ญาณ (บาลี: ญาณ ñāṇa; สันสกฤต: ज्ञान ชฺญาน) แปลว่า ความรู้ คือ ปรีชาหยั่งรู้ ปรีชากำหนดรู้ หรือ กำหนดรู้ได้ด้วยอำนาจการทำสมาธิและวิปัสสนา เรียกว่า วิชชา บ้าง
ญาณ เป็นไวพจน์คำหนึ่งของปัญญา แต่มักใช้ในความหมายที่จำเพาะกว่า คือเป็นปัญญาที่ทำงานออกผลมาเป็นเรื่อง ๆ มองเห็นสิ่งนั้น ๆ หรือเรื่องนั้น ๆ ตามสภาวะจริง
มีการกล่าวถึงญาณในหลายลักษณะ หรืออาจจัดแบ่งญาณได้เป็น ญาณ 3 (3 หมวด) และ ญาณ 16 (ใน) ดังนี้
ญาณ 3 ได้แก่ วิชชา 3
คำว่า 'ญาณ' 3 อาจหมายถึงวิชชา 3 คือ
- บุพเพนิวาสานุสสติญาณ ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกถึงขันธ์ที่เกิดในอดีตได้ คือ ของตนได้
- จุตูปปาตญาณ ความรู้ในจุติและอุบัติของสัตว์โลกได้ เรียกว่า หรือ บ้าง
- อาสวักขยญาณ ความรู้ในการกำจัดให้สิ้นไป
ญาณ 3 ในส่วนอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน
ญาณ 3 อีกหมวดหนึ่ง ได้แก่
- อตีตังสญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้ในส่วนอดีต
- อนาคตังสญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้ในส่วนอนาคต
- ปัจจุปปันญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้ในส่วนปัจจุบัน
ญาณ 3 ในการหยั่งรู้อริยสัจ
ญาณ 3 อีกหมวดหนึ่ง ได้แก่
- สัจจญาณ หมายถึง ญาณในการหยั่งรู้อริยสัจแต่ละอย่าง
- กิจจญาณ หมายถึง ญาณในการหยั่งรู้กิจในอริยสัจ
- กตญาณ หมายถึง ญาณในการหยั่งรู้กิจอันได้ทำแล้วในอริยสัจ
ญาณ 16
ญาณ 16 ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาบาลีโดยตรงทั้งหมด แต่วิปัสสนาจารย์สายพม่าได้เรียบเรียงจากญาณที่ระบุใน และคัมภีร์วิสุทธิมรรค รวมกัน 16 ขั้น เรียกว่า ญาณ 16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน ได้แก่
- นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
- นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
- สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณที่เห็นสังขตลักษณะคือความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของนามรูป และเริ่มเห็นไตรลักษณ์ เห็นตรุณอุทยัพพยญาณหรืออุทยัพพยญาณอย่างอ่อน วิปัสสนูปกิเลสจะเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้
- อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ (เรียกโดยย่อว่า อุพยัพพยญาณ) หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป เห็นพลวอุทยัพพยญาณหรืออุทยัพพยญาณอย่างแก่ จัดว่าจิตเริ่มเข้าสู่วิปัสสนาญาณที่แท้จริง (ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
- ภังคานุปัสสนาญาณ (เรียกโดยย่อว่า ภังคญาณ) หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมาอย่างเดียว
- ภยตูปัฏฐานญาณ (เรียกโดยย่อว่า ภยญาณ) หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
- อาทีนวานุปัสสนาญาณ (เรียกโดยย่อว่า อาทีนวญาณ) หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
- นิพพิทานุปัสสนาญาณ (เรียกโดยย่อว่า นิพพิทาญาณ) หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
- มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
- ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ (เรียกโดยย่อว่า ปฏิสังขาญาณ) หมายถึง ญาณอันพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
- สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
- สัจจานุโลมิกญาณ (เรียกโดยย่อว่า อนุโลมญาณ) หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ สามารถเห็นไตรลักษณ์ ด้วยภาวนามยปัญญาได้(พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ)
- โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
- มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
- ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
- ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน (ว่ากิเลสใดดับไป กิเลสยังเหลืออยู่ กิจที่ต้องทำยังมีอยู่หรือไม่ พิจารณาสัจจานุโลมมิกญาณอีก)
วิปัสสนาญาณ 9
แต่เมื่อกล่าวถึงวิปัสสนาญาณโดยเฉพาะ อันหมายถึงญาณที่นับเข้าในวิปัสสนา หรือญาณที่จัดเป็นวิปัสสนา จะมีเพียง 9 ขั้น คือ ตั้งแต่ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ถึง สัจจานุโลมิกญาณ (ตามปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ (ขั้นหนึ่งในวิสุทธิ 7) ที่บรรยายคัมภีร์ในวิสุทธิมรรค แต่ในคัมภีร์ นับรวม สัมมสนญาณ ด้วยเป็น 10 ขั้น) เมื่อโพชฌงค์เจริญบริบูรณ์ครบ 7 ข้อ จิตจึงมีกำลังสามารถเห็นวิปัสสนาญาณได้ และใช้วิปัสสนาที่ปรากฏขึ้นมาเป็นเครื่องมือนำไปสู่มรรค ผล นิพพาน
- วิปัสสนาญาณคืออุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ภังคานุปัสสนาญาณ นั้นเห็นอนิจจัง
- วิปัสสนาญาณคือภยตูปัฏฐานญาณ อาทีนวานุปัสสนาญาณ นิพพิทานุปัสสนาญาณ นั้นเห็นทุกขัง
- วิปัสสนาญาณคือมุจจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ สังขารุเบกขาญาณ นั้นเห็นอนัตตา
ญาณ16 จัดเข้าในวิสุทธิ 7
- นามรูปปริทเฉทญาณ จัดเข้าใน ทิฏฐิวิสุทธิ
- นามรูปปัจจยปริคคหญาณ จัดเข้าในกังขาวิตรณวิสุทธิ
- สัมมสนญาณและอุทธยัพพยญาณอย่างอ่อน จัดเข้าในมัคคามัคคญาณทัสสนะวิสุทธิ
- วิปัสสนาญาณทั้ง 9 จัดเข้าในปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
- โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ จัดเป็นญาณทัสสนวิสุทธิ
ลักษณะ 3 อย่างในญาณ 16
- สภาวะลักษณะ เห็นลักษณะที่ปรากฏจากความเป็นไปของธาตุ ปรากฏตั้งแต่ยังไม่ได้ญาณถึงนามรูปปัจจยปริคหญาณ
- สังขตลักษณะ เห็นลักษณะคือ ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ปรากฏตั้งแต่สัมมสนญาณ
- สามัญญลักษณะ เห็นลักษณะทั้งสามหรือไตรลักษณ์ ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปรากฏตั้งแต่อุทธยัพพยญาณ
วิปัสสนาญาณ 9 กับ มรรคมีองค์ 8
วิปัสสนาญาณ 8 ข้อแรก เป็นญาณที่กำหนดเห็นพระไตรลักษณ์ จัดเป็นทุกขอริยสัจ เพราะเห็นทุกข์ ดังนั้น เมื่อทุกข์ถูกรู้ สมุทัยจึงถูกละ นิโรธจึงถูกทำให้แจ้ง มรรคจึงถูกปฏิบัติ ตามลำดับไปด้วยเช่นกัน
- อุทยัพพยญาณ เกิดสัมมาทิฏฐิ
เพราะเห็นความเกิดขึ้นและความดับไปเป็นธรรมดาของสิ่งทั้งปวง และเริ่มเห็นอริยสัจเบื้องต้น ว่านี่ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
- ภังคญาณ เกิดสัมมาสังกัปปะ
เพราะเห็นความดับไปของสิ่งทั้งปวง จึงไม่เห็นประโยชน์ในกาม ในการจองเวร ในการเบียดเบียน
- ภยญาณ เกิดสัมมาวาจา
เพราะกลัวภัยในวัฏฏสงสารที่จองเวรกันและสร้างเวรต่อกันมักอันเกิดจากคำพูดที่ไม่รู้จักคิด จึงเกิดการสำรวมวาจา
- อาทีนวญาณ เกิดสัมมากัมมันตะ
