnkptirupphuyingihykhxngthiebt idxasyhlkkhasxnniaelwtngnikay nikayekluk hruxeklukpa hruxhmwkehluxng khun nikaynixngkhdaillamapccubnsngkdxyu aelamixiththiphlinphakhklangkhxngthiebt thanidcharahlkphuthththrrmihbrisuththicaklththiphithitang mikarrwbrwmkhmphirthiidaeplaelwnnxxkepn 2 hmwd khux phuththphcn 100 elm aelaxrrthktha 225 elm khmphirehlanieriykwaphraitrpidk hruxkhmphirphraphuththsasnachbbthiebt sungtkthxdmathungpccubn yukhmxngokl in ph s 2089 2130 mikstriymxngoklnamwa idphbkbpramukhsngkhkhxngnikayeklukthichuxwa aelweluxmis enuxngcakthansubechuxsaymacaknikayskya aelaphkomdru sungepntrakulthimixiththiphlinthiebt mikarddaeplngwdthinikayxunxxnaexinkarpkkhrxng aelathingihrangihepnwdnikayekluk hmwkehluxng nikaynieriybngay ekhrngkhrdinphrathrrmwiny imyungekiywkbkaremuxng chawbancungniymmak xikxyanghnungkstriymxngoklthrngechuxwapramukhsngkhniekhyepnxacarykhxngphraxngkhinchatikxn emuxphraxngkheswyphrachatiepnkubilkhan cungthwaytaaehnng thael aetthiebtxxkesiyngepn thail Dalai inkhwamhmaykhxngithykkhuxthaelechnkn khawathaillama thail epnphasamxngoklaeplwa thael hrux kwangihy lama hmaythung phrahruxkhvhsththimikhwamrukhwamchanay aetchawthiebtniymichkhawa khyawa rimopech khux chyrtna nbwaepntnkaenidthaillamakhrngaerk aelathansxdnmwngyaoskidthwaytaaehnng thrrmrachathrngkhwambrisuththi aekxltnkhanepnkartxbaethn thansxdnmwngyaosthuxwatnexngepnthaillamaxngkhthi 3 ephraathanidthwaytaaehnngyxnkhunipaekxwtarinsxngchatiaerkkhxngthandwy inkhnathithanmiphrachnmchiphthanidsrangwdphraphuththruphnungphnxngkh idephyaephphrasasnasumxngokeliy aelathiebttawnxxksungekhyepndinaednxiththiphlkhxnglththibxn cnthanidtaaehnngphiesscakrachwngshmingkhxngcin thungyukhthaillamaxngkhthi 4 nikayhmwkehluxngkyngecriyrungeruxngephraamithharmxngoklhnunhlngxyu yukhthaillamakhrxngxanac inyukhkhxng thaillamaxngkhthi 5 ph s 2158 2223 chawmxngoklinthiebtimmiexkphaph thaihecaemuxngsngxn sungepnaekhwnhnungkhxngthiebtchingbllngklasaipid thaillamaxngkhnisungmimxngoklsnbsnun cungkhxkhwamchwyehluxipyng kuchrikhan phunamxngoklihmayudxanackhunsaerc aelamxbxanackarpkkhrxngthiebtthnghmd khuxfayxanackr aelasasnckrihaekthaillama aelaepnkhrngaerkthithaillamaidxanacsungsudthnghmd caknnthankidyaythiprathbthiphrarachwngoptala nkhrlasa chawthiebtmikhwamechuxwathaillamaepnxwtarkhxngphraxwolkietswrphraophthistwphukruna aelaechuxwapnechnlama phumixanacrxngcakthaillamaepnxwtarkhxngphraxmitapha aetthaillamanngsmathiaebbeniyngma phlxythaihnikayeniyngmaecriyipdwy aetnikayocnnghlngcakthantarnath sungepnnkprawtisastrmichuxesiyngaelwthukyudwdthnghmd thuxwanikayeklukphthnarungeruxngtamkhasxnkhxngphranakharchuna epntn aemlththibxnkyngnaipphthnatnexngkhxngtnexng cnthaillamaswrrkht chawthiebtcungthwayphranamwa mhapyca ephuxaesdngkhwamyingihykhxngphraxngkh aemphraxngkhcaesdcswrrkhtaelwyngmiphuxangwathaillamaesdcekhasmathirayayaw aelwsaercrachkaraethnphraxngkh odypidkhawkarswrrkhtnanthung 13 pi ephuxnganfunfuwngoptalatxip caknnmikaraetngtngthaillamaxngkhthi 6 aetphraxngkhoprdkaraetngkwi aelasnicphuhying imsnicbriharpraeths cungthukenrethsipcinaetsinphrachnmrahwangthang cinkhxmmiwnistyudthiebt cnthung ph s 2351 2401 idkhunepnthaillamaxngkhthi 7 odykarsnbsnunkhxngrachwngschingkhxngcin sungcinekhymibthbathtxtaaehnngpnechnlama hrux bnthitesnop aeplwankwichakarihy caknnmisngkhramklangemuxng faythaillamaaephtxnghniphycakemuxng thaihnikayeklukxbxaykhrngaerkinprawtisastr caknnmamiphusaercrachkarepnlamaekluk mirthmntriepnlamaaelakhrawasdwy thaillamaxik 4 phraxngkhtxmakmiphrachnmsnthnghmd bangxngkhkthuklxbplngphrachnm cnthung xngkhthaillamaxngkhthi 13 ekhamabriharpraeths