บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
พระเจ้าเซจงมหาราช (เกาหลี: 세종대왕; ฮันจา: 世宗大王 , พ.ศ. 1940 ถึง พ.ศ. 1993) พระนามเดิมว่า อี โด (เกาหลี: 이도) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่สี่แห่งราชวงศ์โชซ็อน เดิมทีมีพระอิสริยยศว่า เจ้าชายชุงนย็อง (เกาหลี: 중녕대군) พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของพระเจ้าแทจงแห่งโชซ็อนและพระราชินีว็อนกย็อง ในปี ค.ศ. 1418 พระองค์ได้รับการสถาปนาให้เป็นรัชทายาทต่อจากพระเชษฐาของพระองค์คือเจ้าชายรัชทายาทอี เจ (เกาหลี: 왕세자이제) ซึ่งถูกถอดจากพระอิสริยยศ ปัจจุบัน พระเจ้าเซจงมหาราชได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลี
พระเจ้าเซจงมหาราช | |||||
---|---|---|---|---|---|
(พระมหากษัตริย์แห่งโชซ็อน) | |||||
ครองราชย์ | 18 กันยายน พ.ศ. 1961—8 เมษายน พ.ศ. 1993 (31 ปี 303 วัน) | ||||
ราชาภิเษก | 18 กันยายน พ.ศ. 1961 | ||||
ก่อนหน้า | พระเจ้าแทจง | ||||
ถัดไป | พระเจ้ามุนจง | ||||
ผู้สำเร็จราชการ | พระเจ้าหลวงแทจง (1961–1965) (อดีตพระราชา) มกุฎราชกุมารอี ฮยาง (1985–1993) (รัชทายาท) | ||||
พระราชสมภพ | 15 พฤษภาคม พ.ศ. 1940 | ||||
สวรรคต | 8 เมษายน พ.ศ. 1993 (52 ปี 328 วัน) | ||||
คู่อภิเษก | พระนางโซฮ็อน | ||||
พระราชบุตร | พระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อน พระเจ้าเซโจ | ||||
| |||||
ราชวงศ์ | โชซ็อน | ||||
พระราชบิดา | พระเจ้าแทจง | ||||
พระราชมารดา | พระราชินีว็อนกย็อง | ||||
ศาสนา | พุทธ (เดิมลัทธิขงจื๊อ) |
Korean name | |
ฮันกึล | 세종대왕 |
---|---|
ฮันจา | 世宗大王 |
อาร์อาร์ | Sejong Daewang |
เอ็มอาร์ | Sejong Taewang |
ชื่อเกิด | |
ฮันกึล | 이도 |
ฮันจา | 李裪 |
อาร์อาร์ | I Do |
เอ็มอาร์ | Yi To |
ชื่อวัยเยาว์ | |
ฮันกึล | 원정 |
ฮันจา | 元正 |
อาร์อาร์ | Won Jeong |
เอ็มอาร์ | Wŏn Chŏng |
แม้จะขึ้นครองราชบัลลังก์หลังจากการสละราชบัลลังก์โดยสมัครใจของพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1418 แต่พระเจ้าเซจงก็เป็นเพียงกษัตริย์หุ่นเชิดในขณะที่พระเจ้าแทจงยังคงกุมพระราชอำนาจที่แท้จริงและปกครองประเทศจนกระทั่งสวรรคตในปี ค.ศ. 1422 พระเจ้าเซจงจึงเป็นกษัตริย์แต่เพียงผู้เดียวเป็นเวลา 28 ปี แม้ว่าหลังจากปี ค.ศ. 1439 พระองค์จะประชวรหนักมากขึ้น และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1442 พระราชโอรสองค์โตของพระองค์คือเจ้าชายรัชทายาทอี ฮยาง (เกาหลี: 왕세자이향, พระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อนในอนาคต) จึงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
พระเจ้าเซจงได้สนับสนุนและส่งเสริมลัทธิขงจื๊อแบบเกาหลีและลัทธิขงจื๊อใหม่และออกกฎหมายแก้ไขกฎหมายที่สำคัญ พระองค์สร้างและประกาศใช้อักษรเกาหลี (ปัจจุบันเรียกว่าอักษรฮันกึล) ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และแนะนำมาตรการเพื่อกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ พระองค์ส่งทัพไปทางเหนือและก่อตั้ง Samin Jeongchaek (นโยบายการย้ายถิ่นฐานของชาวนา) เพื่อดึงดูดผู้ตั้งถิ่นฐานใหม่ ทางใต้ พระองค์ช่วยปราบระหว่าง
