กสิณ คือวิธีการปฏิบัติสมาธิแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนา มีความหมายว่า เพ่งอารมณ์ เป็นสภาพหยาบ สำหรับให้ผู้ฝึกจับให้ติดตาติดใจ ให้จิตใจจับอยู่ในกสิณใดกสิณหนึ่งใน 10 อย่าง ให้มีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว จิตจะได้อยู่นิ่งไม่ฟุ้งซ่าน มีสภาวะให้จิตจับง่ายมีการทรงฌานถึงฌาน 4 ได้ทั้งหมด กสิณทั้ง 10 เป็นพื้นฐานของ
การเพ่งกสิณนับว่าเป็นอุบายกรรมฐานกองต้น ๆ ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ ว่าด้วยการปฏิบัติเพื่ออบรมจิต (อันเป็นแนวทางแห่งการบรรลุสำเร็จมรรคผลนิพพาน หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารนี้ออกไปได้) ซึ่งอุบายกรรมฐานมีอยู่ด้วยกันทั้งหมดสี่สิบกอง ภายใต้กรรมฐานทั้งสี่สิบกองนั้น จะประกอบไปด้วยกรรมฐานที่เกี่ยวเนื่องกับการเพ่งกสิณอยู่ถึงสิบกองด้วยกัน
การเพ่งกสิณ คือ อาการที่เราเพ่ง (อารมณ์) ไม่ได้หมายถึงเพ่งมอง หรือจ้องมอง ไปยังวัตถุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาทิเช่น พระพุทธรูป เทียน สีต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งอากาศ ฯลฯ แล้วเรียนรู้ รับรู้/บันทึก สภาพหรือคุณสมบัติเฉพาะ ของวัตถุ (ธาตุ) หรือสิ่ง ๆ นั้นไว้เช่น เนื้อ สี สภาพผิว ความหนาแน่น ความ เย็นในจิตจนกระทั่งเมื่อหลับตาลงจะปรากฏภาพนิมิต (นิมิตกสิณ) ของวัตถุหรือสิ่ง ๆ นั้นขึ้นมาให้เห็นในจิต หรือแม้กระทั่งยามลืมตาก็ยังสามารถมองเห็นภาพนิมิตกสิณดังกล่าวเป็นภาพติดตา
การเพ่งกสิณจัดเป็นอุบายวิธีในการทำสมาธิที่มีดีอยู่ในตัว กล่าวคือ การเพ่งกสิณเป็นเสมือนทางลัดที่จิตใช้ในการเข้าสู่สมาธิได้อย่างรวดเร็วและง่ายดายกว่าการเลือกใช้อุบายกรรมฐานกองอื่น ๆ มากมายนัก ทั้งนี้เนื่องจากแนวทางในการปฏิบัติสมาธิภาวนาด้วยการใช้อุบายวิธีการเพ่งกสิณนั้น จิตจะยึดเอาภาพนิมิตกสิณที่เกิดขึ้นมาเป็นเครื่องรู้ของจิต แทนอารมณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาในจิต และเมื่อภาพนิมิตกสิณเริ่มรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกันกับจิต จิตก็จะรับเอาภาพนิมิตกสิณนั้นมาเป็นหนึ่งเดียวกันกับจิต
จากนั้นภาพนิมิตกสิณดังกล่าวจะค่อย ๆ พัฒนาไปเองตามความละเอียดของจิต ซึ่งจะส่งผลให้เกิดมีความเปลี่ยนแปลงขึ้นกับภาพนิมิตกสิณนั้น เริ่มตั้งแต่ความคมชัดในการมองเห็นภาพนิมิตกสิณที่ปรากฏขึ้นภายในจิต และสามารถมองเห็นภาพนิมิตกสิณนั้นได้อย่างชัดเจน ราวกับมองเห็นด้วยตาจริง ๆ ไปจนกระทั่งการที่จิตสามารถบังคับภาพนิมิตกสิณนั้นให้เลื่อนเข้า-เลื่อนออก หรือหมุนไปทางซ้าย-ทางขวา หรือยืด-หดภาพนิมิตกสิณดังกล่าวได้ อันเป็นพลังจิตที่เกิดขึ้นจากการเพ่งนิมิตกสิณ
แต่ในที่สุดแล้วภาพนิมิตกสิณทั้งหลายก็จะมาถึงจุดแห่งความเป็นอนัตตา อันได้แก่ ความว่างและแสงสว่าง กล่าวคือ ภาพนิมิตทั้งหลายจะหมดไปจากจิต แม้กระทั่งอาการและสัญญาในดวงจิตก็จะจางหายไปด้วย จากนั้นจิตจึงเข้าสู่กระบวนการของสมาธิในขั้นฌานต่อไปตามลำดับ
