บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
พระเจ้าแทจง (เกาหลี: 태종; ฮันจา: 太宗; อาร์อาร์: Taejong; เอ็มอาร์: T'aejong; 13 มิถุนายน ค.ศ. 1367 – 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422) พระนามเดิม อี พังว็อน (เกาหลี: 이방원; ฮันจา: 李芳遠) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเซจงมหาราช ก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์มีพระนามว่า เจ้าชายช็องอัน (เกาหลี: 정안군; ฮันจา: 靖安君)
พระเจ้าแทจงแห่งโชซ็อน 朝鮮太宗 조선 태종 | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
มกุฎราชกุมารโชซ็อน | |||||||||
ดำรงตำแหน่ง | 8 มีนาคม ค.ศ. 1400 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1400 | ||||||||
ก่อนหน้า | พระเจ้าช็องจง | ||||||||
ถัดไป | เจ้าชายยังนย็อง | ||||||||
พระมหากษัตริย์โชซ็อน | |||||||||
ครองราชย์ | 7 ธันวาคม ค.ศ. 1400 – 19 กันยายน ค.ศ. 1418 | ||||||||
ราชาภิเษก | แคซ็อง อาณาจักรโชซ็อน | ||||||||
ก่อนหน้า | พระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน | ||||||||
ถัดไป | พระเจ้าเซจงแห่งโชซ็อน | ||||||||
พระเจ้าหลวงแห่งโชซ็อน | |||||||||
ดำรงตำแหน่ง | 19 กันยายน ค.ศ. 1418 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1422 | ||||||||
ก่อนหน้า | พระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน | ||||||||
ถัดไป | พระเจ้าทันจง | ||||||||
พระราชสมภพ | 13 มิถุนายน ค.ศ. 1367 , Gwiju-dong, ฮัมฮึง, อาณาจักรโครยอ | ||||||||
สวรรคต | มิถุนายน 8, 1422 หอ Yeonhwabang, พระราชวังชังกย็อง, ฮันซ็อง, อาณาจักรโชซ็อน | (54 ปี)||||||||
ฝังพระศพ | สุสาน Heonneung, ฮ็อนอินลึง, , โซล, ประเทศเกาหลีใต้ | ||||||||
พระมเหสี | พระราชินีว็อนกย็อง | ||||||||
พระราชบุตร | พระเจ้าเซจงมหาราช | ||||||||
| |||||||||
ราชวงศ์ | สกุลอี ราชวงศ์โชซ็อน | ||||||||
พระราชบิดา | พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน | ||||||||
พระราชมารดา | พระนางชินอึย | ||||||||
ศาสนา | พุทธแบบเกาหลี ภายหลังนับถือลัทธิขงจื๊อใหม่ | ||||||||
ลายพระอภิไธย |
ชื่อเกาหลี | |
ฮันกึล | 태종 |
---|---|
ฮันจา | 太宗 |
อาร์อาร์ | Taejong |
เอ็มอาร์ | T'aejong |
ชื่อเกิด | |
ฮันกึล | 이방원 |
ฮันจา | 李芳遠 |
อาร์อาร์ | I Bangwon |
เอ็มอาร์ | Yi Pangwŏn |
ชีวิต
ก่อตั้งโชซ็อน
พระเจ้าแทจง มีพระนามเดิมว่า “อีบังวอน” (이방원, 李芳遠) พระราชสมภพในปี ค.ศ. 1367 เป็นบุตรชายคนที่ห้าของอี ซ็อง-กเย (태조, 太祖) สอบผ่านเข้ารับราชการในราชวงศ์โครยอในปี ค.ศ. 1382 ในช่วงแรกเขาช่วยบิดาหาการสนับสนุนจากประชาชนและผู้มีอิทธิพลในรัฐบาล และยังมีส่วนช่วยบิดาในการปราบดาภิเษกก่อตั้งราชวงศ์ใหม่โดยลอบสังหารข้าราชการทรงอิทธิพลอย่างจอง มงจู (정몽주, 鄭夢周) ที่ยังคงภักดีกับราชวงศ์โครยอ อีบังวอนก็ได้รับพระยศเป็นเจ้าชายช็องอัน (정안대군, 靖安大君)
สามัคคีเภทของเจ้าชาย