พระราชประวัติ
อี โด (เกาหลี: 이도; ฮันจา: 李裪) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามของพระเจ้าแทจงกับพระราชินีว็อนกย็อง เมื่อพระชนมายุ 16 พรรษาได้รับสถาปนาเป็นเจ้าชายชุงนยอง (충녕대군; 忠寧大君) และทรงอภิเษกกับพระชายาชิม ซึ่งภายหลังได้รับสถาปนาเป็นพระนางโซฮ็อน พระเชษฐาทั้งสองของพระองค์คือเจ้าชายยังนยอง และเจ้าชายฮโยรยองเห็นถึงความสามารถของเจ้าชายชุงนยองแต่ยังเยาว์ จึงคิดจะยกบัลลังก์ให้โดยการประพฤติตนเหลวแหลกในราชสำนัก ทำให้เจ้าชายทั้งสองถูกขับออกจากวัง เมื่อพระเจ้าแทจงสละบัลลังก์ใน พ.ศ. 1961 ก็ได้ให้เจ้าชายชุงนยองครองราชย์เป็นพระเจ้าเซจง
ฮันกึล
ราชกิจอย่างแรกของพระเจ้าเซจงคือการก่อตั้งชิบฮย็อนจอน สำนักปราชญ์ขงจื้อที่เป็นแหล่งรวมผู้มีความรู้เกี่ยวกับปรัชญาขงจื้อของประเทศ และยังเป็นแหล่งการศึกษาของนักปราชญ์ขงจื้อที่สำคัญอีกหลายท่านในอนาคต
ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานชาวเกาหลีไม่มีอักษรเป็นของตนเองแต่ใช้อักษรจีนที่รับมา เรียกว่าฮันจา ซึ่งอักษรจีนเป็นอักษรที่สลับซับซ้อนในการเขียน การเรียนรู้และการจดจำ ดังนั้นในสมัยโชซ็อนจึงมีแต่ยังบันที่เป็นชนชั้นขุนนางเท่านั้นที่เขียนฮันจาเป็น ทั่วไปจึงอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ อีกทั้งอักษรจีนยังใช้แทนเสียงในภาษาเกาหลี ได้ไม่ลื่นนัก ใน พ.ศ. 1989 พระเจ้าเซจงจึงทรงให้นักปราชญ์และนักประดิษฐ์ชื่อ จางยองชิล เดิมเป็น แต่พระเจ้าเซจงทรงเล็งเห็นในความสามารถจึงแต่งตั้งให้เป็นขุนนางขั้นชอง 3 พุม พระราชทานกำลังทรัพย์และอำนาจที่จะประดิษฐ์อะไรก็ได้ จางยองชิลได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ อันแรกของโลกในปี พ.ศ. 1984 และยังสร้างนาฬิกาน้ำ นาฬิกาแดด และ สำหรับโหรหลวงใช้ในการศึกษาดวงดาว แต่ชางยองชิลนั้นได้รับการต่อต้านจากขุนนาง เพราะชางยองชิลเป็นชอนมิน ชนชั้นต่ำสุดในสังคมโชซ็อน ต่ำแหน่งสูง ๆ ของขุนนางสงวนไว้สำหรับยังบันเท่านั้น จนในที่สุดชางยองชิลก็ถูกปลดใน พ.ศ. 1985
พระเจ้าเซจงทรงเห็นถึงปัญหาของชาวนา ในการทำเกษตรกรรม แล้วไม่ได้ผล และได้รับความลำบากเมื่อน้ำท่วม หรือ จึงทรงให้มีการแต่งหนังสือนงซาจิกซอล รวบรวมความรู้ประสบการณ์ในการทำการเกษตรจากเกษตรกรอาวุโสทั่วอาณาจักร และยังทรงลดภาษีเกษตรกร เพื่อมิให้เกษตรกรต้องลำบากและมีทรัพย์ในการทำเกษตรกรรมมากขึ้น
ป้องกันประเทศ
พระเจ้าเซจงยังทรงดำเนินนโยบายต้านทานผู้รุกรานต่างชาติอีกด้วย โดยพระเจ้าแทจงซึ่งเป็นแทซังวังอยู่นั้นได้แนะนำให้พระเจ้าเซจงส่งอีจองมูไปบุกที่เป็นแหล่งของ จน พ.ศ. 1962 ตระกูลโซเจ้าครองเกาะซึชิมาได้ยอมจำนนและส่งบรรณาการไปยังฮันซอง และพ.ศ. 1963 เกาะซึชิมาก็ขึ้นตรงต่อของโชซ็อน
