นิวรณ์(อ่านว่า นิ-วอน) (บาลี: nīvaraṇāna) แปลว่า เครื่องกั้น ( hindrances ) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ทางความคิดที่เป็นเครื่องปิดกั้นหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี ไม่เปิดโอกาสให้ทำความดี และเป็นเครื่องกั้นความดีไว้ไม่ให้เข้าถึงจิต เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ผู้ปฏิบัติบรรลุธรรมไม่ได้ หรือทำให้เลิกล้มความตั้งใจปฏิบัติไป
นิวรณ์มี 5 อย่าง คือ
- ความพอใจในกาม ( sensual desire ) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ประเภท ความลุ่มหลง ความรักใคร่ ความต้องการทางเพศ การติดใจ ความต้องการ ความปรารถนา ความหลงใหลใฝ่ฝัน เป็นต้น
- ความปองร้าย ( illwill ) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ประเภท ความโกรธ ความเกลียด ความแค้น ความริษยา ความดูหมิ่น ความผูกใจเจ็บ ความขัดเคืองใจ เป็นต้น
- ถีนมิทธะ ความง่วงเหงาหดหู่ ( sloth and torpor ) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ประเภท ความเกียจคร้าน ท้อแท้ เศร้าซึม หมดหวัง เสียใจ หมดอาลัย ไร้กำลังใจ ไม่ฮึกเหิม เบื่อ เซ็ง เป็นต้น
- ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ ( distraction and remorse; flurry and worry; anxiety ) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ประเภท วิตกกังวล ระแวง กลัว ความคิดซัดส่ายตลอดเวลา ไม่สงบนิ่งอยู่ในความคิดใด ๆ เป็นต้น
- ความลังเลสงสัย ( doubt; uncertainty) หมายถึงกลุ่มอารมณ์ประเภท ความไม่แน่ใจ ลังเลใจ สงสัย กังวล กล้า ๆ กลัว ๆ ไม่เต็มที่ ไม่มั่นใจ เป็นต้น
กรรมฐานที่เหมาะสมแก่นิวรณ์
- กามฉันทะ ให้ภาวนากายคตาสติ อสุภะ 10 เพื่อทำลายความอยากในกามเสีย
- พยาบาท ให้ภาวนาอัปมัญญาหรือพรหมวิหาร 4 วรรณกสิน 4 เพื่อเพิ่มความเมตตา
- ถีนมิทธะ ให้ภาวนาอนุสสติ 7 คือพุทธานุสสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ อุปสมานุสสติ และอาโลกสัญญา (แสงสว่างเป็นอารมณ์) เพื่อเสริมสร้างศรัทธาและความเพียร
- อุทธัจจะกุกกุจจะ ให้ภาวนากสิน 6 คือ ปฐวีกสิน อาโปกสิน วาโยกสิน เตโชกสิน อากาสกสิน อาโลกกสิน เพื่อเพิ่มกำลังสมาธิ (อานาปานสติ เอามาเพิ่มทีหลังไม่เกี่ยวกับที่อ้างอิง แต่เป็นตัวระงับความฟุ้งซ่าน)
- วิจิกิจฉา ให้ภาวนาจตุตธาตุววัตถาน (พิจารณาธาตุ 4) อานาปานสติ มรณานุสสติ เพื่อละความสงสัย
ลักษณะ
- กามฉันทะ เหมือนน้ำที่ถูกสีย้อม
- พยาบาท เหมือนน้ำที่กำลังเดือด
- ถีนมิทธะ เหมือนน้ำที่มีจอกแหนปกคลุมอยู่
- อุทธัจจะกุกกุจจะ เหมือนน้ำที่เป็นคลื่น
- วิจิกิจฉา เหมือนน้ำที่มีเปือกตม
- อุทธัจจะกุกกุจจะ ให้ควบคุมด้วย การไม่ถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้
- กามฉันทะ ให้ควบคุมด้วย การไม่ประพฤติผิดในกาม
- วิจิกิจฉา ให้ควบคุมด้วยการไม่พูดเท็จ
- ถีนมิทธะ ให้ควบคุมด้วย การไม่เสพสิ่งเสพติดอันเป็นเหตุให้ประมาท
องค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์
เมื่อจิตเป็นอัปปนาสมาธิจนเกิดองค์ฌานทั้ง 5 ย่อมทำลายนิวรณ์ลงได้ ชั่วคราว คือในขณะอยู่ในฌาน และนอกฌาน เมื่อยังทรงอารมณ์ฌานไว้ได้อยู่ (ฌานยังไม่เสื่อม)
พละ 5 ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์
อาหารของนิวรณ์
ร่างกายนี้มีอาหารเป็นที่ตั้ง ดำรงอยู่ได้เพราะอาศัยอาหาร ไม่มีอาหารดำรงอยู่ไม่ได้ แม้ฉันใด นิวรณ์ทั้งห้า ก็มีอาหารเป็นที่ตั้ง ดำรงอยู่ได้เพราะอาศัยอาหาร ไม่มีอาหารดำรงอยู่ไม่ได้ ฉันนั้นเหมือนกัน
อาหารของนิวรณ์ในที่นี้ หมายถึง ปัจจัยอันนำมาซึ่งผลคือ นิวรณ์ (ซึ่งอาหารของนิวรณ์ทั้งหมดนั้น ถ้าสังเกตดูจะพบว่ามี การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย หรือ อโยนิโสมนสิการเป็นองค์ประกอบด้วยเสมอ)
อาหารของกามฉันท์