เพราะเห็นโทษอันเกิดจากการสร้างกรรมทางกาย มีฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม อันเกิดจากความโลภ โกรธ หลง ในใจตน เป็นเหตุให้พบเจอวิบากกรรมต่างๆ
- นิพพิทาญาณ เกิดสัมมาอาชีวะ
เพราะเบื่อหน่ายในรูปนามจึงพอเพียงต่อความต้องการ ไม่สร้างกรรมคือที่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนแค่เพราะตนเองได้ผลประโยชน์
- มุญจิตุกัมยตาญาณ เกิดสัมมาวายามะ
เพราะเมื่อจิตต้องการแสวงหาทางออกจากทุกข์ จึงเกิดความเพียรพยายาม
- ปฏิสังขาญาณ เกิดสัมมาสติ
เพราะกลับมาพิจารณาทบทวนในรูปนามอีกครั้ง จนเห็นว่าความดับไปของรูปนามเกิดขึ้นได้ด้วยการดับเหตุปัจจัยของรูปนาม เห็นปฏิจจสมุปบาทสายดับหรือปฏิโลม
- สังขารุเปกขาญาณ เกิดสัมมาสมาธิ
เพราะเมื่อจิตวางอุเบกขาต่อรูปนาม จิตจึงตั้งมั่นเป็นสมาธิ
เมื่อมรรคอริยสัจเกิดขึ้น กิเลสเบื้องต้นอันเนื่องด้วยมรรค 8 กลุ่มจึงถูกละชั่วคราวเช่นกัน จึงเกิดสมุทัยชั่วคราว เมื่อสมุทัยถูกละชั่วคราว จึงเกิดนิโรธชั่วคราวขึ้น ตามกิเลสที่ถูกละไป
- สัจจานุโลมมิกญาณ เกิดมรรคสามัคคี
เมื่อพิจารณาวิปัสสนาญาณ 8 ข้อแรกพร้อมกัน จึงเท่ากับการหมุนธรรมจักรไปด้วย เพราะมรรคมีองค์ 8 ย่อมปรากฎขึ้นพร้อมกันเช่นกัน
อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม".
- พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ สุตตันตปิฎกที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค [๑. มหาวรรค] ญาณกถา
- "ญาณ 3". พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. 4 มกราคม 2548. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2555.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "ญาณ 3". พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. 4 มกราคม 2548. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2555.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "ญาณ 3". พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. 4 มกราคม 2548. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2555.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yan bali yan naṇa snskvt ज ञ न ch yan aeplwa khwamru khux prichahyngru prichakahndru hrux kahndruiddwyxanackarthasmathiaelawipssna eriykwa wichcha bang yan epniwphcnkhahnungkhxngpyya aetmkichinkhwamhmaythicaephaakwa khuxepnpyyathithanganxxkphlmaepneruxng mxngehnsingnn hruxeruxngnn tamsphawacring mikarklawthungyaninhlaylksna hruxxaccdaebngyanidepn yan 3 3 hmwd aela yan 16 in dngniyan 3 idaek wichcha 3khawa yan 3 xachmaythungwichcha 3 khux buphephniwasanusstiyan khwamruepnehtuihralukthungkhnththiekidinxditid khux khxngtnid cutuppatyan khwamruincutiaelaxubtikhxngstwolkid eriykwa hrux bang xaswkkhyyan khwamruinkarkacdihsinipyan 3 inswnxdit xnakht pccubnyan 3 xikhmwdhnung idaek xtitngsyan hmaythung yanhyngruinswnxdit xnakhtngsyan hmaythung yanhyngruinswnxnakht pccuppnyan hmaythung yanhyngruinswnpccubnyan 3 inkarhyngruxriyscyan 3 xikhmwdhnung idaek sccyan hmaythung yaninkarhyngruxriyscaetlaxyang kiccyan hmaythung yaninkarhyngrukicinxriysc ktyan hmaythung yaninkarhyngrukicxnidthaaelwinxriyscyan 16yan 16 impraktinphraitrpidkphasabaliodytrngthnghmd