ทางเหนือพระเจ้าเซจงก็ทรงก่อตั้ง สี่ป้อมหกปราการ (เกาหลี: 사군육진; ซากุนยุกจิน) เพื่อป้องกันการรุกรานของพวกแมนจูทางเหนือ และใน พ.ศ. 1976 ทรงส่งคิมจงซอ ไปบุกขยายอาณาเขตทางเหนือ จนโชซ็อนมีอาณาเขตติดแม่น้ำยาลู
พระราชกรณียกิจต่าง ๆ ของพระเจ้าเซจงนั้นยังคุณประโยชน์มากมายต่ออาณาจักรโชซ็อน และรวมไปถึงประเทศเกาหลีทั้งเหนือและใต้ในปัจจุบันด้วย เพราะทรงส่งเสริมวัฒนธรรมเกาหลี ทำให้ชาวเกาหลีมีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเองในทุกวันนี้ และพระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ยังปรากฏบนธนบัตร 10,000 วอนของเกาหลีใต้ เมื่อพระนางโซฮ็อนสวรรคต พระเจ้าเซจงทรงเศร้าโศกพระราชหฤทัย จนสวรรคตใน พ.ศ. 1993 มีพระเจ้ามุนจง สืบต่อราชบัลลังก์
พระนามเต็ม
- พระเจ้าเซจง จางฮอน ยองมุน เยมู อินซอง มยองฮโย
- 세종장헌영문예무인성명효대왕
- 世宗莊憲英文睿武仁聖明孝大王
พระบรมวงศานุวงศ์
- พระราชบิดา: พระเจ้าแทจง (태종)
- พระราชมารดา: พระนางว็อนกย็อง สกุลมิน แห่งยอฮึง (เกาหลี: 원경왕후 민씨; ฮันจา: 元敬王后 閔氏, กันยายน 1337 – 12 กันยายน 1391)
พระอัครมเหสี พระสนม พระราชโอรส พระธิดา
- พระนางโซฮ็อน สกุลซิม แห่งช็องซง (เกาหลี: 소헌왕후 심씨; ฮันจา: 昭憲王后 沈氏, 28 กันยายน 1395-24 มีนาคม 1446)
- อี ฮยาง, พระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อน
- อี ยู, พระเจ้าเซโจ
- อี ยอง, เจ้าชายอันพยอง
- อี กู, เจ้าชายอีมยอง
- อี ยอ, เจ้าชายควางพยอง
- อี ยู, เจ้าชายกึมซอง พ
- อี อิม, เจ้าชายพยองวอน
- อี ยอม, เจ้าชายยอนกึม
- เจ้าหญิงจองโซ
- เจ้าหญิงจองอึย
- พระสนมเอกฮเยบิน สกุลยาง แห่งชองจู (เกาหลี: 혜빈 양씨; ฮันจา: 惠嬪 楊氏, ?-9 พฤศจิกายน 1455)
- อี โอ, เจ้าชายฮันนัม
- อี ฮย็อน, เจ้าชายซูชอน
- อี จอน, เจ้าชายยองพุง
- พระสนมเอกยองบิน สกุลคัง แห่งจินจู (เกาหลี: 영빈 강씨; ฮันจา: 令嬪 姜氏)
- อี ยอง, เจ้าชายฮวาอึย
- พระสนมเอกซินบิน สกุลคิม แห่งชองจู (เกาหลี: 신빈 김씨; ฮันจา: 慎嬪 金氏, 1406-4 กันยายน 1464)
- อี จอง, เจ้าชายคเยยาง
- อี คง, เจ้าชายอึยชาง
- อี ชิม, เจ้าชายมิลซอง
- อี ยอน, เจ้าชายอิกฮย็อน
- อี ทัง, เจ้าชายยองแฮ
- อี โก, เจ้าชายทัมยาง
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- พระสนมควีอิน สกุลปาร์ค (เกาหลี: 귀인 박씨; ฮันจา: 貴人 朴氏)
- พระสนมควีอิน สกุลชเว (เกาหลี: 귀인 최씨; ฮันจา: 貴人 崔氏)
- พระสนมโซยอง ตระกูลฮง (เกาหลี: 소용 홍씨)
- พระสนมซุกวอน ตระกูลลี (เกาหลี: 숙원 이씨)
- เจ้าหญิงจองอัน
- ซังชิม ตระกูลซง (เกาหลี: 상침 송씨; ฮันจา: 尙寢 宋氏, ค.ศ. 1396-ค.ศ. 1463)
- เจ้าหญิงจองฮย็อน
- พระสนมซากี ตระกูลชา (เกาหลี: 사기 차씨; ฮันจา: 司記 車氏, ?-10 กรกฎาคม 1444)
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
พงศาวลี
พงศาวลีของพระเจ้าเซจงมหาราช | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
- "跬步之間, 但知有人, 而不辨爲某某也". National Institute of Korean History. สืบค้นเมื่อ 2020-11-03.
