นาคารชุนะ (नागार्जुन; ละติน: Nāgārjuna; เตลูกู: నాగార్జునా; จีน: 龍樹; มีชีวิตในช่วงประมาณ พ.ศ. 700 - 800) เป็นนักชาวอินเดียที่มีอิทธิพลสูงสุดรองจากพระโคตมพุทธเจ้า ท่านก่อตั้งสำนักมัธยมกะ ซึ่งเป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน เป็นที่ศรัทธาและกล่าวถึงในหมู่นักศึกษาพุทธศาสนาชาวยุโรปมาโดยตลอด ที่มีผลงานโดดเด่นในด้านภววิทยาและตรรกศาสตร์ ผลงานสำคัญของท่านคือคัมภีร์ อันเป็นพื้นฐานสำคัญของแนวคิดศูนยวาท ประกอบด้วยการิกา 400 การิกา ใน 27 ปริเฉท หนังสือเล่มนี้ได้รับการยกย่องตลอดมา ศาสนิกชนมหายานทุกนิกายยกย่องท่านในฐานะคุรุผู้ยิ่งใหญ่เสมอ อย่างไรก็ตาม ประวัติของท่านกลับไม่ชัดเจนเท่าที่ควร
ประวัติ
ตามประวัติที่แปลเป็นภาษาจีนโดยพระกุมารชีวะเมื่อประมาณ ค.ศ. 405 ได้กล่าวว่า พระนาคารชุนะเป็นชาว เกิดในสกุลพราหมณ์ แต่ข้อมูลที่บันทึกโดยพระถังซำจั๋งระบุว่า ท่านเกิดในแคว้นโกศลภาคใต้, ท่านเป็นพระสหายที่มีอายุไล่เลี่ยกับพระเจ้ายัชญศรีเคาตมีบุตร (ค.ศ. 166-196) ประวัติในตอนต้นไม่แน่ชัด หลักฐานของทิเบตกล่าวว่าท่านออกบวชตั้งแต่วัยเด็กเนื่องจากมีผู้ทำนายว่าจะอายุสั้น บ้างก็ว่าในวัยเด็กมารดาของท่านได้รับคำทำนายว่าท่านนาคารชุนะจะไม่อาจมีบุตร ทางแก้คือต้องจัดพิธีเลี้ยงพราหมณ์ 100 คน ครอบครัวของท่านจึงต้องจัดพิธีดังกล่าว แต่หลังจากนั้นพราหมณ์ก็ยังทำนายว่าต้องจัดพิธีเช่นนี้อีกเนื่องจากยังไม่สิ้นเคราะห์ กระทั่งหลังจากที่มารดาทำพิธีเลี้ยงพราหมณ์เป็นครั้งที่สาม มารดาจึงตัดสินใจให้ท่านออกบวชขณะอายุยังไม่ครบ 7 ปี และให้ท่านออกจาริกแสวงบุญเพื่อแสวงหาผู้ที่สามารถช่วยชีวิตท่านให้รอดพ้นจากความตาย ท่านจาริกมาจนถึงนาลันทา ท่านได้พบกับท่านราหุลภัทระและได้รับการศึกษาที่นั่น
แต่อีกตำนานหนึ่งกล่าวว่าท่านออกบวชในวัยหนุ่ม เหตุเนื่องจากท่านกับสหายใช้เวทมนตร์ลักลอบเข้าไปในพระราชวังและถูกจับได้ สหายท่านถูกจับประหารชีวิต เนื่องจากตัวท่านอธิษฐานว่าหากรอดพ้นจากการจับกุมในครั้งนี้จะออกบวชในพระพุทธศาสนา หลังจากอุปสมบทแล้วได้ศึกษาพระไตรปิฎกเจนจบภายใน 90 วัน มีความรอบรู้ในไตรเพทและศิลปศาสตร์นานาชนิด ประวัติท่านปรากฏเป็นตำนานเชิงอภินิหารในพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ จนยากจะหาข้อสรุป ตำนานเล่าว่าท่านได้ลงไปยังเมืองบาดาลเพื่ออัญเชิญคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาขึ้นมาจากนาคมนเทียร และเป็นผู้เปิดกรุพระธรรมเร้นลับของมนตรยานซึ่งพระวัชรสัตว์บรรจุใส่สถูปเหล็กไว้ ได้มีการอ้างว่าท่านพำนักอยู่ในสถานที่หลายแห่งของอินเดีย เช่น ศรีบรรพตในอินเดียภาคใต้ ในคัมภีร์ทิเบตกล่าวว่าท่านใช้เวลาช่วงหนึ่งอยู่ที่นาลันทาด้วย
สำหรับนามว่า "นาคารชุนะ" นั้น มีที่มาจากคำว่า นาคะ กับ อรชุนะ โดยที่อรชุนเป็นชื่อของต้นไม้ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นที่กำเนิดของท่าน บ้างก็อธิบายต่างไปว่า นาคะหมายถึงปัญญาญาณ แสดงถึงสมรรถภาพทางสติปัญญาของผู้ที่สามารถเอาชนะกิเลสาสวะลงได้ ดังนั้นชื่อของพระนาคารชุนะจึงอาจเป็นชื่อจริงหรือนามฉายาที่มีบุคคลยกย่องขึ้นในภายหลังก็ได้ และมีข้อสันนิษฐานมากมายเกิดขึ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไรก็ตาม มีความเป็นไปได้ว่า นักปราชญ์ที่มีนามว่านาคารชุนะนั้น อาจมีอยู่หลายคน ทำให้บุคคลในชั้นหลังเกิดความสับสนและเข้าใจผิดว่าเป็นบุคคลคนเดียวกัน ทำให้มีตำนานเรื่องราวปรากฏต่างกันออกไป อย่างไรก็ตาม ในทางปรัชญาย่อมถือเอาคุรุนาคารชุนะผู้รจนาคัมภีร์มาธยมิกศาสตร์เป็นสำคัญ
งานเขียนของนาคารชุนะนั้น ถือเป็นพื้นฐานการกำเนิดสำนักมัธยมกะ ซึ่งมีการถ่ายทอดไปยังจีน โดยเรียกว่า สำนักสามคัมภีร์ (ซานลุ่น: 三論) ท่านได้รับการยกย่องนับถือในฐานะผู้สถาปนาแนวคิดปรัชญาปารมิตา และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมหาวิทยาลัยนาลันทา คัมภีร์สำคัญของท่านนาคารชุนะที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบันได้แก่ มูลมัธยมกการิกา (มาธยมิกศาสตร์), ศูนยตาสัปตติ, ยุกติษัษฏิกา, วิครหวยาวรตนี, สุหฤลเลขะ, รัตนาวลี, ไวทัลยปรกรณะ ซึ่งล้วนเป็นการอรรถาธิบายพุทธพจน์ด้วยตรรกวิทยาอันเฉียบคม และหลักปรัชญาศูนยตวาท นอกจากนี้ยังมีงานเขียนอีกจำนวนมากที่อ้างว่าเป็นผลงานของท่านเพื่อให้งานนั้น ๆ มีความน่าเชื่อถือ ผลงานหลายเล่มยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าเป็นผลงานที่แท้จริงของท่านหรือไม่.