กสิณทั้ง 10 อย่าง แบ่งออกเป็น 2 พวก
- พวกที่หนึ่ง คือ กสิณกลาง มี 6 อย่าง คนทุกจริตฝึกกสิณได้ทั้ง 6 แต่ต้องดูให้เหมาะกับจริตนิสัย ของแต่ละคน เช่น คนมีโทสะจริต ไม่ควรฝึกกสินไฟ เพราะจะไปเสริมธาตุไฟในตัว ทำให้ยิ่งมีโทสะมากขึ้น(ยิ่งทำให้หงุดหงิดง่าย)
- ปฐวีกสิณ (ธาตุดิน/ของแข็ง ไม่ใช่เฉพาะดิน) จิตเพ่งดิน โดยกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นดิน หายใจเข้าให้ภาวนาว่า "ปฐวี" หายใจออกให้ภาวนาว่า "กสิณัง" เมื่อปฏิบัติอยู่ดังนี้ ก็จะข่มเสียได้โดยลำดับ กิเลศก็จะสงบระงับจากสันดาน สมาธิก็จะกล้าขึ้น จิตนั้นก็ชื่อว่าตั้งมั่น เป็นอุปจารสมาธิ เมื่อทำได้สำเร็จแล้ว ก็พึงปฏิบัติในปฐมฌานนั้นให้ชำนาญคล่องแคล่วด้วยดีก่อนแล้วจึงเจริญสืบต่อไปได้
- เตโชกสิณ (ธาตุไฟ ธาตุร้อน) จิตเพ่งไฟ คือการเพ่งเปลวไฟ โดยกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นไฟ หายใจเข้าให้ภาวนาว่า "เตโช" หายใจออกภาวนาว่า "กสิณัง"
- วาโยกสิณ (ธาตุลม) จิตเพ่งอยู่กับลม นึกถึงภาพลม โดยกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นลม หายใจเข้าให้ภาวนาว่า "วาโย" หายใจออกภาวนาว่า "กสิณัง"
- อากาสกสิณ (ช่องว่าง) จิตเพ่งอยู่กับอากาศ นึกถึงอากาศ คือการเพ่งช่องว่าง โดยกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นช่องว่าง เวลาหายใจเข้าให้ภาวนาว่า "อากาศ" หายใจออกภาวนาว่า "กสิณัง"
- อาโลกสิณ (กสิณแสงสว่าง) จิตเพ่งอยู่กับแสงสว่าง นึกถึงแสงสว่าง วิธีเจริญอาโลกกสิณให้ผู้ปฏิบัติยึดโดยทำความรู้สึกถึงความสว่าง ไม่ใช่เพ่งที่สีของแสงนั้น เวลาหายใจเข้าให้ภาวนาว่า "อาโลก" หายใจออกให้ภาวนาว่า "กสิณัง"
- อาโปกสิณ (ธาตุน้ำ/ของเหลว) จิตนึกถึงน้ำเพ่งน้ำไว้ คือการเพ่งน้ำ โดยกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นน้ำ หายใจเข้าให้ภาวนาว่า "อาโป" หายใจออกภาวนาว่า "กสิณัง" ให้เลือกภาวนากสิณใดกสิณหนึ่งให้ได้ถึงฌาน 4 หรือฌาน 5 กสิณอื่น ๆ ก็ทำได้ง่ายทั้งหมด
- พวกที่สองคือกสิณเฉพาะอุปนิสัยหรือเฉพาะจริตมี 4 อย่าง สำหรับคนโกรธง่าย คือพวกโทสจริต
- โลหิตกสิณ เพ่งกสิณ หรือนิมิตสีแดงจะเป็นดอกไม้แดง เลือดแดง หรือผ้าสีแดงก็ได้ทั้งนั้นจิตนึกภาพสีแดงแล้วภาวนาว่า โลหิต กสิณัง
- นีลกสิณ ตาดูสีเขียวใบไม้ หญ้า หรืออะไรก็ได้ที่เป็นสีเขียว แล้วหลับตาจิตนึกถึงภาพสีเขียว ภาวนาว่า นีล กสิณัง
- ปีตกสิณ จิตเพ่งของอะไรก็ได้ที่เป็นสีเหลือง ภาวนาว่า ปีต กสิณัง
- โอทาตกสิณ ตาเพ่งสีขาวอะไรก็ได้แล้วแต่สะดวก แล้วหลับตานึกถึงภาพสีขาว ภาวนาโอทา กสิณัง จนจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งไม่วอกแวกไม่รู้ลมหายใจภาพกสิณชัดเจน
ท่านว่าจิตเข้าถึงฌาน 4 ก็เป็นจิตเฉยมีอุเบกขาอยู่กับภาพกสิณต่าง ๆ ที่จิตจับเอาไว้ เป็นเอกคดารมย์
อานุภาพกสิณ 10
กสิณ 10 ประการนี้ เป็นปัจจัยให้แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในฉฬภิญโญ เมื่อบำเพ็ญปฏิบัติใน กสิณกองใดกองหนึ่งสำเร็จถึงจตตุถฌานแล้ว ก็ควรฝึกตามอำนาจที่กสิณกองนั้นมีอยู่ให้ชำนาญ ถ้าท่านปฏิบัติถึงฌาน 4 แล้ว แต่มิได้ฝึกอธิษฐานต่าง ๆ ตามแบบ กล่าวกันว่าผู้นั้นยังไม่จัดว่าเป็นผู้เข้าฌานถึงกสิณ
อำนาจฤทธิ์ในกสิณทางพระพุทธศาสนา
|
|
วิธีอธิษฐานฤทธิ์
วิธีอธิษฐานจิตที่จะให้เกิดผลตามฤทธิ์ที่ต้องการท่านให้ทำดังต่อไปนี้
- ท่านให้เข้าฌาน 4 ก่อน
- แล้วออกจากฌาน 4
- แล้วอธิษฐานจิตในสิ่งที่ตนต้องการจะให้เป็นอย่างนั้น
- แล้วกลับเข้าฌาน 4 อีก
- ออกจากฌาน 4
- แล้วอธิษฐานจิตทับลงไปอีกครั้ง สิ่งที่ต้องการจะปรากฏสมความปรารถนา
สถานที่ฝึกกสิณในประเทศไทย
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- อาจารย์บูรพา ผดุงไทย, กสิณไฟ, หจก. ส เจริญการพิมพ์, 2551
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ksin khuxwithikarptibtismathiaebbhnunginphraphuththsasna mikhwamhmaywa ephngxarmn epnsphaphhyab sahrbihphufukcbihtidtatidic ihciticcbxyuinksinidksinhnungin 10 xyang ihmixarmnepnhnungediyw citcaidxyuningimfungsan misphawaihcitcbngaymikarthrngchanthungchan 4 idthnghmd ksinthng 10 epnphunthankhxng karephngksinnbwaepnxubaykrrmthankxngtn thixngkhsmedcphrasmmasmphuththecaidthrngbyytiiw wadwykarptibtiephuxxbrmcit xnepnaenwthangaehngkarbrrlusaercmrrkhphlniphphan hludphncakkarewiynwaytayekidinwtsngsarnixxkipid sungxubaykrrmthanmixyudwyknthnghmdsisibkxng phayitkrrmthanthngsisibkxngnn caprakxbipdwykrrmthanthiekiywenuxngkbkarephngksinxyuthungsibkxngdwykn karephngksin khux xakarthieraephng xarmn imidhmaythungephngmxng hruxcxngmxng ipyngwtthuhruxsingidsinghnung xathiechn phraphuththrup ethiyn sitang hruxaemkrathngxakas l aelweriynru rbru bnthuk sphaphhruxkhunsmbtiechphaa khxngwtthu thatu hruxsing nniwechn enux si sphaphphiw khwamhnaaenn khwam eynincitcnkrathngemuxhlbtalngcapraktphaphnimit nimitksin khxngwtthuhruxsing nnkhunmaihehnincit hruxaemkrathngyamlumtakyngsamarthmxngehnphaphnimitksindngklawepnphaphtidta karephngksincdepnxubaywithiinkarthasmathithimidixyuintw klawkhux karephngksinepnesmuxnthangldthicitichinkarekhasusmathiidxyangrwderwaelangaydaykwakareluxkichxubaykrrmthankxngxun makmaynk thngnienuxngcakaenwthanginkarptibtismathiphawnadwykarichxubaywithikarephngksinnn citcayudexaphaphnimitksinthiekidkhunmaepnekhruxngrukhxngcit aethnxarmntang thiphanekhamaincit aelaemuxphaphnimitksinerimrwmknepnhnungediywknkbcit citkcarbexaphaphnimitksinnnmaepnhnungediywknkbcit