aetwipssnacarysayphmaideriyberiyngcakyanthirabuin aelakhmphirwisuththimrrkh rwmkn 16 khn eriykwa yan 16 oslsyan epnyanthiekidaekphubaephywipssna odyladbtngaettn cnthungcudhmaykhuxmrrkhphlniphphan idaek namruppricechthyan hmaythung yankahndaeyknamrup namruppccyprikhkhhyan hmaythung yancbpccyaehngnamrup smmsnyan hmaythung yanthiehnsngkhtlksnakhuxkhwamekidkhun tngxyu dbipkhxngnamrup aelaerimehnitrlksn ehntrunxuthyphphyyanhruxxuthyphphyyanxyangxxn wipssnupkielscaekidkhunidinchwngni xuthyphphyanupssnayan eriykodyyxwa xuphyphphyyan hmaythung yantamehnkhwamekidaelakhwamdbaehngnamrup ehnphlwxuthyphphyyanhruxxuthyphphyyanxyangaek cdwaciterimekhasuwipssnayanthiaethcring rahwangekidthungdb ehnepnduckraaesnathiihl phngkhanupssnayan eriykodyyxwa phngkhyan hmaythung yantamehncaephaakhwamdbednkhunmaxyangediyw phytuptthanyan eriykodyyxwa phyyan hmaythung yanxnmxngehnsngkharpraktepnkhxngnaklw imaennxn ducklwtxmrnathicaekid xathinwanupssnayan eriykodyyxwa xathinwyan hmaythung yankhanungehnothsphykhxngsingthngpwng phnphwnaeprprwn phungphingmiid niphphithanupssnayan eriykodyyxwa niphphithayan hmaythung yankhanungehndwykhwamebuxhnay muccitukmytayan hmaythung yanhyngruxnikhrcaphnipesiy ptisngkhanupssnayan eriykodyyxwa ptisngkhayan hmaythung yanxnphicarnathbthwnephuxcahathanghni sngkharuebkkhayan hmaythung yanxnepnipodykhwamepnklangwangechytxsngkhar sccanuolmikyan eriykodyyxwa xnuolmyan hmaythung yanepnipodykhwraekkarhyngruxriysc samarthehnitrlksn dwyphawnamypyyaid phicarnawipssnayanthng8thiphanma waepnthukkh emuxehnthukkhkehn smuthy niorth mrrkh odyaetlayanepnehtuekidmrrkh thng8 tamladb okhtrphuyan hmaythung yankhrxbokhtr khux hwtxthikhamphnphawaputhuchn thaepnxriybukhkhlaelw caeriykwawithanayan ehnkhwamthukkhcnimklwtxkhwamwang ducbukhkhlklaoddcakhnaphasukhwamwangephraarngekiycinhnaphannxyangsudcitsudic mkhkhyan hmaythung yaninxriymrrkh phlyan hmaythung yanxriyphl pccewkkhnyan hmaythung yanthiphicarnathbthwn wakielsiddbip kielsyngehluxxyu kicthitxngthayngmixyuhruxim phicarnasccanuolmmikyanxik wipssnayan 9aetemuxklawthungwipssnayanodyechphaa xnhmaythungyanthinbekhainwipssna hruxyanthicdepnwipssna camiephiyng 9 khn khux tngaet xuthyphphyanupssnayan thung sccanuolmikyan tamptipthayanthssnwisuththi khnhnunginwisuththi 7 thibrryaykhmphirinwisuththimrrkh aetinkhmphir nbrwm smmsnyan dwyepn 10 khn emuxophchchngkhecriybriburnkhrb 7 khx citcungmikalngsamarthehnwipssnayanid aelaichwipssnathipraktkhunmaepnekhruxngmuxnaipsumrrkh phl niphphan wipssnayankhuxxuthyphphyanupssnayan phngkhanupssnayan nnehnxniccng wipssnayankhuxphytuptthanyan xathinwanupssnayan niphphithanupssnayan nnehnthukkhng wipssnayankhuxmuccitukmytayan ptisngkhanupssnayan sngkharuebkkhayan nnehnxnttayan16 cdekhainwisuththi 7 namrupprithechthyan cdekhain thitthiwisuththi namruppccyprikhkhhyan cdekhainkngkhawitrnwisuththi