แนวคิดทางปรัชญา
พระนาคารชุนะอธิบายหลักพุทธพจน์บนพื้นฐานของปรัชญาศูนยตวาท ซึ่งกล่าวไว้อย่างชัดเจนในงานเขียนของท่านคือ "มาธยมิกศาสตร์" คำว่ามาธยมิกะหมายถึงทางสายกลาง เพราะฉะนั้นแนวคิดของมาธยมิกะก็คือปรัชญาสายกลางระหว่างสัสสตทิฏฐิ (ความเห็นว่ามีอยู่อย่างเที่ยงแท้) และอุจเฉททิฏฐิ (ความเห็นว่าขาดสูญ) ตามที่พุทธปรัชญาอธิบายว่าสรรพสิ่งล้วนอิงอาศัยกันเกิดขึ้น ไม่มีสิ่งใดมีสวภาวะที่ดำรงอยู่ได้ด้วยตัวของมันเอง จึงเรียกว่าสูญยตา ทว่าก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นความว่างเปล่าหรือขาดสูญแบบอุจเฉททิฏฐิ หากหมายถึง ไม่มีสาระในตัวเอง แต่เป็นเพราะเหตุปัจจัยอิงอาศัยกันเกิดขึ้นแบบปัจจยาการ สรรพสิ่งในโลกจึงล้วนเป็นความสัมพันธ์ เช่นความสั้นและความยาวเกิดขึ้นเพราะมีการเปรียบเทียบกับอีกสิ่งหนึ่งเสมอ เพราะฉะนั้นสาระอันแท้จริงของความสั้นและความยาวจึงไม่มี จึงเป็นศูนยตา และทุกสิ่งโดยสภาพปรมัตถ์แล้วล้วนเป็นศูนยตา ปราศจากแก่นสารให้ยึดมั่นถือมั่นได้ แนวคิดของมาธยมิกะเป็นพัฒนาการทางตรรกวิทยาอันสุขุมลุ่มลึกของมหายาน เพื่อใช้เหตุผลทางตรรกะคัดค้านความเชื่อในความมีอยู่ของอัตตา รวมทั้ง ซึ่งพราหมณ์และลัทธินอกพระพุทธศาสนาอื่น ๆ เชื่อถือว่า เป็นสิ่งที่ดำรงอยู่โดยตัวเอง ไม่อิงอาศัยสิ่งใด และเป็นแก่นสารของสรรพสิ่ง แต่หลักปรัชญาของพระพุทธศาสนาย่อมสอนให้เข้าถึงความดับรอบโดยแท้จริง แม้ทั้งตัวผู้รู้และสิ่งที่รู้ย่อมดับทั้งสิ้น กล่าวคือโดยปรมัตถ์แล้วทั้งพระนิพพานและผู้บรรลุนิพพานย่อมเป็นศูนย์นั่นเอง เพราะเมื่อธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา เกิดจากเหตุปัจจัยจึงปราศจากตัวตน เมื่อปราศจากแก่นสารตัวตน แล้วอะไรเล่าที่เป็นผู้ดับกิเลสและบรรลุพระนิพพาน เราจะเห็นได้ว่าว่างเปล่าทั้งสิ้น ไม่มีสัตว์บุคคลมาตั้งแต่แรก เป็นสักแต่ชื่อเรียกว่าสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาเท่านั้น สังสารวัฏล้วนเป็นมายา โดยแท้แล้วหาได้มีสภาวะใดเกิดขึ้นหรือดับไป เพราะฉะนั้นจึงกล่าวว่าตัวตนผู้บรรลุนิพพานไม่มีเสียแล้ว พระนิพพานอันผู้นั้นจะบรรลุจึงพลอยไม่มีไปด้วย
ตัวอย่างในเรื่องนี้ปรัชญามาธยมิกได้ใช้อุปมาว่า เปรียบเหมือนมายาบุรุษคนหนึ่งประหารมายาบุรุษอีกคนหนึ่ง การประหารของมายาบุรุษทั้งสองย่อมเป็นมายาไปด้วยฉันใด ทั้งผู้บรรลุนิพพานและสภาวะแห่งนิพพานย่อมเป็นศูนย์ไปด้วยฉันนั้น หรือเปรียบกิ่งฟ้าซึ่งไม่มีอยู่จริง สิ่งที่แขวนอยู่บนกิ่งฟ้าก็ย่อมจะมีไม่ได้ แล้วเช่นนี้จะมีอะไรอีกสำหรับปัญหาการบรรลุและไม่บรรลุ กล่าวให้ชัดขึ้นอีกคือ เมื่อตัวตน อัตตา อาตมัน เป็นสิ่งว่างเปล่าไม่มีแก่นสารอยู่จริง เป็นสักแต่คำพูด เป็นสมมติโวหารเท่านั้นแล้ว การประหารกิเลสของสิ่งที่ไม่มีจริงนั้นจะเป็นจริงได้อย่างไร อนึ่ง อุปมาว่ามายาบุรุษผู้ถูกประหารอันเปรียบด้วยกิเลสทั้งหลาย ก็ไม่มีอยู่จริงเช่นนี้แล้ว ถ้าเกิดความเข้าใจผิดว่า มีสิ่งอันตนประหาร หรือมีสิ่งอันตนได้บรรลุถึง (มรรค ผล นิพพาน) แล้วไซร้ จะหลีกเลี่ยงส่วนสุดทั้งสองข้าง (เที่ยงแท้-ขาดสูญ) ได้อย่างไร มาธยมิกะแสดงหลักว่าทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรมมีสภาพเท่ากันคือเป็นสูญยตา เพราะการมีอยู่แห่งสังขตะจึงมีอสังขตะ หากสังขตธรรมเป็นมายาหามีอยู่จริงไม่โดยปรมัตถ์แล้ว