- Kim-Renaud, Young-Key (1997). The Korean Alphabet: Its History and Structure (ภาษาอังกฤษ). University of Hawaii Press. p. 15. ISBN .
- "알고 싶은 한글". 국립국어원. National Institute of Korean Language. สืบค้นเมื่อ 4 December 2017.
- www.chosonkorea.org/index.php/people/kings/king-sejong-the-great
ก่อนหน้า | พระเจ้าเซจงมหาราช | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระเจ้าแทจง | พระมหากษัตริย์แห่งโชซ็อน (พ.ศ. 1961 - พ.ศ. 1993) | พระเจ้ามุนจง|} |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phraecaescngmharach khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phraecaescngmharach ekahli 세종대왕 hnca 世宗大王 ph s 1940 thung ph s 1993 phranamedimwa xi od ekahli 이도 epnphramhakstriyladbthisiaehngrachwngsochsxn edimthimiphraxisriyyswa ecachaychungnyxng ekahli 중녕대군 phraxngkhthrngepnphrarachoxrsxngkhthi 3 khxngphraecaaethcngaehngochsxnaelaphrarachiniwxnkyxng inpi kh s 1418 phraxngkhidrbkarsthapnaihepnrchthayathtxcakphraechsthakhxngphraxngkhkhuxecachayrchthayathxi ec ekahli 왕세자이제 sungthukthxdcakphraxisriyys pccubn phraecaescngmharachidrbkarykyxngwaepnhnunginphunathiyingihythisudinprawtisastrekahliphraecaescngmharachphramhakstriyaehngochsxnkhrxngrachy18 knyayn ph s 1961 8 emsayn ph s 1993 31 pi 303 wn rachaphiesk18 knyayn ph s 1961kxnhnaphraecaaethcngthdipphraecamuncngphusaercrachkarphraecahlwngaethcng 1961 1965 xditphraracha mkudrachkumarxi hyang 1985 1993 rchthayath phrarachsmphph15 phvsphakhm ph s 1940swrrkht8 emsayn ph s 1993 52 pi 328 wn khuxphieskphranangoshxnphrarachbutrphraecamuncngaehngochsxn phraecaesocphranametmescngrachwngsochsxnphrarachbidaphraecaaethcngphrarachmardaphrarachiniwxnkyxngsasnaphuthth edimlththikhngcux Korean namehnkul세종대왕hnca世宗大王xarxarSejong DaewangexmxarSejong Taewangchuxekidhnkul이도hnca李裪xarxarI DoexmxarYi Tochuxwyeyawhnkul원정hnca元正xarxarWon JeongexmxarWŏn Chŏng aemcakhunkhrxngrachbllngkhlngcakkarslarachbllngkodysmkhrickhxngphrarachbidainpi kh s 1418 aetphraecaescngkepnephiyngkstriyhunechidinkhnathiphraecaaethcngyngkhngkumphrarachxanacthiaethcringaelapkkhrxngpraethscnkrathngswrrkhtinpi kh s 1422 phraecaescngcungepnkstriyaetephiyngphuediywepnewla 28 pi aemwahlngcakpi kh s 1439 phraxngkhcaprachwrhnkmakkhun aelatngaetpi kh s 1442 phrarachoxrsxngkhotkhxngphraxngkhkhuxecachayrchthayathxi hyang ekahli 왕세자이향 phraecamuncngaehngochsxninxnakht cungthahnathiepnphusaercrachkaraethnphraxngkh phraecaescngidsnbsnunaelasngesrimlththikhngcuxaebbekahliaelalththikhngcuxihmaelaxxkkdhmayaekikhkdhmaythisakhy phraxngkhsrangaelaprakasichxksrekahli pccubneriykwaxksrhnkul sngesrimkhwamkawhnathangwithyasastraelaethkhonolyi aelaaenanamatrkarephuxkratunkaretibotthangesrsthkic phraxngkhsngthphipthangehnuxaelakxtng