หลังช่วยบิดาโค่นล้มราชวงศ์เก่าและก่อตั้งโชซอนได้แล้ว พระองค์ก็คาดว่าจะได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สืบราชสมบัติ ทว่าพระราชบิดาและอัครเสนาบดีช็อง โด-จ็อนกลับเลือกอีบังซอก (이방석, 李芳碩) พระราชโอรสพระองค์ที่ 8 ที่พระราชสมภพแด่พระราชินีชินด็อก (신덕왕후, 神德王后) พระมเหสีพระองค์ที่สองในพระเจ้าแทโจ เป็นมกุฎราชกุมารแทน เหตุผลหลักของความขัดแย้งนี้เป็นเพราะช็อง โด-จ็อน ผู้วางรากฐานทางอุดมการณ์ สถาบันและกฎหมายคนสำคัญของราชวงษ์ใหม่ เห็นควรให้โชซอนเป็นอาณาจักรที่มีเสนาบดีบริหารราชการโดยมีพระมหากษัตริย์แต่งตั้ง ขณะที่อี บังวอนเห็นควรว่าพระมหากษัตริย์ควรปกครองโดยตรงแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ความแตกต่างนี้จึงนำไปสู่บรรยากาศความตึงเครียดทางการเมือง หลังพระราชินีซินด็อกเสด็จสวรรคตอย่างกระทันหันใน ค.ศ. 1398 อี บังวอนเป็นผู้นำรัฐประหารระหว่างที่พระเจ้าแทโจกำลังไว้ทุกข์ให้กับพระมเหสี เหตุการณ์นี้ทำให้ช็อง โด-จ็อนและผู้สนับสนุนเสียชีวิต รวมทั้งพระโอรสของพระราชินีซินด็อกสองพระองค์กับมกุฎราชกุมาร เหตุการณ์ดังกล่าวมีคำเรียกว่า "สามัคคีเภทของเจ้าชายครั้งที่หนึ่ง" (First Strife of Princes)
พระเจ้าแทโจทรงหวาดกลัวเมื่อพระราชโอรสเข่นฆ่ากันเองเพื่อแย่งชิงบัลลังก์ อีกทั้งยังหน่ายพระทัยหลังพระมเหสีสวรรคต จึงทรงสละราชบัลลังก์และแต่งตั้งพระโอรสพระองค์ที่สอง อี บังกวา (เป็นพระโอรสที่มีพระชนมายุมากที่สุดที่ยังทรงพระชนม์ชีพ) หรือพระเจ้าช็องจง เป็นพระมหากษัตริย์สืบต่อมา พระราชกรณียกิจแรก ๆ ของพระเจ้าช็องจง กคือการย้ายเมืองหลวงกลับไปยังแคซ็อง เพราะทรงเชื่อว่าสะดวกสบายมากกว่า แต่อี บังวอนเป็นผู้กุมอำนาจที่แท้จริง และไม่ช้าก็กลับมาขัดแย้งกับอี บังกัน (이방간, 李芳幹) หรือเจ้าชายฮวีอัน (회안대군, 懷安大君) พระเชษฐาอีกพระองค์หนึ่ง ที่ใฝ่อำนาจเช่นกัน ใน ค.ศ. 1400 แม่ทัพพักโบ ซึ่งผิดหวังที่อี บังวอนไม่มอบบำเหน็จให้แก่เขาจากการกระทำในสามัคคีเภทของเจ้าชายครั้งที่หนึ่ง เข้ากับอี บังกันและก่อกบฏในเหตุการณ์ที่เรียกว่า "สามัคคีเภทของเจ้าชายครั้งที่สอง" อี บังวอนเป็นฝ่ายชนะ จึงประหารชีวิตพักโบ และเนรเทศอี บังกัน ฝ่ายพระเจ้าช็องจงทรงหวาดกลัวพระอนุชาที่มีอำนาจมากมายของพระองค์ จึงทรงตั้งอี บังวอนเป็นมกุฎราชกุมารและสละราชสมบัติในปีเดียวกัน อี บังวอนจึงสืบราชสมบัติเป็นพระเจ้าแทจง พระมหากษัตริย์พระองค์ที่สามของราชวงศ์โชซ็อน
การรวบรวมอำนาจ
พระราชกรณียกิจแรก ๆ ของพระเจ้าแทจงคือการยกเลิกอภิสิทธิ์ของขุนนางผู้ใหญ่และชนชั้นอภิชนในการมีกองทัพส่วนตัว ซึ่งเป็นการลดทอนอำนาจของกลุ่มคนเหล่านี้ในการก่อกบฏขนาดใหญ่ และเพิ่มจำนวนทหารในกองทัพประจำชาติอย่างมาก ต่อมาทรงทบทวนกฎหมายภาษีที่ดินและการจดบันทึกคนในบังคับ ผลทำให้ค้นพบที่ดินที่ถูกเบียดบังไว้และรายได้ของอาณาจักรเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า นอกจากนี้ยังทรงริเริ่มระบบโฮเป (호패) ซึ่งเป็นแผ่นป้ายระบุชื่อและภูมิลำเนา เพื่อควบคุมการเดินทางของประชาชน
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
รัชกาลของพระองค์มีการตั้งระบบราชการรวมศูนย์ที่เข้มแข็งและระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ใน ค.ศ. 1399 พระเจ้าแทจงทรงมีบทบาทสำคัญในการยุบเลิกสมัชชาโดพยอง (Dopyeong Assembly) อันเป็นสภาบริหารราชการแผ่นดินแบบเดิมที่มีอำนาจผูกขาดในราชสำนักในช่วงปลายราชวงศ์โครยอ แล้วตั้งสภาอีจอง (의정부, 議政府) เป็นองค์การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางใหม่ที่พระมหากษัตริย์และพระราชกฤษฎีกามีอำนาจสูงสุด หลังผ่านกฎหมายเกี่ยวกับเอกสารของคนในบังคับและกฎหมายภาษีแล้ว พระเจ้าแทจงยังออกกฤษฎีกาใหม่ให้การตัดสินใจของสภาอีจองต้องได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์เสียก่อนจึงมีผล นับเป็นคราวสิ้นสุดของประเพณีที่เสนาบดีและที่ปรึกษาตัดสินใจโดยถกเถียงและเจรจากันเอง และทำให้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์เพิ่มมากขึ้นมาก ต่อมาพระเจ้าแทจงทรงตั้งสำนักงานซินมุนเพื่อรับฟ้องคดีความที่คนในบังคับร้องทุกข์ต่อข้าราชการหรืออภิชนที่ล่วงละเมิดหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
พระเจ้าแทจงยังทรงแบ่งอาณาจักรโจซอนออกเป็นแปดมณฑล รัชสมัยของพระเจ้าแทจงเป็นสมัยแห่งการวางรากฐานของอาณาจักร ในค.ศ. 1401 ทรงนำเงินกระดาษมาใช้เป็นครั้งแรกในเกาหลี พระเจ้าแทจงทรงดำเนินนโยบายส่งเสริม (Neo-Confucianism) ซึ่งเข้ามาในเกาหลีตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 และกดขี่ศาสนาพุทธ ทรงปิดวัดวาอารามไปหลายร้อยแห่ง ทรงยึดที่ดินและทรัพย์ของสถาบันพระพุทธศาสนามาใช้จ่ายในการบริหารบ้านเมือง[]
สละบัลลังก์
พ.ศ. 1961 พระเจ้าแทจงก็สละบัลลังก์ ให้เจ้าชายชุงนยอง (วังเซจา) ครองราชย์เป็นพระเจ้าเซจงมหาราช แม้ทรงสละบัลลังก์แล้ว แต่ก็ทรงจัดการกิจการบ้านเมืองอยู่ในฐานะพระเจ้าหลวง (太上王 태상왕) คอยตัดสินพระทัยในกิจการสำคัญ ๆ พระองค์ตัดสินประหารชีวิตหรือเนรเทศอดีตผู้สนับสนุนพระองค์ขึ้นสู่อำนาจบางคนที่ต้องการความชอบ เพื่อเสริมสร้างพระราชอำนาจและลดการฉ้อราษฎร์บังหลวง เพื่อจำกัดอิทธิพลของครอบครัวพระมเหสีและตระกูลสำคัญ พระองค์ยังทรงประหารชีวิตพระสัสสุระ (พ่อตา) และญาติพี่น้องของพระมเหสีรวมสี่คน หลังพระเจ้าแทจงทรงพบว่าพระราชินีและตระกูลกำลังแทรกแซงการเมือง
ใน พ.ศ. 1962 สลัดญี่ปุ่นจากเกาะสึชิมะไปบุกปล้นจีน ระหว่างทางไปจีนก็ได้บุกปล้นและของโชซ็อน ทำให้พระเจ้าแทจงทรงส่งลีจองมูไปบุกยึดเกาะซึชิมา และล้อมเกาะไว้จนในพ.ศ. 1965 ตระกูลโซเจ้าปกครองเกาะซึชิมาก็ยอมจำนน และใน พ.ศ. 1986 ก็ได้ให้เอกสิทธิ์ในการค้ากับโชซ็อนให้แก่ตระกูลโซ โดยต้องส่งเป็นการแลกเปลี่ยน (แต่เกาะซึชิมานั้นเป็นท่าเรือให้สองชาติเสมอมา ปัจจุบันเป็นของญี่ปุ่น แต่เกาหลีใต้ก็ได้อ้างสิทธิ ปัจจุบันจึงเป็นปัญหาขัดแย้งกันอยู่)
พระเจ้าแทจงทรงเป็นบุคคลที่เป็นที่ถกเถียง เพาะฆ่าคู่แข่งไปหลายคน แต่ทรงปกครองอย่างมีประสิทธิภาพช่วยพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎร ทำให้การป้องกันประเทศเข้มแข็งขึ้น และวางรากฐานให้แก่พระเจ้าเซจงสืบต่อมา
พระบรมวงศานุวงศ์
เนื้อหาในบทความนี้ไม่ถูกต้องแม่นยำ โปรดช่วยกันตรวจสอบ และปรับปรุง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพิ่มด้วย |
- พระราชบิดา: พระเจ้าแทโจ (태조)
- พระราชมารดา: พระนางชินอึย ตระกูลฮัน แห่งอันพยอน (신의왕후 한씨, กันยายน ค.ศ.1337 – 21 ตุลาคม ค.ศ.1391)
พระมเหสี พระสนม พระโอรสและพระธิดา
- พระราชินีว็อนกย็อง (원경왕후 민씨, 元敬王后 閔氏, 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1365 – 10 กรกฎาคม ค.ศ.1420)
- เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1389)
- เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1390)
- เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1392)