thrnghlikeliyngtidtxkbxngkvs odyxasycintidtxkbrsesiy cnmikhwamphnphwnthangkaremuxng xngkhthaillamacungliphyipcin emuxcinrukrankliphyipxinediy emuxcinptiwtithankklbthiebt aelwmikhwamsmphnthkbxngkvs caknnehlamichchnnarichawkhristekhaip khwamsmphnthkbxinediykhxy eluxnlangip phrasngkhcakthiekhymacakxinediykesuxmiptxmathiebtkpidpraethsoddediyw phxickbxanacthinikayeklukdarngxyutidtxkncnswrrkhtinpi ph s 2476 kmiphusaercrachkarpkkhrxngpraeths sibaepdpitxmacinaedngyudthiebt phiksuldlngxyangmak enuxngcakcinihlngthaebiyn tamrayngankhxngbxkwa miphrasngkhcanwn 7 700 10 000 rup emuxeduxnminakhm ph s 2502 rthbalthiebtslaytw mikhnakrrmkarkhnahnungkhunmabrihar odymipnechnlamaepnpramukh pccubn thaillamaxngkhthi 14 thanethnsin kytos idliphyipthithrrmsala rthhimaclpraeths praethsxinediy aelacdtngrthbalphldthinkhxngthiebtthini txmakepnsunyrwmicchawthiebtintangaedn chawthiebtincin chwngaerkthathnnthaihesiychiwitepncanwnmak enuxngcakimkhunekhykbsphaphxakas cnbangkhnepnwnorkh bakhnepnorkhthangedinhayic txmakmakhakhayesuxphathixinediy aelaidkhyayiptngnikhmxyuthirthmiosrm praethsxinediy inyukhnimikarephyaephphuththsasnaaebbthiebtipthwolkthng 4 nikay idaek nikayeniyngma nikaykacu nikayskya aelanikayekluk inxemrika michawphuthththiebtpraman 5 lankhnaelaswnihyepnkhxngnikayhmwkehluxng thaillamayngtxsuephuxexkrachkhxngtnodnsntiwithi phrxmkbrksacitwiyyankhxngchawphuththiwxyangmngkhng phiksunichawxngkvsthiekhabwchinnikaykacu thuxepnphiksunisngkhxngkhaerk nxkekhtthiebtphiksuniinthiebtimekhymikarpradisthanphiksunisngkhinprawtisastr miaetphraphiksusngkh hruxlama aelasamenriethann dngthi pietxr skilling phuechiywchaythiebt aelabalisnskvt chiaecngwa inhimawntpraeths idmiphiksunikaymulsrwathstiwathinekhamaephyaephhlkthrrm inkhriststwrrsthi 8 praman ph s 1300 aetimmihlkthanpraktwaidcdphithixupsmbthphiksunisngkhely thngniephraaehtuphlthangphumisastr karedinthangipthiebtnnyaklabakmaktamthixngkhthaillamaklawiwthaihkarbrrphchaxupsmbthphiksunithitxngmipwttini aelakrrmwacacary rwmthngphiksunisngkh aelaphiksusngkhxikfayla 10 rup inkarbwchphiksunixyangnxytxngmi 22 rupkhunip cungcathaphithixupsmbthkrrmid aetsamenriinthiebtmimananaelw thngmirabbkarsuksaphuthththrrmthiekhmkhnxikdwy aemxngkhdaillamathi 14 aehngthiebt thiliphyinxinediyinpccubn yngidklawiwinkhrawprachumsakythida smakhmstrikhxngchawphuththnanachatikhrngaerk ineduxnkumphaphnth ph s 2530 n phuththkhya praethsxinediy enuxngcakkaredinthanginxditlabakmakphiksunicungimsamarthedimthangipthiebtid aelaephraaimmiphiksuniwngsinthiebt phrasngkhthiebtcungimtxngxabtikhxthiekiywkbphiksunitlxdip nithuxwaepnxanisngsthieraidcakkarimmiphiksuniinthiebt aetnxkekhtthiebtxyangpraethsenpal phutan aelabangswnkhxngxinediy mikarbwchepnphiksunisngkhinsasnaphuththaebbthiebtdwyxangxingsthaniyxyphraphuththsasnawikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb sasnaphuththaebbthiebt rachbnthitysthan phcnanukrmsphthsasnasakl xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 3 rachbnthitysthan 2552 hna 587 8 s siwrks aepl khxngdicakthiebt krungethph sxngsyamcakd 2544 hna 8 Skilling Peter A Note on the History the Bhikkuni Sangha Pali amp SanskritStudies Mahamakut Centennary Commemorative Volume Bangkok Mahamakuta 2536 p 223 Daugthers of the Buddha Edit by Karma Lekshe Tsomo Opening Speech of His Holineess the Dalai Lama New York Snow Lion Publications 1988 p 44 chtrsumaly kbilsingh phraphuththsasnaaebbthiebt krungethph sunyithythiebt 2538 hna 17 hna 49 77 yashe De Project Ancient Tibet U S A Dhamma Publishing pp 265 266 Bapat P V 2500 Year of Buddism p 93 Rockhill W W The Dalai Lama of Lhasa Leizing 1958 p 8