อสังขตธรรมอันเป็นคู่ตรงข้ามก็ย่อมไม่มีไปด้วย อุปมาดั่งดอกฟ้ากับเขากระต่าย หรือนางหินมีครรภ์ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยมีในโลก เช่นนั้นแล้วบุตรอันเกิดจากนางหินมีครรภ์จะมีอย่างไรได้ แม้แต่ความสูญเองก็เป็นมายาด้วยเช่นกัน แต่กระนั้น ปรัชญาศูนยวาทก็ยังยืนยันในเรื่องนิพพานและบุญบาปว่าเป็นสิ่งมีอยู่ เพียงแต่คัดค้านสิ่งที่ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเองเท่านั้น เพราะสรรพสิ่งเป็นศูนยตานั่นเอง คนทำกรรมดีย่อมได้ดี ทำกรรมชั่วย่อมได้ชั่ว ปุถุชนจึงบรรลุเป็นพระอริยะได้ หาไม่หากสรรพสิ่งเที่ยงแท้อยู่โดยตัวของมันเองแล้วย่อมไม่แปรผัน เมื่อนั้นมรรคผลนิพพานก็จะมีไม่ได้ด้วย
อ้างอิง
- ภรัต ซิงห์ อุปัธยายะ.นักปราชญ์พุทธ.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542.
- สุชิน ทองหยวก.ปรัชญามาธยมิก.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2509.
- เสถียร โพธินันทะ.ปรัชญามหายาน.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2541.
- ________.วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540.
- Kalupahana David J. Nagarjuna:The Philosophy of the Middle Way. State University of New York Press, 1986.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nakharchuna न ग र ज न latin Nagarjuna etluku న గ ర జ న cin 龍樹 michiwitinchwngpraman ph s 700 800 epnnkchawxinediythimixiththiphlsungsudrxngcakphraokhtmphuththeca thankxtngsankmthymka sungepnnikayinsasnaphuththfaymhayan epnthisrththaaelaklawthunginhmunksuksaphuththsasnachawyuorpmaodytlxd thimiphlnganoddednindanphwwithyaaelatrrksastr phlngansakhykhxngthankhuxkhmphir xnepnphunthansakhykhxngaenwkhidsunywath prakxbdwykarika 400 karika in 27 priechth hnngsuxelmniidrbkarykyxngtlxdma sasnikchnmhayanthuknikayykyxngthaninthanakhuruphuyingihyesmx xyangirktam prawtikhxngthanklbimchdecnethathikhwrphranakharchunaruppnkhxngphranakharchuna inwdphuththaebbthiebtaehnghninginshrachxanackrprawtitamprawtithiaeplepnphasacinodyphrakumarchiwaemuxpraman kh s 405 idklawwa phranakharchunaepnchaw ekidinskulphrahmn aetkhxmulthibnthukodyphrathngsacngrabuwa thanekidinaekhwnokslphakhit thanepnphrashaythimixayuileliykbphraecaychysriekhatmibutr kh s 166 196 prawtiintxntnimaenchd hlkthankhxngthiebtklawwathanxxkbwchtngaetwyedkenuxngcakmiphuthanaywacaxayusn bangkwainwyedkmardakhxngthanidrbkhathanaywathannakharchunacaimxacmibutr thangaekkhuxtxngcdphithieliyngphrahmn 100 khn khrxbkhrwkhxngthancungtxngcdphithidngklaw aethlngcaknnphrahmnkyngthanaywatxngcdphithiechnnixikenuxngcakyngimsinekhraah krathnghlngcakthimardathaphithieliyngphrahmnepnkhrngthisam mardacungtdsinicihthanxxkbwchkhnaxayuyngimkhrb 7 pi aelaihthanxxkcarikaeswngbuyephuxaeswnghaphuthisamarthchwychiwitthanihrxdphncakkhwamtay thancarikmacnthungnalntha thanidphbkbthanrahulphthraaelaidrbkarsuksathinn aetxiktananhnungklawwathanxxkbwchinwyhnum ehtuenuxngcakthankbshayichewthmntrlklxbekhaipinphrarachwngaelathukcbid