- อี แจ, เจ้าชายยังนย็อง (ค.ศ.1394)
- อี โบ, เจ้าชายฮโยรย็อง (ค.ศ.1396)
- อี โด, เจ้าชายชุงนยอง - พระเจ้าเซจงมหาราช (ค.ศ.1397)
- อี จง, เจ้าชายซองนยอง (ค.ศ.1405-1418)
- อี ยัง, เจ้าชายอันพยอง - พระโอรสบุญธรรม
- อี ยง, เจ้าชายวอนชอน - พระโอรสบุญธรรม
- เจ้าหญิงจองซุน
- เจ้าหญิงคยองจอง (경정공주, ค.ศ.1387 - ค.ศ.1455)
- เจ้าหญิงคยองอัน (경안공주, ค.ศ.1393 - ค.ศ.1415)
- เจ้าหญิงจองซอน (정선공주, ค.ศ.1404 - 25 มกราคม ค.ศ.1424)
- เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1412)
- พระสนมเอกฮโยบิน ตระกูลคิม แห่งชองพุง (孝嬪 金氏)
- อี บี, เจ้าชายคยองนยอง (이비, 경녕군, ค.ศ.1395 - ค.ศ.1458)
- พระสนมเอกชินบิน ตระกูลชิน แห่งยองวอล (신빈 신씨 ,信嬪 辛氏, ? - ค.ศ.1435)
- อี อิน, เจ้าชายฮัมนยอง (이인 함녕군, 1402–1467)
- อี จอง, เจ้าชายอนนยอง (이정 온녕군, 1407–1453)
- เจ้าหญิงจองชิน (정신옹주)
- เจ้าหญิงจองจอง (정정옹주)
- เจ้าหญิงซุกจอง (숙정옹주)
- เจ้าหญิงซุกนยอง (숙녕옹주)
- เจ้าหญิงซุกคยอง (숙경옹주)
- เจ้าหญิงซุกกึน (숙근옹주, ? - ค.ศ.1450)
- เจ้าหญิงโซชิน (소신옹주)
- พระสนมเอกซอนบิน ตระกูลอัน (선빈 안씨, 善嬪 安氏 ? - ค.ศ.1468)
- อี จี, เจ้าชายอิกนยอง (이치 익녕군, ค.ศ.1422 - ค.ศ.1464)
- เจ้าหญิงโซซุก (소숙옹주, ? - ค.ศ.1456)
- เจ้าหญิงคยองชิน (경신옹주, ไม่รู้วันที่)
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- พระสนมเอกอึยบิน ตระกูลควอน แห่งอันดง (의빈 권씨, 懿嬪 權氏)
- เจ้าหญิงจองฮเย (정혜옹주, ? - ค.ศ.1424)
- พระสนมเอกโซบิน ตระกูลโน (소빈 노씨, 昭嬪盧氏, ? - ค.ศ.1479)
- เจ้าหญิงซุกฮเย (숙혜옹주, ? - ค.ศ.1464)
- พระสนมเอกมยองบิน ตระกูลคิม แห่งอันดง (명빈 김씨, 明嬪金氏)
- เจ้าหญิงซุกอัน (숙안옹주, ? - ค.ศ.1464)
- พระสนมซุกอึย ตระกูลแช (숙의 최씨, 淑儀 崔氏)
- อี ทะ, เจ้าชายฮวีรยอง (이타 희령군, ? - ค.ศ.1465)
- เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
- เจ้าหญิงท็อกซุก ตระกูลลี (덕순옹주 이씨 ,德淑翁主 李氏)
- อี กัน, เจ้าชายฮูรยอง (이간 후령군, ? - ค.ศ.1465)
- องค์หญิงซุกซุน (숙순옹주)
- พระสนามเอกอัน ตระกูลอัน (안씨)
- อี จี, เจ้าชายฮยอรยอง (이지 혜령군, ค.ศ.1407 - ค.ศ.1440)
- พระนางซุกกง ตระกูลคิม (숙공궁주 김씨 , ? - ค.ศ.1421)
- พระนางอึยจอง ตระกูลโจ (의정궁주 조씨 , ? - ค.ศ.1454)
- พระนางฮเยซุน ตระกูลลี (혜순궁주 이씨 , ? - ค.ศ.1438)
- พระนางชินซุน ตระกูลลี (신순궁주 이씨)
- เจ้าหญิงฮเยซอน ตระกูลฮง (혜선옹주 홍씨)
- เจ้าหญิงซุนฮเย ตระกูลจาง (순혜옹주 장씨)
- กึมยอง, เจ้าหญิงซอคยอง ไม่ทราบตระกูล (금영 서경옹주)
- พระสนม ตระกูลโก (정빈 고씨 后宮 高氏 , ? - ค.ศ.1426)
- อี นง, เจ้าชายกึนนยอง (이농 근녕군, ค.ศ.1411 - ค.ศ.1462)
พระปรมาภิไธย
- พระเจ้าแทจง คงจอง ซองด็อก ซินคง คอนชอน เชกุก แทจอง คเยอู มุนมู เยชอล ซองนยอล ควางฮโย
- King Taejong Gongjeong Seongdeok Sin-gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye-u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great
- 태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕
- 太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王
พงศาวลี
พงศาวลีของพระเจ้าแทจง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2016-11-08.
- 최양진 (2008-07-04). "한비자의 냉정한 정치로 승부수 띄운 '태종'". 한국경제. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-01. สืบค้นเมื่อ 2010-05-10.
