มูลสรวาสติวาท (Mūlasarvāstivāda ) เป็นหนึ่งในนิกายยุคต้นของพุทธศาสนาในอินเดีย ต้นกำเนิดของมูลสรวาสติวาทและความเกี่ยวโยงกับนิกายสรวาสติวาทยังไม่เป็นที่ทราบกันดีนัก แม้ว่าจะมีหลายทฤษฎีที่เสนอเรื่องนี้ก็ตาม ความต่อเนื่องของนิกายมูลสรวาสติวาทยังคงดำรงอยู่ในพุทธศาสนาในทิเบตจนกระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ทว่า มีเพียงการสืบทอดมูลสรวาสติวาทสายภิกษุ ไม่มีการสืบทอดสายภิกษุณี
ประวัติ
ในอินเดีย
ทฤษฎีเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมูลสรวาสติวาท กับสรวาสติวาท เป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ นักวิชาการสมัยใหม่มีแนวโน้มที่จะจำแนกทั้ง 2 สำนักเป็นอิสระต่อกัน อี้จิ้งอ้างว่ามูลสรวาสติวาทได้รับชื่อเช่นนี้ เพราะแตกหน่อมาจากนิกายสรวาสติวาท แต่ บูโตน รินเชน ดรุบ (Buton Rinchen Drub) กล่าวว่า การใช้ชื่อว่า มูลสรวาสติวาทเป็นการแสดงความเคารพต่อนิกายสรวาสติวาท ในฐานะที่เป็น "รากเหง้า" (มูล) ของนิกายต่าางๆ ของพุทธศาสนา ในทัศนะของ Gregory Schopen มูลสรวาสติวาท พัฒนาขึ้นในอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 2 และเสื่อมถอยลงไปในศตวรรษที่ 7
ในเอเชียกลาง
มูลสรวาสติวาทรุ่งเรืองทั่วเอเชียกลางเนื่องจากคณะพระธรรมทูตทำงานอย่างแข็งขันในพื้นที่ดังกล่าว โดยในเอเชียกลาง มีการเผยแพร่พุทธศาสนาสำนักต่างๆ ตามลำดับดังนี้
- ธรรมคุปต์
- สรวาสติวาท
- มูลสรวาสติวาท
ศรีวิชัย
อี้จิ้งบันทึกไว้ว่า ในศตวรรษที่ 7 มูลสรวาสติวาทเป็นนิกายที่โดดเด่นแพร่หลายไปทั่วอาณาจักรศรีวิชัย อี้จิ้งพักอยู่ที่ศรีวิชัยเป็นเวลาหกถึงเจ็ดปีในระหว่างนั้นท่านได้ศึกษาภาษาสันสกฤตและแปลคัมภีร์ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน อี้จิ้งบันทึกไว้ว่ามูลสรวาสติวาทเป็นที่นับถือกันเกือบทั้งพื้นที่ดังกล่าว ท่านบันทึกว่าวิชาที่เรียนรวมถึงกฎและพิธีการต่างๆ ของมูลสรวาสติวาทในภูมิภาคนี้เหมือนอย่างที่มีอยู่ในอินเดีย อี้จิ้งกล่าวว่า พุทธศาสนาในดินแดนศรีวิชัยเป็นหีนยาน แต่ในอาณาจักรมลายูมีอิทธิพลของพุทธศาสนามหายาน โดยมีคำสอนของคณาจารย์มหายาน เช่น คัมภีร์โยคาจารภูมิศาสตร์ ของพระอสังคะ
การสืบทอดพระวินัย
พระวินัยของนิกายมูลสรวาสติวาท เป็นหนึ่งในสามสายการสืบทอดพระวินัยที่หลงเหลืออยู่ คือพระวินัยของนิกายธรรมคุปต์ และนิกายเถรวาท ปัจจุบัน มูลสรวาสติวาทวินัยสืบทอดกันในทิเบต โดยมีพระวินัยแปลเป็นภาษาทิเบตในศตวรรษที่ 9 และภาษจีนในศตวรรษที่ 8 และยังมีต้นฉบับพระวินัยมูลสรวาสติวาทในภาษสันสกฤตหลงเหลืออยู่ด้วย
อ้างอิง
- Charles Willemen, Bart Dessein, Collett Cox. Sarvāstivāda Buddhist scholasticism. Brill, 1988. p.88.
