บทความนี้ไม่มีจาก |
พรหมวิหาร 4หรือ พรหมวิหารธรรม เป็นหลักธรรมประจำใจเพื่อให้ตนดำรงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์เฉกเช่นพรหม เป็นแนวธรรมปฏิบัติของผู้ที่ปกครอง และการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ประกอบด้วยหลักปฏิบัติ 4 ประการ ได้แก่
- เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทำประโยชน์แก่มนุษย์สัตว์ทั่วหน้า
- กรุณา คือ ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปลื้องบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของปวงสัตว์
- มุทิตา คือ ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง ประกอบด้วยอาการแช่มชื่นเบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดำรงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเมื่อเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป
- อุเบกขา คือ ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดำรงอยู่ในธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตาชั่ง ไม่เอนเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ทั้งหลายกระทำแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบัติไปตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรับผิดชอบตนเอง หรือเขาควรได้รับผลอันสมกับความรับผิดชอบของตน
อ้างอิง
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phrhmwihar 4hrux phrhmwiharthrrm epnhlkthrrmpracaicephuxihtndarngchiwitidxyangpraesrithaelabrisuththiechkechnphrhm epnaenwthrrmptibtikhxngphuthipkkhrxng aelakarxyurwmkbphuxun prakxbdwyhlkptibti 4 prakar idaek emtta khux khwamrkikhr prarthnadixyakihekhamikhwamsukh micitxnaephimtriaelakhidthapraoychnaekmnusystwthwhna kruna khux khwamsngsar khidchwyihphnthukkh ificinxncapldepluxngbabdkhwamthukkhyakeduxdrxnkhxngpwngstw muthita khux khwamyindi inemuxphuxunxyudimisukh micitphxngisbnething prakxbdwyxakaraechmchunebikbanxyuesmx txstwthnghlayphudarnginpktisukh phlxyyindidwyemuxekhaiddimisukh ecriyngxkngamyingkhunip xuebkkha khux khwamwangicepnklang xncaihdarngxyuinthrrmtamthiphicarnaehndwypyya khuxmiciteriybtrngethiyngthrrmductachng imexnexiyngdwyrkaelachng phicarnaehnkrrmthistwthnghlaykrathaaelw xnkhwridrbphldihruxchw smkhwraekehtuxntnprakxb phrxmthicawinicchyaelaptibtiiptamthrrm rwmthngruckwangechysngbicmxngdu inemuximmikicthikhwrtha ephraaekharbphidchxbtniddiaelw ekhasmkhwrrbphidchxbtnexng hruxekhakhwridrbphlxnsmkbkhwamrbphidchxbkhxngtnxangxingphcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm phraphrhmkhunaphrn p x pyut ot phrathrrmpidk prayuthth pyut ot bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk