ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน
หน้าที่ของราชบัณฑิต
ราชบัณฑิตมีหน้าที่ค้นคว้าและบำรุงสรรพวิชาการให้เป็นคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติ แลกเปลี่ยนความรู้กับองค์กรอื่นๆ เป็นที่ปรึกษาของรัฐ งานหลักที่สำคัญเป็นที่รู้จักแพร่หลายคือการแต่งหนังสือตำราประเภทอ้างอิงและหลักเกณฑ์ในวิทยาการสาขาต่างๆ รวมทั้งการสร้างแหล่งรวบรวมความรู้ในหลายสาขาวิชา ในชื่อ "คลังความรู้" เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไป
ผู้เข้าข่ายได้รับการคัดเลือกเป็นราชบัณฑิตจะต้องเป็นภาคีสมาชิกของราชบัณฑิตยสภามาเป็นระยะเวลาหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ปีและได้แสดงผลงานการค้นคว้าวิจัยหรือส่งเสริมความก้าวหน้าในวิทยาการสาขาตนเป็นที่ประจักษ์อย่างสม่ำเสมอจึงจะได้รับการเสนอชื่อจากที่ประชุมของสำนักตน ให้สภาราชบัณฑิตเห็นชอบ
ราชบัณฑิตจะอยู่ในตำแหน่งไปจนเสียชีวิตหรือลาออกหรือที่ประชุมสภาราชบัณฑิตเห็นควรให้พ้นจากตำแหน่งเพราะเหตุกระทำความเสื่อมเสียร้ายแรง
ปัจจบันราชบัณฑิตยสถานมีราชบัณฑิตในสาขาวิชาต่างๆ รวม 110 คน
ราชบัณฑิตในประเทศอื่น
คำว่า "ราช-" นำหน้าหมายถึงความเกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ ราชบัณฑิตจึงหมายเฉพาะของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุข องค์การวิทยาการของราชอาณาจักรที่อาจนับว่าเก่าแก่ที่สุดของโลกได้แก่ "ราชสมาคมแห่งลอนดอน" (Royal Society of London) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2205 "เพื่อยกระดับความรู้ด้านธรรมชาติ" โดยบรมราชานุญาตของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) จำกัดสมาชิกเฉพาะสาขาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ แรกเริ่มมีสมาชิก 150 คนในจำนวนนี้ได้รับเลือกในปีถัดมาให้เป็น "Fellows" ที่อาจเรียกได้ว่า "ราชบัณฑิต" 10 คน ไอแซก นิวตันนับเป็นสมาชิกลำดับที่ 15 ที่ได้รับเลือก ในเวลา 9 ปีต่อมา ในช่วงเวลา 336 ปี (พ.ศ. 2206-2542) ราชสมาคมแห่งลอนดอนมีผู้ได้รับเลือกเป็นราชบัณฑิต 381 คน หรือเฉลี่ยปีละ 1.134 คน
ข้อแตกต่างระหว่างราชสมาคมแห่งลอนดอน และราชบัณฑิตยสภาได้แก่การเน้นสาขาวิทยาการ ราชสมาคมแห่งลอนดอนจำกัดสมาชิกเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในขณะที่ราชบัณฑิตยสภาของประเทศไทยเป็นสถาบันสหวิทยาการ
อ้างอิง
- รายชื่อราชบัณฑิตและภาคีสมาชิกปัจจุบัน
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-09-28. สืบค้นเมื่อ 2006-09-03.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ราชบัณฑิตยสถาน
- รายชื่อราชบัณฑิตที่อยู่ในตำแหน่ง
- "คลังความรู้" จากราชบัณฑิต
- เว็บไซต์ราชสมาคมแห่งลอนดอน 2005-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rachbnthit khux nkprachyhlwng thiepnsmachikkhxngxngkhkarwithyakarkhxngrthkhux rachbnthitysphaodytxngepnphuthimiekiyrtiprawtidingam idrbkaryxmrbaelakarykyxngcakphuruinsastrsakhaediywaehngtnaelacakkhnthwip misychatiithy xayuimtakwa 35 pi idrbkarkhdeluxkcakwaepnphuruinsakhawichaidsakhahnungthimikahndiwinrachbnthitysthan emuxidrbkarkhdeluxkaelw phrabathsmedcphraecaxyuhwcungcathrngphrakrunaoprdekla aetngtngepnrachbnthitaelacaidrbkhasmnakhunepnrayeduxnhnathikhxngrachbnthitrachbnthitmihnathikhnkhwaaelabarungsrrphwichakarihepnkhunpraoychntxpraethschati aelkepliynkhwamrukbxngkhkrxun epnthipruksakhxngrth nganhlkthisakhyepnthiruckaephrhlaykhuxkaraetnghnngsuxtarapraephthxangxingaelahlkeknthinwithyakarsakhatang rwmthngkarsrangaehlngrwbrwmkhwamruinhlaysakhawicha inchux khlngkhwamru ephuxephyaephraekprachachnthwip phuekhakhayidrbkarkhdeluxkepnrachbnthitcatxngepnphakhismachikkhxngrachbnthitysphamaepnrayaewlahnungimnxykwa 1 piaelaidaesdngphlngankarkhnkhwawicyhruxsngesrimkhwamkawhnainwithyakarsakhatnepnthipracksxyangsmaesmxcungcaidrbkaresnxchuxcakthiprachumkhxngsanktn ihspharachbnthitehnchxb rachbnthitcaxyuintaaehnngipcnesiychiwithruxlaxxkhruxthiprachumspharachbnthitehnkhwrihphncaktaaehnngephraaehtukrathakhwamesuxmesiyrayaerng pccbnrachbnthitysthanmirachbnthitinsakhawichatang rwm 110 khnrachbnthitinpraethsxunkhawa rach nahnahmaythungkhwamekiywkhxngkbphramhakstriy rachbnthitcunghmayechphaakhxngpraethsthimiphramhakstriyepnxngkhpramukh xngkhkarwithyakarkhxngrachxanackrthixacnbwaekaaekthisudkhxngolkidaek rachsmakhmaehnglxndxn Royal Society of London kxtngemux ph s 2205 ephuxykradbkhwamrudanthrrmchati odybrmrachanuyatkhxngsmedcphraecacharlsthi 2 aehngxngkvs trngkbrchsmysmedcphranaraynmharach cakdsmachikechphaasakhadanwithyasastraelakhnitsastr aerkerimmismachik 150 khnincanwnniidrbeluxkinpithdmaihepn Fellows thixaceriykidwa rachbnthit 10 khn ixaesk niwtnnbepnsmachikladbthi 15 thiidrbeluxk inewla 9 pitxma inchwngewla 336 pi ph s 2206 2542 rachsmakhmaehnglxndxnmiphuidrbeluxkepnrachbnthit 381 khn hruxechliypila 1 134 khn khxaetktangrahwangrachsmakhmaehnglxndxn aelarachbnthitysphaidaekkarennsakhawithyakar rachsmakhmaehnglxndxncakdsmachikechphaadanwithyasastraelaethkhonolyi inkhnathirachbnthitysphakhxngpraethsithyepnsthabnshwithyakarxangxingraychuxrachbnthitaelaphakhismachikpccubn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 09 28 subkhnemux 2006 09 03 duephimrachbnthitysphaaehlngkhxmulxunewbistrachbnthitysthan raychuxrachbnthitthixyuintaaehnng khlngkhwamru cakrachbnthit ewbistrachsmakhmaehnglxndxn 2005 06 04 thi ewyaebkaemchchin