- Grayson, James Huntley (2002). Korea: A Religious History. United Kingdom: Routledge. ISBN . (p108)
- 편집부 (1963-01-18). "창경궁(昌慶宮), 문화재정보". 위키트리IT/과학. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-19. สืบค้นเมื่อ 2012-02-10.
ก่อนหน้า | พระเจ้าแทจง | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พระเจ้าช็องจง | กษัตริย์แห่งโชซ็อน (พ.ศ. 1943 - พ.ศ. 1961) | พระเจ้าเซจง |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul phraecaaethcng khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phraecaaethcng ekahli 태종 hnca 太宗 xarxar Taejong exmxar T aejong 13 mithunayn kh s 1367 30 phvsphakhm kh s 1422 phranamedim xi phngwxn ekahli 이방원 hnca 李芳遠 epnphramhakstriyrchkalthi 3 aehngrachwngsochsxnkhxngpraethsekahli epnphrarachbidakhxngphraecaescngmharach kxnesdckhunkhrxngrachymiphranamwa ecachaychxngxn ekahli 정안군 hnca 靖安君 phraecaaethcngaehngochsxn 朝鮮太宗 조선 태종mkudrachkumarochsxndarngtaaehnng8 minakhm kh s 1400 7 thnwakhm kh s 1400kxnhnaphraecachxngcngthdipecachayyngnyxngphramhakstriyochsxnkhrxngrachy7 thnwakhm kh s 1400 19 knyayn kh s 1418rachaphieskaekhsxng xanackrochsxnkxnhnaphraecachxngcngaehngochsxnthdipphraecaescngaehngochsxnphraecahlwngaehngochsxndarngtaaehnng19 knyayn kh s 1418 8 mithunayn kh s 1422kxnhnaphraecachxngcngaehngochsxnthdipphraecathncngphrarachsmphph13 mithunayn kh s 1367 Gwiju dong hmhung xanackrokhryxswrrkhtmithunayn 8 1422 1422 06 08 54 pi hx Yeonhwabang phrarachwngchngkyxng hnsxng xanackrochsxnfngphrasphsusan Heonneung hxnxinlung osl praethsekahliitphramehsiphrarachiniwxnkyxngphrarachbutrphraecaescngmharachphraxaramnamaethcng 태종 太宗 phramrnnamkstriy khngcxng sxngdxk sinkhng khxnchxn echkuk aethcxng kheyxu munmu eychxl sxngnyxl khwanghoymharach 공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕 恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王rachwngsskulxi rachwngsochsxnphrarachbidaphraecaaethocaehngochsxnphrarachmardaphranangchinxuysasnaphuththaebbekahli phayhlngnbthuxlththikhngcuxihmlayphraxphiithychuxekahlihnkul태종hnca太宗xarxarTaejongexmxarT aejongchuxekidhnkul이방원hnca李芳遠xarxarI BangwonexmxarYi Pangwŏnchiwitkxtngochsxn phraecaaethcng miphranamedimwa xibngwxn 이방원 李芳遠 phrarachsmphphinpi kh s 1367 epnbutrchaykhnthihakhxngxi sxng key 태조 太祖 sxbphanekharbrachkarinrachwngsokhryxinpi kh s 1382 inchwngaerkekhachwybidahakarsnbsnuncakprachachnaelaphumixiththiphlinrthbal aelayngmiswnchwybidainkarprabdaphieskkxtngrachwngsihmodylxbsngharkharachkarthrngxiththiphlxyangcxng mngcu 정몽주 鄭夢周 thiyngkhngphkdikbrachwngsokhryx xibngwxnkidrbphraysepnecachaychxngxn 정안대군 靖安大君 samkhkhiephthkhxngecachay hlngchwybidaokhnlmrachwngsekaaelakxtngochsxnidaelw phraxngkhkkhadwacaidrbaetngtngepnphusubrachsmbti thwaphrarachbidaaelaxkhresnabdichxng od cxnklbeluxkxibngsxk 이방석 