สิ่งที่เป็นอาหารให้กามฉันท์ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น หรือกามฉันท์ที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้น ได้แก่ การมีอยู่ หรือ การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย (อโยนิโสมนสิการ) ในสิ่งสวยๆงามๆ (ศุภนิมิต) หรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากได้ พบสิ่งสวย ๆ งาม ๆ
อาหารของพยาบาท
สิ่งที่เป็นอาหารให้พยาบาทที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น หรือพยาบาทที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้น ได้แก่ การมีอยู่ หรือ การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย (อโยนิโสมนสิการ) ในสิ่งที่ทำให้เกิดความขุ่นเคืองใจ ขัดใจ (ปฏิฆนิมิต)
อาหารของถีนมิทธะ
สิ่งที่เป็นอาหารให้ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น หรือถีนมิทธะที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้น ได้แก่ การมีอยู่ของสิ่งเหล่านี้ หรือ การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย (อโยนิโสมนสิการ) ในสิ่งเหล่านี้ คือ
- ความไม่ยินดี ในที่อันสงัด หรือในธรรมทั้งหลายอันเป็นกุศล
- ความเกียจคร้าน
- ความบิดกายด้วยอำนาจกิเลส (บิดร่างกาย เอียงไปมา รู้สึกไม่สบาย ด้วยอำนาจกิเลส)
- ความเมาอาหาร
- ความที่ใจหดหู่
อาหารของอุทธัจจกุกกุจจะ
สิ่งที่เป็นอาหารให้อุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น หรืออุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้น ได้แก่ การมีอยู่หรือ การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย ในความไม่สงบใจ
เปรียบเสมือนกองไฟที่คุกร่น แม้ไม่เห็นเปลวไฟแล้ว เหลือแต่ถ่านดำๆ ก็ยังมีความร้อนออกมาอยู่ ให้คนที่นั่งผิงไฟรู้สึกร้อนได้
อาหารของวิจิกิจฉา
สิ่งที่เป็นอาหารให้วิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น หรือวิจิกิจฉาที่เกิดแล้วให้เจริญไพบูลย์ยิ่งขึ้น ได้แก่ การมีอยู่ หรือ การกระทำในใจโดยไม่แยบคาย (อโยนิโสมนสิการ) ในสิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งความสงสัย
อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
ดูเพิ่ม
- ละนิวรณ์ 5 ใน ธรรมทำความเป็นสมณพราหมณ์
- นิวรณ์เปรียบดัง หนี้,โรค,เรือนจำ,ความเป็นทาส,ทางไกลกันดาร
- นิวรณ์ 5 และวิจิกิจฉา ในข้ออุปมาปริศนาจอมปลวก
- กายสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
niwrn xanwa ni wxn bali nivaraṇana aeplwa ekhruxngkn hindrances hmaythungklumxarmnthangkhwamkhidthiepnekhruxngpidknhruxkhdkhwangimihbrrlukhwamdi imepidoxkasihthakhwamdi aelaepnekhruxngknkhwamdiiwimihekhathungcit epnxupsrrkhsakhythithaihphuptibtibrrluthrrmimid hruxthaiheliklmkhwamtngicptibtiip niwrnmi 5 xyang khux khwamphxicinkam sensual desire hmaythungklumxarmnpraephth khwamlumhlng khwamrkikhr khwamtxngkarthangephs kartidic khwamtxngkar khwamprarthna khwamhlngihliffn epntn khwampxngray illwill hmaythungklumxarmnpraephth khwamokrth khwamekliyd khwamaekhn khwamrisya khwamduhmin khwamphukicecb khwamkhdekhuxngic epntn thinmiththa khwamngwngehngahdhu sloth and torpor hmaythungklumxarmnpraephth khwamekiyckhran thxaeth esrasum hmdhwng esiyic hmdxaly irkalngic imhukehim ebux esng epntn khwamfungsanrakhayic distraction and remorse flurry and worry anxiety hmaythungklumxarmnpraephth witkkngwl raaewng klw khwamkhidsdsaytlxdewla imsngbningxyuinkhwamkhidid epntn khwamlngelsngsy doubt uncertainty hmaythungklumxarmnpraephth khwamimaenic lngelic sngsy kngwl kla klw imetmthi immnic epntnkrrmthanthiehmaasmaekniwrnkamchntha ihphawnakaykhtasti xsupha 10 ephuxthalaykhwamxyakinkamesiy phyabath ihphawnaxpmyyahruxphrhmwihar 4 wrrnksin 4 ephuxephimkhwamemtta thinmiththa