smmsnyanaelaxuththyphphyyanxyangxxn cdekhainmkhkhamkhkhyanthssnawisuththi wipssnayanthng 9 cdekhainptipthayanthssnwisuththi okhtrphuyan mkhkhyan phlyan pccewkkhnyan cdepnyanthssnwisuththilksna 3 xyanginyan 16 sphawalksna ehnlksnathipraktcakkhwamepnipkhxngthatu prakttngaetyngimidyanthungnamruppccyprikhhyan sngkhtlksna ehnlksnakhux khwamekidkhun tngxyu dbip prakttngaetsmmsnyan samyylksna ehnlksnathngsamhruxitrlksn idaek xniccng thukkhng xntta prakttngaetxuththyphphyyanwipssnayan 9 kb mrrkhmixngkh 8 wipssnayan 8 khxaerk epnyanthikahndehnphraitrlksn cdepnthukkhxriysc ephraaehnthukkh dngnn emuxthukkhthukru smuthycungthukla niorthcungthukthaihaecng mrrkhcungthukptibti tamladbipdwyechnkn xuthyphphyyan ekidsmmathitthi ephraaehnkhwamekidkhunaelakhwamdbipepnthrrmdakhxngsingthngpwng aelaerimehnxriyscebuxngtn wanithukkh smuthy niorth mrrkh phngkhyan ekidsmmasngkppa ephraaehnkhwamdbipkhxngsingthngpwng cungimehnpraoychninkam inkarcxngewr inkarebiydebiyn phyyan ekidsmmawaca ephraaklwphyinwttsngsarthicxngewrknaelasrangewrtxknmkxnekidcakkhaphudthiimruckkhid cungekidkarsarwmwaca xathinwyan ekidsmmakmmnta ephraaehnothsxnekidcakkarsrangkrrmthangkay mikhastw lkthrphy praphvtiphidinkam xnekidcakkhwamolph okrth hlng inictn epnehtuihphbecxwibakkrrmtang niphphithayan ekidsmmaxachiwa ephraaebuxhnayinrupnamcungphxephiyngtxkhwamtxngkar imsrangkrrmkhuxthithaihphuxuneduxdrxnaekhephraatnexngidphlpraoychn muycitukmytayan ekidsmmawayama ephraaemuxcittxngkaraeswnghathangxxkcakthukkh cungekidkhwamephiyrphyayam ptisngkhayan ekidsmmasti ephraaklbmaphicarnathbthwninrupnamxikkhrng cnehnwakhwamdbipkhxngrupnamekidkhuniddwykardbehtupccykhxngrupnam ehnpticcsmupbathsaydbhruxptiolm sngkharuepkkhayan ekidsmmasmathi ephraaemuxcitwangxuebkkhatxrupnam citcungtngmnepnsmathi emuxmrrkhxriyscekidkhun kielsebuxngtnxnenuxngdwymrrkh 8 klumcungthuklachwkhrawechnkn cungekidsmuthychwkhraw emuxsmuthythuklachwkhraw cungekidniorthchwkhrawkhun tamkielsthithuklaip sccanuolmmikyan ekidmrrkhsamkhkhi emuxphicarnawipssnayan 8 khxaerkphrxmkn cungethakbkarhmunthrrmckripdwy ephraamrrkhmixngkh 8 yxmprakdkhunphrxmknechnknxangxingphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phuthththrrm phraitrpidkelmthi 31 suttntpidkthi 23 khuththknikay ptismphithamrrkh 1 mhawrrkh yanktha yan 3 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm 4 mkrakhm 2548 subkhnemux 19 minakhm 2555 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help yan 3 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm 4 mkrakhm 2548 subkhnemux 19 minakhm 2555 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help yan 3 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm 4 mkrakhm 2548 subkhnemux 19 minakhm 2555 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help duephimyanthssna wipssna wipssnakrrmthan wisuththi 7 xriysc 4