李芳碩 phrarachoxrsphraxngkhthi 8 thiphrarachsmphphaedphrarachinichindxk 신덕왕후 神德王后 phramehsiphraxngkhthisxnginphraecaaethoc epnmkudrachkumaraethn ehtuphlhlkkhxngkhwamkhdaeyngniepnephraachxng od cxn phuwangrakthanthangxudmkarn sthabnaelakdhmaykhnsakhykhxngrachwngsihm ehnkhwrihochsxnepnxanackrthimiesnabdibriharrachkarodymiphramhakstriyaetngtng khnathixi bngwxnehnkhwrwaphramhakstriykhwrpkkhrxngodytrngaebbsmburnayasiththirachy khwamaetktangnicungnaipsubrryakaskhwamtungekhriydthangkaremuxng hlngphrarachinisindxkesdcswrrkhtxyangkrathnhnin kh s 1398 xi bngwxnepnphunarthpraharrahwangthiphraecaaethockalngiwthukkhihkbphramehsi ehtukarnnithaihchxng od cxnaelaphusnbsnunesiychiwit rwmthngphraoxrskhxngphrarachinisindxksxngphraxngkhkbmkudrachkumar ehtukarndngklawmikhaeriykwa samkhkhiephthkhxngecachaykhrngthihnung First Strife of Princes phraecaaethocthrnghwadklwemuxphrarachoxrsekhnkhaknexngephuxaeyngchingbllngk xikthngynghnayphrathyhlngphramehsiswrrkht cungthrngslarachbllngkaelaaetngtngphraoxrsphraxngkhthisxng xi bngkwa epnphraoxrsthimiphrachnmayumakthisudthiyngthrngphrachnmchiph hruxphraecachxngcng epnphramhakstriysubtxma phrarachkrniykicaerk khxngphraecachxngcng kkhuxkaryayemuxnghlwngklbipyngaekhsxng ephraathrngechuxwasadwksbaymakkwa aetxi bngwxnepnphukumxanacthiaethcring aelaimchakklbmakhdaeyngkbxi bngkn 이방간 李芳幹 hruxecachayhwixn 회안대군 懷安大君 phraechsthaxikphraxngkhhnung thiifxanacechnkn in kh s 1400 aemthphphkob sungphidhwngthixi bngwxnimmxbbaehncihaekekhacakkarkrathainsamkhkhiephthkhxngecachaykhrngthihnung ekhakbxi bngknaelakxkbtinehtukarnthieriykwa samkhkhiephthkhxngecachaykhrngthisxng xi bngwxnepnfaychna cungpraharchiwitphkob aelaenrethsxi bngkn fayphraecachxngcngthrnghwadklwphraxnuchathimixanacmakmaykhxngphraxngkh cungthrngtngxi bngwxnepnmkudrachkumaraelaslarachsmbtiinpiediywkn xi bngwxncungsubrachsmbtiepnphraecaaethcng phramhakstriyphraxngkhthisamkhxngrachwngsochsxn karrwbrwmxanac phrarachkrniykicaerk khxngphraecaaethcngkhuxkarykelikxphisiththikhxngkhunnangphuihyaelachnchnxphichninkarmikxngthphswntw sungepnkarldthxnxanackhxngklumkhnehlaniinkarkxkbtkhnadihy aelaephimcanwnthharinkxngthphpracachatixyangmak txmathrngthbthwnkdhmayphasithidinaelakarcdbnthukkhninbngkhb phlthaihkhnphbthidinthithukebiydbngiwaelarayidkhxngxanackrephimkhunepnsxngetha nxkcakniyngthrngrierimrabbohep 호패 sungepnaephnpayrabuchuxaelaphumilaena ephuxkhwbkhumkaredinthangkhxngprachachn smburnayasiththirachy rchkalkhxngphraxngkhmikartngrabbrachkarrwmsunythiekhmaekhngaelarabxbsmburnayasiththirachy in kh s 1399 phraecaaethcngthrngmibthbathsakhyinkaryubeliksmchchaodphyxng Dopyeong Assembly xnepnsphabriharrachkaraephndinaebbedimthimixanacphukkhadinrachsankinchwngplayrachwngsokhryx aelwtngsphaxicxng 의정부 議政府 epnxngkhkarbriharrachkaraephndinswnklangihmthiphramhakstriyaelaphrarachkvsdikamixanacsungsud