shaythanthukcbpraharchiwit enuxngcaktwthanxthisthanwahakrxdphncakkarcbkuminkhrngnicaxxkbwchinphraphuththsasna hlngcakxupsmbthaelwidsuksaphraitrpidkecncbphayin 90 wn mikhwamrxbruinitrephthaelasilpsastrnanachnid prawtithanpraktepntananechingxphiniharinphuththsasnanikaytang cnyakcahakhxsrup tananelawathanidlngipyngemuxngbadalephuxxyechiykhmphirprchyaparmitakhunmacaknakhmnethiyr aelaepnphuepidkruphrathrrmernlbkhxngmntryansungphrawchrstwbrrcuissthupehlkiw idmikarxangwathanphankxyuinsthanthihlayaehngkhxngxinediy echn sribrrphtinxinediyphakhit inkhmphirthiebtklawwathanichewlachwnghnungxyuthinalnthadwy sahrbnamwa nakharchuna nn mithimacakkhawa nakha kb xrchuna odythixrchunepnchuxkhxngtnimsungechuxknwaepnthikaenidkhxngthan bangkxthibaytangipwa nakhahmaythungpyyayan aesdngthungsmrrthphaphthangstipyyakhxngphuthisamarthexachnakielsaswalngid dngnnchuxkhxngphranakharchunacungxacepnchuxcringhruxnamchayathimibukhkhlykyxngkhuninphayhlngkid aelamikhxsnnisthanmakmayekidkhunekiywkberuxngni xyangirktam mikhwamepnipidwa nkprachythiminamwanakharchunann xacmixyuhlaykhn thaihbukhkhlinchnhlngekidkhwamsbsnaelaekhaicphidwaepnbukhkhlkhnediywkn thaihmitananeruxngrawprakttangknxxkip xyangirktam inthangprchyayxmthuxexakhurunakharchunaphurcnakhmphirmathymiksastrepnsakhy nganekhiynkhxngnakharchunann thuxepnphunthankarkaenidsankmthymka sungmikarthaythxdipyngcin odyeriykwa sanksamkhmphir sanlun 三論 thanidrbkarykyxngnbthuxinthanaphusthapnaaenwkhidprchyaparmita aelamikhwamsmphnthiklchidkbmhawithyalynalntha khmphirsakhykhxngthannakharchunathihlngehluxmathungpccubnidaek mulmthymkkarika mathymiksastr sunytasptti yuktisstika wikhrhwyawrtni suhvlelkha rtnawli iwthlyprkrna sunglwnepnkarxrrthathibayphuththphcndwytrrkwithyaxnechiybkhm aelahlkprchyasunytwath nxkcakniyngminganekhiynxikcanwnmakthixangwaepnphlngankhxngthanephuxihngannn mikhwamnaechuxthux phlnganhlayelmyngkhngepnthithkethiyngknwaepnphlnganthiaethcringkhxngthanhruxim aenwkhidthangprchyathngkarupphranakharchunaaela 84 mhasiththacaryinsasnaphuththwchryan silpathiebt phranakharchunaxthibayhlkphuththphcnbnphunthankhxngprchyasunytwath sungklawiwxyangchdecninnganekhiynkhxngthankhux mathymiksastr khawamathymikahmaythungthangsayklang ephraachannaenwkhidkhxngmathymikakkhuxprchyasayklangrahwangssstthitthi khwamehnwamixyuxyangethiyngaeth aelaxucechththitthi khwamehnwakhadsuy tamthiphuththprchyaxthibaywasrrphsinglwnxingxasyknekidkhun immisingidmiswphawathidarngxyuiddwytwkhxngmnexng cungeriykwasuyyta thwakimidhmaykhwamwaepnkhwamwangeplahruxkhadsuyaebbxucechththitthi hakhmaythung immisaraintwexng aetepnephraaehtupccyxingxasyknekidkhunaebbpccyakar srrphsinginolkcunglwnepnkhwamsmphnth echnkhwamsnaelakhwamyawekidkhunephraamikarepriybethiybkbxiksinghnungesmx ephraachannsaraxnaethcringkhxngkhwamsnaelakhwamyawcungimmi cungepnsunyta