caknnphaphnimitksindngklawcakhxy phthnaipexngtamkhwamlaexiydkhxngcit sungcasngphlihekidmikhwamepliynaeplngkhunkbphaphnimitksinnn erimtngaetkhwamkhmchdinkarmxngehnphaphnimitksinthipraktkhunphayincit aelasamarthmxngehnphaphnimitksinnnidxyangchdecn rawkbmxngehndwytacring ipcnkrathngkarthicitsamarthbngkhbphaphnimitksinnniheluxnekha eluxnxxk hruxhmunipthangsay thangkhwa hruxyud hdphaphnimitksindngklawid xnepnphlngcitthiekidkhuncakkarephngnimitksin aetinthisudaelwphaphnimitksinthnghlaykcamathungcudaehngkhwamepnxntta xnidaek khwamwangaelaaesngswang klawkhux phaphnimitthnghlaycahmdipcakcit aemkrathngxakaraelasyyaindwngcitkcacanghayipdwy caknncitcungekhasukrabwnkarkhxngsmathiinkhnchantxiptamladbksinthng 10 xyang aebngxxkepn 2 phwkphwkthihnung khux ksinklang mi 6 xyang khnthukcritfukksinidthng 6 aettxngduihehmaakbcritnisy khxngaetlakhn echn khnmiothsacrit imkhwrfukksinif ephraacaipesrimthatuifintw thaihyingmiothsamakkhun yingthaihhngudhngidngay pthwiksin thatudin khxngaekhng imichechphaadin citephngdin odykahndwasingniepndin hayicekhaihphawnawa pthwi hayicxxkihphawnawa ksinng emuxptibtixyudngni kcakhmesiyidodyladb kielskcasngbrangbcaksndan smathikcaklakhun citnnkchuxwatngmn epnxupcarsmathi emuxthaidsaercaelw kphungptibtiinpthmchannnihchanaykhlxngaekhlwdwydikxnaelwcungecriysubtxipid etochksin thatuif thaturxn citephngif khuxkarephngeplwif odykahndwasingniepnif hayicekhaihphawnawa etoch hayicxxkphawnawa ksinng waoyksin thatulm citephngxyukblm nukthungphaphlm odykahndwasingniepnlm hayicekhaihphawnawa waoy hayicxxkphawnawa ksinng xakasksin chxngwang citephngxyukbxakas nukthungxakas khuxkarephngchxngwang odykahndwasingniepnchxngwang ewlahayicekhaihphawnawa xakas hayicxxkphawnawa ksinng xaolksin ksinaesngswang citephngxyukbaesngswang nukthungaesngswang withiecriyxaolkksinihphuptibtiyudodythakhwamrusukthungkhwamswang imichephngthisikhxngaesngnn ewlahayicekhaihphawnawa xaolk hayicxxkihphawnawa ksinng xaopksin thatuna khxngehlw citnukthungnaephngnaiw khuxkarephngna odykahndwasingniepnna hayicekhaihphawnawa xaop hayicxxkphawnawa ksinng iheluxkphawnaksinidksinhnungihidthungchan 4 hruxchan 5 ksinxun kthaidngaythnghmdphwkthisxngkhuxksinechphaaxupnisyhruxechphaacritmi 4 xyang sahrbkhnokrthngay khuxphwkothscritolhitksin ephngksin hruxnimitsiaedngcaepndxkimaedng eluxdaedng hruxphasiaedngkidthngnncitnukphaphsiaedngaelwphawnawa olhit ksinng nilksin tadusiekhiywibim hya