ihphawnaxnussti 7 khuxphuththanussti thmmanusti sngkhanussti silanussti cakhanusti ethwtanusti xupsmanussti aelaxaolksyya aesngswangepnxarmn ephuxesrimsrangsrththaaelakhwamephiyr xuththccakukkucca ihphawnaksin 6 khux pthwiksin xaopksin waoyksin etochksin xakasksin xaolkksin ephuxephimkalngsmathi xanapansti examaephimthihlngimekiywkbthixangxing aetepntwrangbkhwamfungsan wicikiccha ihphawnactutthatuwwtthan phicarnathatu 4 xanapansti mrnanussti ephuxlakhwamsngsylksnakamchntha ehmuxnnathithuksiyxm phyabath ehmuxnnathikalngeduxd thinmiththa ehmuxnnathimicxkaehnpkkhlumxyu xuththccakukkucca ehmuxnnathiepnkhlun wicikiccha ehmuxnnathimiepuxktm xuththccakukkucca ihkhwbkhumdwy karimthuxexasingkhxngthiekhaimidih kamchntha ihkhwbkhumdwy karimpraphvtiphidinkam wicikiccha ihkhwbkhumdwykarimphudethc thinmiththa ihkhwbkhumdwy karimesphsingesphtidxnepnehtuihpramathxngkhchanthiepnptipkstxniwrnaekthinmiththa aekwicikiccha piti aekphyabath sukh aekxuththccakukkucca aekkamchntha emuxcitepnxppnasmathicnekidxngkhchanthng 5 yxmthalayniwrnlngid chwkhraw khuxinkhnaxyuinchan aelanxkchan emuxyngthrngxarmnchaniwidxyu chanyngimesuxm phla 5 thiepnptipkstxniwrnsrththa aekwicikiccha wiriya aekthinmiththa sti aekphyabath smathi aekxuththccakukkucca pyya aekkamchnthaxaharkhxngniwrnrangkaynimixaharepnthitng darngxyuidephraaxasyxahar immixahardarngxyuimid aemchnid niwrnthngha kmixaharepnthitng darngxyuidephraaxasyxahar immixahardarngxyuimid chnnnehmuxnkn xaharkhxngniwrninthini hmaythung pccyxnnamasungphlkhux niwrn sungxaharkhxngniwrnthnghmdnn thasngektducaphbwami karkrathainicodyimaeybkhay hrux xoyniosmnsikarepnxngkhprakxbdwyesmx xaharkhxngkamchnth singthiepnxaharihkamchnththiyngimekid ekidkhun hruxkamchnththiekidaelwihecriyiphbulyyingkhun idaek karmixyu hrux karkrathainicodyimaeybkhay xoyniosmnsikar insingswyngam suphnimit hruxxarmnthiekidkhunhlngcakid phbsingswy ngam xaharkhxngphyabath singthiepnxaharihphyabaththiyngimekid ekidkhun hruxphyabaththiekidaelwihecriyiphbulyyingkhun idaek karmixyu hrux karkrathainicodyimaeybkhay xoyniosmnsikar insingthithaihekidkhwamkhunekhuxngic khdic ptikhnimit xaharkhxngthinmiththa singthiepnxaharihthinmiththathiyngimekid ekidkhun hruxthinmiththathiekidaelwihecriyiphbulyyingkhun idaek karmixyukhxngsingehlani hrux karkrathainicodyimaeybkhay xoyniosmnsikar insingehlani khux khwamimyindi inthixnsngd hruxinthrrmthnghlayxnepnkusl khwamekiyckhran khwambidkaydwyxanackiels bidrangkay exiyngipma rusukimsbay dwyxanackiels khwamemaxahar khwamthiichdhuxaharkhxngxuththcckukkucca singthiepnxaharihxuththcckukkuccathiyngimekid ekidkhun hruxxuththcckukkuccathiekidaelwihecriyiphbulyyingkhun idaek karmixyuhrux karkrathainicodyimaeybkhay inkhwamimsngbic epriybesmuxnkxngifthikhukrn aemimehneplwifaelw ehluxaetthanda kyngmikhwamrxnxxkmaxyu ihkhnthinngphingifrusukrxnid xaharkhxngwicikiccha singthiepnxaharihwicikicchathiyngimekid ekidkhun hruxwicikicchathiekidaelwihecriyiphbulyyingkhun idaek karmixyu hrux karkrathainicodyimaeybkhay xoyniosmnsikar insingthiepnthitngaehngkhwamsngsyxangxingphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth duephimlaniwrn 5 in thrrmthakhwamepnsmnphrahmn niwrnepriybdng hni orkh eruxnca khwamepnthas thangiklkndar niwrn 5 aelawicikiccha inkhxxupmaprisnacxmplwk kaysutr phraitrpidk elmthi 19