- Elizabeth Cook. Light of Liberation: A History of Buddhism in India. Dharma Publishing, 1992. p. 237
- Gregory Schopen. Figments and fragments of Māhāyana Buddhism in India. University of Hawaii Press, 2005. pp.76-77.
- Coedes, George. The Indianized States of South-East Asia. 1968. p. 84
- J. Takakusu (1896). A Record of the Buddhist Religion : As Practised in India and the Malay Archipelago (A.D. 671-695)/I-Tsing. Oxford: Clarendon. Reprint: New Delhi, AES 2005. ISBN 81-206-1622-7.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mulsrwastiwath Mulasarvastivada epnhnunginnikayyukhtnkhxngphuththsasnainxinediy tnkaenidkhxngmulsrwastiwathaelakhwamekiywoyngkbnikaysrwastiwathyngimepnthithrabkndink aemwacamihlaythvsdithiesnxeruxngniktam khwamtxenuxngkhxngnikaymulsrwastiwathyngkhngdarngxyuinphuththsasnainthiebtcnkrathngemuxerw ni thwa miephiyngkarsubthxdmulsrwastiwathsayphiksu immikarsubthxdsayphiksuni prawti inxinediy thvsdieruxngkhwamsmphnthrahwangmulsrwastiwath kbsrwastiwath epnthikhdaeyngknxyu nkwichakarsmyihmmiaenwonmthicacaaenkthng 2 sankepnxisratxkn xicingxangwamulsrwastiwathidrbchuxechnni ephraaaetkhnxmacaknikaysrwastiwath aet buotn rinechn drub Buton Rinchen Drub klawwa karichchuxwa mulsrwastiwathepnkaraesdngkhwamekharphtxnikaysrwastiwath inthanathiepn rakehnga mul khxngnikaytaang khxngphuththsasna inthsnakhxng Gregory Schopen mulsrwastiwath phthnakhuninxinediyinchwngstwrrsthi 2 aelaesuxmthxylngipinstwrrsthi 7 inexechiyklang mulsrwastiwathrungeruxngthwexechiyklangenuxngcakkhnaphrathrrmthutthanganxyangaekhngkhninphunthidngklaw odyinexechiyklang mikarephyaephrphuththsasnasanktang tamladbdngni thrrmkhupt srwastiwath mulsrwastiwathsriwichy xicingbnthukiwwa instwrrsthi 7 mulsrwastiwathepnnikaythioddednaephrhlayipthwxanackrsriwichy xicingphkxyuthisriwichyepnewlahkthungecdpiinrahwangnnthanidsuksaphasasnskvtaelaaeplkhmphirphasasnskvtepnphasacin xicingbnthukiwwamulsrwastiwathepnthinbthuxknekuxbthngphunthidngklaw thanbnthukwawichathieriynrwmthungkdaelaphithikartang khxngmulsrwastiwathinphumiphakhniehmuxnxyangthimixyuinxinediy xicingklawwa phuththsasnaindinaednsriwichyepnhinyan aetinxanackrmlayumixiththiphlkhxngphuththsasnamhayan odymikhasxnkhxngkhnacarymhayan echn khmphiroykhacarphumisastr khxngphraxsngkha karsubthxdphrawiny phrawinykhxngnikaymulsrwastiwath epnhnunginsamsaykarsubthxdphrawinythihlngehluxxyu khuxphrawinykhxngnikaythrrmkhupt aelanikayethrwath pccubn mulsrwastiwathwinysubthxdkninthiebt odymiphrawinyaeplepnphasathiebtinstwrrsthi 9 aelaphascininstwrrsthi 8 aelayngmitnchbbphrawinymulsrwastiwathinphassnskvthlngehluxxyudwyxangxingCharles Willemen Bart Dessein Collett Cox Sarvastivada Buddhist scholasticism Brill 1988 p 88 Elizabeth Cook Light of Liberation A History of Buddhism in India Dharma Publishing 1992 p 237 Gregory Schopen Figments and fragments of Mahayana Buddhism in India University of Hawaii Press 2005 pp 76 77 Coedes George The Indianized States of South East Asia 1968 p 84 J Takakusu 1896 A Record of the Buddhist Religion As Practised in India and the Malay Archipelago A D 671 695 I Tsing Oxford Clarendon Reprint New Delhi AES 2005 ISBN 81 206 1622 7