hlngphankdhmayekiywkbexksarkhxngkhninbngkhbaelakdhmayphasiaelw phraecaaethcngyngxxkkvsdikaihmihkartdsinickhxngsphaxicxngtxngidrbphrabrmrachanuyatcakphramhakstriyesiykxncungmiphl nbepnkhrawsinsudkhxngpraephnithiesnabdiaelathipruksatdsinicodythkethiyngaelaecrcaknexng aelathaihphrarachxanackhxngphramhakstriyephimmakkhunmak txmaphraecaaethcngthrngtngsankngansinmunephuxrbfxngkhdikhwamthikhninbngkhbrxngthukkhtxkharachkarhruxxphichnthilwnglaemidhruxptibtixyangimepnthrrm phraecaaethcngyngthrngaebngxanackrocsxnxxkepnaepdmnthl rchsmykhxngphraecaaethcngepnsmyaehngkarwangrakthankhxngxanackr inkh s 1401 thrngnaenginkradasmaichepnkhrngaerkinekahli phraecaaethcngthrngdaeninnoybaysngesrim Neo Confucianism sungekhamainekahlitngaetstwrrsthi 13 aelakdkhisasnaphuthth thrngpidwdwaxaramiphlayrxyaehng thrngyudthidinaelathrphykhxngsthabnphraphuththsasnamaichcayinkarbriharbanemuxng txngkarxangxing slabllngkph s 1961 phraecaaethcngkslabllngk ihecachaychungnyxng wngesca khrxngrachyepnphraecaescngmharach aemthrngslabllngkaelw aetkthrngcdkarkickarbanemuxngxyuinthanaphraecahlwng 太上王 태상왕 khxytdsinphrathyinkickarsakhy phraxngkhtdsinpraharchiwithruxenrethsxditphusnbsnunphraxngkhkhunsuxanacbangkhnthitxngkarkhwamchxb ephuxesrimsrangphrarachxanacaelaldkarchxrasdrbnghlwng ephuxcakdxiththiphlkhxngkhrxbkhrwphramehsiaelatrakulsakhy phraxngkhyngthrngpraharchiwitphrasssura phxta aelayatiphinxngkhxngphramehsirwmsikhn hlngphraecaaethcngthrngphbwaphrarachiniaelatrakulkalngaethrkaesngkaremuxng in ph s 1962 sldyipuncakekaasuchimaipbukplncin rahwangthangipcinkidbukplnaelakhxngochsxn thaihphraecaaethcngthrngsnglicxngmuipbukyudekaasuchima aelalxmekaaiwcninph s 1965 trakulosecapkkhrxngekaasuchimakyxmcann aelain ph s 1986 kidihexksiththiinkarkhakbochsxnihaektrakulos odytxngsngepnkaraelkepliyn aetekaasuchimannepnthaeruxihsxngchatiesmxma pccubnepnkhxngyipun aetekahliitkidxangsiththi pccubncungepnpyhakhdaeyngknxyu phraecaaethcngthrngepnbukhkhlthiepnthithkethiyng ephaakhakhuaekhngiphlaykhn aetthrngpkkhrxngxyangmiprasiththiphaphchwyphthnakhwamepnxyukhxngrasdr thaihkarpxngknpraethsekhmaekhngkhun aelawangrakthanihaekphraecaescngsubtxmaphrabrmwngsanuwngsenuxhainbthkhwamniimthuktxngaemnya oprdchwykntrwcsxb aelaprbprung odyechphaaxyangying ephimaehlngxangxingthinaechuxthuxiddwy eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phrarachbida phraecaaethoc 태조 phrarachmarda phranangchinxuy trakulhn aehngxnphyxn 신의왕후 한씨 knyayn kh s 1337 21 tulakhm kh s 1391 phramehsi phrasnm phraoxrsaelaphrathida phrarachiniwxnkyxng 원경왕후 민씨 元敬王后 閔氏 11 krkdakhm kh s 1365 10 krkdakhm kh s 1420 ecachayimthrabphranam kh s 1389 ecachayimthrabphranam kh s 1390 ecachayimthrabphranam kh s 1392 xi aec ecachayyngnyxng kh s 1394 xi ob ecachayhoyryxng