aelathuksingodysphaphprmtthaelwlwnepnsunyta prascakaeknsarihyudmnthuxmnid aenwkhidkhxngmathymikaepnphthnakarthangtrrkwithyaxnsukhumlumlukkhxngmhayan ephuxichehtuphlthangtrrkakhdkhankhwamechuxinkhwammixyukhxngxtta rwmthng sungphrahmnaelalththinxkphraphuththsasnaxun echuxthuxwa epnsingthidarngxyuodytwexng imxingxasysingid aelaepnaeknsarkhxngsrrphsing aethlkprchyakhxngphraphuththsasnayxmsxnihekhathungkhwamdbrxbodyaethcring aemthngtwphuruaelasingthiruyxmdbthngsin klawkhuxodyprmtthaelwthngphraniphphanaelaphubrrluniphphanyxmepnsunynnexng ephraaemuxthrrmthngpwngepnxntta ekidcakehtupccycungprascaktwtn emuxprascakaeknsartwtn aelwxairelathiepnphudbkielsaelabrrluphraniphphan eracaehnidwawangeplathngsin immistwbukhkhlmatngaetaerk epnskaetchuxeriykwastwbukhkhltwtneraekhaethann sngsarwtlwnepnmaya odyaethaelwhaidmisphawaidekidkhunhruxdbip ephraachanncungklawwatwtnphubrrluniphphanimmiesiyaelw phraniphphanxnphunncabrrlucungphlxyimmiipdwy twxyangineruxngniprchyamathymikidichxupmawa epriybehmuxnmayaburuskhnhnungpraharmayaburusxikkhnhnung karpraharkhxngmayaburusthngsxngyxmepnmayaipdwychnid thngphubrrluniphphanaelasphawaaehngniphphanyxmepnsunyipdwychnnn hruxepriybkingfasungimmixyucring singthiaekhwnxyubnkingfakyxmcamiimid aelwechnnicamixairxiksahrbpyhakarbrrluaelaimbrrlu klawihchdkhunxikkhux emuxtwtn xtta xatmn epnsingwangeplaimmiaeknsarxyucring epnskaetkhaphud epnsmmtiowharethannaelw karpraharkielskhxngsingthiimmicringnncaepncringidxyangir xnung xupmawamayaburusphuthukpraharxnepriybdwykielsthnghlay kimmixyucringechnniaelw thaekidkhwamekhaicphidwa misingxntnprahar hruxmisingxntnidbrrluthung mrrkh phl niphphan aelwisr cahlikeliyngswnsudthngsxngkhang ethiyngaeth khadsuy idxyangir mathymikaaesdnghlkwathngsngkhtthrrmaelaxsngkhtthrrmmisphaphethaknkhuxepnsuyyta ephraakarmixyuaehngsngkhtacungmixsngkhta haksngkhtthrrmepnmayahamixyucringimodyprmtthaelw xsngkhtthrrmxnepnkhutrngkhamkyxmimmiipdwy xupmadngdxkfakbekhakratay hruxnanghinmikhrrphsungepnsingthiimekhymiinolk echnnnaelwbutrxnekidcaknanghinmikhrrphcamixyangirid aemaetkhwamsuyexngkepnmayadwyechnkn aetkrann prchyasunywathkyngyunynineruxngniphphanaelabuybapwaepnsingmixyu ephiyngaetkhdkhansingthidarngxyudwytwkhxngmnexngethann ephraasrrphsingepnsunytannexng khnthakrrmdiyxmiddi thakrrmchwyxmidchw puthuchncungbrrluepnphraxriyaid haimhaksrrphsingethiyngaethxyuodytwkhxngmnexngaelwyxmimaeprphn emuxnnmrrkhphlniphphankcamiimiddwyxangxingphrt singh xupthyaya nkprachyphuthth krungethph mhamkutrachwithyaly 2542 suchin thxnghywk prchyamathymik krungethph mhamkutrachwithyaly 2509 esthiyr ophthinntha prchyamhayan krungethph mhamkutrachwithyaly 2541 wchrprchyaparmitasutr krungethph mhamkutrachwithyaly 2540 Kalupahana David J Nagarjuna The Philosophy of the Middle Way State University of New York Press 1986