hruxxairkidthiepnsiekhiyw aelwhlbtacitnukthungphaphsiekhiyw phawnawa nil ksinng pitksin citephngkhxngxairkidthiepnsiehluxng phawnawa pit ksinng oxthatksin taephngsikhawxairkidaelwaetsadwk aelwhlbtanukthungphaphsikhaw phawnaoxtha ksinng cncitmixarmnepnhnungimwxkaewkimrulmhayicphaphksinchdecn thanwacitekhathungchan 4 kepncitechymixuebkkhaxyukbphaphksintang thicitcbexaiw epnexkkhdarmyxanuphaphksin 10ksin 10 prakarni epnpccyihaesdngvththitang tamnythiklawmaaelwinchlphiyoy emuxbaephyptibtiin ksinkxngidkxnghnungsaercthungcttuthchanaelw kkhwrfuktamxanacthiksinkxngnnmixyuihchanay thathanptibtithungchan 4 aelw aetmiidfukxthisthantang tamaebb klawknwaphunnyngimcdwaepnphuekhachanthungksinxanacvththiinksinthangphraphuththsasnapthwiksin mivththidngni echn enrmitkhnkhnediywihepnkhnmak id ihkhnmakepnkhnkhnediywid thanaaelaxakasihaekhngid samarthyxaephndinihiklkalngkarinedinthang xaopksin samarthenrmitkhxngaekhngihxxnid echnxthisthansthanthiepndinhruxhruxhinthikndarnaihekidbxna xthisthanhindinehlkihxxn xthisthaninsthanthikhadaekhlnfn ihekidmifnxyangniepntn etochksin xthisthanihekidepnephlingephaphlayhruxihekidaesngswangid thaaesngswangihekidaekcksuyan samarthehnphaphtang inthiiklidkhlaytathiphy thaihekidkhwamrxninthithuksthanid emuxxakashnaw samarththaihekidkhwamxbxunid waoyksin xthisthancitihtwlxytamlm hruxxthisthanihtweba ehaaipinxakaskid sthanthiidimmilmxthisthanihmilmid nilksin samarththaihekidsiekhiyw hruxthasthanthiswangihmudkhrumid pitksin samarthenrmitsiehluxnghruxsithxngihekidid olhitksin samarthenrmitsiaedngihekididtamkhwamprasngkh oxthaksin samarthenrmitsikhawihprakt aelathaihekidaesngswangid epnkrrmthan thixanwypraoychninthiphyckkhuyan echnediywkbetochksin xaolksin enrmitrupihmirsmiswangiswid thathimudihekidaesngswangidepnkrrmthansrangthiphyckkhuyanodytrng xakasksin samarthxthisthancitihehnkhxngthipkpidiwid ehmuxnkhxngnnwangxyuinthiaecng sthanthiidepnxbdwyxakas samarthxthisthanihekidkhwamoprngmixakassmburnephiyngphxaekkhwamtxngkaridwithixthisthanvththiwithixthisthancitthicaihekidphltamvththithitxngkarthanihthadngtxipni thanihekhachan 4 kxn aelwxxkcakchan 4 aelwxthisthancitinsingthitntxngkarcaihepnxyangnn aelwklbekhachan 4 xik xxkcakchan 4 aelwxthisthancitthblngipxikkhrng singthitxngkarcapraktsmkhwamprarthnasthanthifukksininpraethsithyphakhklangwdyannawa krungethphmhankhrswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingxacaryburpha phdungithy ksinif hck s ecriykarphimph 2551