kh s 1396 xi od ecachaychungnyxng phraecaescngmharach kh s 1397 xi cng ecachaysxngnyxng kh s 1405 1418 xi yng ecachayxnphyxng phraoxrsbuythrrm xi yng ecachaywxnchxn phraoxrsbuythrrm ecahyingcxngsun ecahyingkhyxngcxng 경정공주 kh s 1387 kh s 1455 ecahyingkhyxngxn 경안공주 kh s 1393 kh s 1415 ecahyingcxngsxn 정선공주 kh s 1404 25 mkrakhm kh s 1424 ecachayimthrabphranam kh s 1412 phrasnmexkhoybin trakulkhim aehngchxngphung 孝嬪 金氏 xi bi ecachaykhyxngnyxng 이비 경녕군 kh s 1395 kh s 1458 phrasnmexkchinbin trakulchin aehngyxngwxl 신빈 신씨 信嬪 辛氏 kh s 1435 xi xin ecachayhmnyxng 이인 함녕군 1402 1467 xi cxng ecachayxnnyxng 이정 온녕군 1407 1453 ecahyingcxngchin 정신옹주 ecahyingcxngcxng 정정옹주 ecahyingsukcxng 숙정옹주 ecahyingsuknyxng 숙녕옹주 ecahyingsukkhyxng 숙경옹주 ecahyingsukkun 숙근옹주 kh s 1450 ecahyingoschin 소신옹주 phrasnmexksxnbin trakulxn 선빈 안씨 善嬪 安氏 kh s 1468 xi ci ecachayxiknyxng 이치 익녕군 kh s 1422 kh s 1464 ecahyingossuk 소숙옹주 kh s 1456 ecahyingkhyxngchin 경신옹주 imruwnthi ecahyingimthrabphranam phrasnmexkxuybin trakulkhwxn aehngxndng 의빈 권씨 懿嬪 權氏 ecahyingcxnghey 정혜옹주 kh s 1424 phrasnmexkosbin trakulon 소빈 노씨 昭嬪盧氏 kh s 1479 ecahyingsukhey 숙혜옹주 kh s 1464 phrasnmexkmyxngbin trakulkhim aehngxndng 명빈 김씨 明嬪金氏 ecahyingsukxn 숙안옹주 kh s 1464 phrasnmsukxuy trakulaech 숙의 최씨 淑儀 崔氏 xi tha ecachayhwiryxng 이타 희령군 kh s 1465 ecahyingimthrabphranam ecahyingthxksuk trakulli 덕순옹주 이씨 德淑翁主 李氏 xi kn ecachayhuryxng 이간 후령군 kh s 1465 xngkhhyingsuksun 숙순옹주 phrasnamexkxn trakulxn 안씨 xi ci ecachayhyxryxng 이지 혜령군 kh s 1407 kh s 1440 phranangsukkng trakulkhim 숙공궁주 김씨 kh s 1421 phranangxuycxng trakuloc 의정궁주 조씨 kh s 1454 phranangheysun trakulli 혜순궁주 이씨 kh s 1438 phranangchinsun trakulli 신순궁주 이씨 ecahyingheysxn trakulhng 혜선옹주 홍씨 ecahyingsunhey trakulcang 순혜옹주 장씨 kumyxng ecahyingsxkhyxng imthrabtrakul 금영 서경옹주 phrasnm trakulok 정빈 고씨 后宮 高氏 kh s 1426 xi nng ecachaykunnyxng 이농 근녕군 kh s 1411 kh s 1462 phraprmaphiithyphraecaaethcng khngcxng sxngdxk sinkhng khxnchxn echkuk aethcxng kheyxu munmu eychxl sxngnyxl khwanghoy King Taejong Gongjeong Seongdeok Sin gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great 태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕 太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王phngsawliphngsawlikhxngphraecaaethcng 4 xi ca chun 2 phraecaaethocaehngochsxn 5 phranangxuyhey 1 phraecaaethcng 3 phranangchinxuy xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux 2016 11 08 최양진 2008 07 04 한비자의 냉정한 정치로 승부수 띄운 태종 한국경제 cakaehlngedimemux 2014 02 01 subkhnemux 2010 05 10 Grayson James Huntley 2002 Korea A Religious History United Kingdom Routledge ISBN 0 7007 1605 X p108 편집부 1963 01 18 창경궁 昌慶宮 문화재정보 위키트리IT 과학 cakaehlngedimemux 2022 02 19 subkhnemux 2012 02 10 kxnhna phraecaaethcng thdipphraecachxngcng kstriyaehngochsxn ph s 1943 ph s 1961 phraecaescng