Samin Jeongchaek noybaykaryaythinthankhxngchawna ephuxdungdudphutngthinthanihm thangit phraxngkhchwyprabrahwangphrarachprawtixi od ekahli 이도 hnca 李裪 epnphrarachoxrsphraxngkhthisamkhxngphraecaaethcngkbphrarachiniwxnkyxng emuxphrachnmayu 16 phrrsaidrbsthapnaepnecachaychungnyxng 충녕대군 忠寧大君 aelathrngxphieskkbphrachayachim sungphayhlngidrbsthapnaepnphranangoshxn phraechsthathngsxngkhxngphraxngkhkhuxecachayyngnyxng aelaecachayhoyryxngehnthungkhwamsamarthkhxngecachaychungnyxngaetyngeyaw cungkhidcaykbllngkihodykarpraphvtitnehlwaehlkinrachsank thaihecachaythngsxngthukkhbxxkcakwng emuxphraecaaethcngslabllngkin ph s 1961 kidihecachaychungnyxngkhrxngrachyepnphraecaescnghnkulrachkicxyangaerkkhxngphraecaescngkhuxkarkxtngchibhyxncxn sankprachykhngcuxthiepnaehlngrwmphumikhwamruekiywkbprchyakhngcuxkhxngpraeths aelayngepnaehlngkarsuksakhxngnkprachykhngcuxthisakhyxikhlaythaninxnakht tlxdprawtisastrxnyawnanchawekahliimmixksrepnkhxngtnexngaetichxksrcinthirbma eriykwahnca sungxksrcinepnxksrthislbsbsxninkarekhiyn kareriynruaelakarcdca dngnninsmyochsxncungmiaetyngbnthiepnchnchnkhunnangethannthiekhiynhncaepn thwipcungxanimxxkekhiynimid xikthngxksrcinyngichaethnesiynginphasaekahli idimlunnk in ph s 1989 phraecaescngcungthrngihnkprachyaelankpradisthchux cangyxngchil edimepn aetphraecaescngthrngelngehninkhwamsamarthcungaetngtngihepnkhunnangkhnchxng 3 phum phrarachthankalngthrphyaelaxanacthicapradisthxairkid cangyxngchilidchuxwaepnphupradisth xnaerkkhxngolkinpi ph s 1984 aelayngsrangnalikana nalikaaedd aela sahrbohrhlwngichinkarsuksadwngdaw aetchangyxngchilnnidrbkartxtancakkhunnang ephraachangyxngchilepnchxnmin chnchntasudinsngkhmochsxn taaehnngsung khxngkhunnangsngwniwsahrbyngbnethann cninthisudchangyxngchilkthukpldin ph s 1985 phraecaescngthrngehnthungpyhakhxngchawna inkarthaekstrkrrm aelwimidphl aelaidrbkhwamlabakemuxnathwm hrux cungthrngihmikaraetnghnngsuxnngsaciksxl rwbrwmkhwamruprasbkarninkarthakarekstrcakekstrkrxawuosthwxanackr aelayngthrngldphasiekstrkr ephuxmiihekstrkrtxnglabakaelamithrphyinkarthaekstrkrrmmakkhunpxngknpraethsphraecaescngyngthrngdaeninnoybaytanthanphurukrantangchatixikdwy odyphraecaaethcngsungepnaethsngwngxyunnidaenanaihphraecaescngsngxicxngmuipbukthiepnaehlngkhxng cn ph s 1962 trakulosecakhrxngekaasuchimaidyxmcannaelasngbrrnakaripynghnsxng aelaph s 1963 ekaasuchimakkhuntrngtxkhxngochsxn thangehnuxphraecaescngkthrngkxtng sipxmhkprakar ekahli 사군육진 sakunyukcin ephuxpxngknkarrukrankhxngphwkaemncuthangehnux aelain ph s 1976 thrngsngkhimcngsx ipbukkhyayxanaekhtthangehnux cnochsxnmixanaekhttidaemnayalu phrarachkrniykictang khxngphraecaescngnnyngkhunpraoychnmakmaytxxanackrochsxn aelarwmipthungpraethsekahlithngehnuxaelaitinpccubndwy ephraathrngsngesrimwthnthrrmekahli thaihchawekahlimikhwamphakhphumiicinwthnthrrmkhxngtnexnginthukwnni aelaphrasathislksnkhxngphraxngkhyngpraktbnthnbtr 10 000 wxnkhxngekahliit emuxphranangoshxnswrrkht phraecaescngthrngesraoskphrarachhvthy cnswrrkhtin ph s 1993 miphraecamuncng subtxrachbllngkphranametmphraecaescng canghxn yxngmun eymu xinsxng myxnghoy 세종장헌영문예무인성명효대왕 世宗莊憲英文睿武仁聖明孝大王phrabrmwngsanuwngsphrarachbida phraecaaethcng 태종 phrarachmarda phranangwxnkyxng skulmin aehngyxhung ekahli 원경왕후 민씨 hnca 元敬王后 閔氏 knyayn 1337 12 knyayn 1391 phraxkhrmehsi phrasnm phrarachoxrs phrathida phranangoshxn skulsim aehngchxngsng ekahli 소헌왕후 심씨 hnca 昭憲王后 沈氏 28 knyayn 1395 24 minakhm 1446 xi hyang phraecamuncngaehngochsxn xi yu phraecaesoc xi yxng ecachayxnphyxng xi ku ecachayximyxng xi yx ecachaykhwangphyxng xi yu ecachaykumsxng ph xi xim ecachayphyxngwxn xi yxm ecachayyxnkum ecahyingcxngos ecahyingcxngxuy phrasnmexkheybin skulyang aehngchxngcu ekahli 혜빈 양씨 hnca 惠嬪 楊氏 9 phvscikayn 1455 xi ox ecachayhnnm xi hyxn ecachaysuchxn xi cxn ecachayyxngphung phrasnmexkyxngbin skulkhng aehngcincu ekahli 영빈 강씨 hnca 令嬪 姜氏 xi yxng ecachayhwaxuy phrasnmexksinbin skulkhim aehngchxngcu ekahli 신빈 김씨 hnca 慎嬪 金氏 1406 4 knyayn 1464 xi cxng ecachaykheyyang xi khng ecachayxuychang xi chim ecachaymilsxng xi yxn ecachayxikhyxn xi thng ecachayyxngaeh xi ok ecachaythmyang ecahyingimthrabphranam ecahyingimthrabphranam phrasnmkhwixin skulparkh ekahli 귀인 박씨 hnca 貴人 朴氏 phrasnmkhwixin skulchew ekahli 귀인 최씨 hnca 貴人 崔氏 phrasnmosyxng trakulhng ekahli 소용 홍씨 phrasnmsukwxn trakulli ekahli 숙원 이씨 ecahyingcxngxn sngchim trakulsng ekahli 상침 송씨 hnca 尙寢 宋氏 kh s 1396 kh s 1463 ecahyingcxnghyxn phrasnmsaki trakulcha ekahli 사기 차씨 hnca 司記 車氏 10 krkdakhm 1444 ecahyingimthrabphranamphngsawliphngsawlikhxngphraecaescngmharach 8 xi ca chun 4 phraecaaethocaehngochsxn 9 phranangxuyhey 2 phraecaaethcng 5 phranangchinxuy 1 phraecaescngmharach 3 phrarachiniwxnkyxng xangxing 跬步之間 但知有人 而不辨爲某某也 National Institute of Korean History subkhnemux 2020 11 03 Kim Renaud Young Key 1997 The Korean Alphabet Its History and Structure phasaxngkvs University of Hawaii Press p 15 ISBN 9780824817237 알고 싶은 한글 국립국어원 National Institute of Korean Language subkhnemux 4 December 2017 www chosonkorea org index php people kings king sejong the great sthaniyxypraethsekahlisthaniyxyprawtisastrsthaniyxyphramhakstriyaelaphrabrmwngsanuwngswikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb phraecaescngmharach kxnhna phraecaescngmharach thdipphraecaaethcng phramhakstriyaehngochsxn ph s 1961 ph s 1993 phraecamuncng bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk