ทุกข์ หรือ ทุกขัง (บาลี: ทุกฺข) เป็นหลักธรรมสำคัญในศาสนาพุทธ แปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารทั้งปวง อันได้แก่ ขันธ์ 5 ซึ่งเป็นที่ตั้งของกองทุกข์
ในทางพระพุทธศาสนา การกำหนดทุกข์ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องทำเพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ในอริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส
ทุกข์ จัดเป็นหนึ่งในชื่อเรียกที่เป็นไวพจน์ของขันธ์ซึ่งถูกใช้เป็นอย่างมากในพระไตรปิฎก
ทุกข์ในอริยสัจ
ทุกข์ถือเป็นความจริงอันประเสริฐข้อที่ 1 ในอริยสัจ 4 จึงเรียกว่าทุกขสัจ มี 11 อย่าง ได้แก่ :-
- ชาติ หมายถึง ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
- ชรา หมายถึง ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่นเป็นเกลียว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
- มรณะ หมายถึง ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความทำลายแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งซากศพไว้ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
- โสกะ หมายถึง ความแห้งใจ กิริยาที่แห้งใจ ภาวะแห่งบุคคลผู้แห้งใจ ความผาก ณ ภายใน ความแห้งผาก ณ ภายใน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
- ปริเทวะ หมายถึง ความคร่ำครวญ ความร่ำไรรำพัน กิริยาที่คร่ำครวญ กิริยาที่ร่ำไรรำพัน ภาวะของบุคคลผู้คร่ำครวญ ภาวะของบุคคลผู้ร่ำไรรำพัน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว
- ทุกข์ (กาย) หมายถึง ความลำบากทางกาย ความไม่สำราญทางกาย ความเสวยอารมณ์ อันไม่ดีที่เป็นทุกข์เกิดแต่ กายสัมผัส
- โทมนัส หมายถึง ความทุกข์ทางจิต ความไม่สำราญทางจิต ความเสวยอารมณ์อันไม่ดี ที่เป็นทุกข์เกิดแต่ มโนสัมผัส (สัมผัสทางใจ นึกคิดขึ้นมา)
- อุปายาส หมายถึง ความแค้น ความคับแค้น ภาวะของบุคคลผู้แค้น ภาวะของบุคคลผู้คับแค้น ของบุคคล ผู้ประกอบด้วยความพิบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
- ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก หมายถึง ความประสบ ความพรั่งพร้อม ความร่วม ความระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (ความรู้สึกทางกาย) อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ หรือด้วย บุคคลผู้ปรารถนาสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ปรารถนาความไม่ผาสุก ปรารถนาความไม่เกษมจากโยคะ (กิเลส) ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
- ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก หมายถึง ความไม่ประสบ ความไม่พรั่งพร้อม ความไม่ร่วม ความไม่ระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือด้วยบุคคลผู้ปรารถนาประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่เกื้อกูล ปรารถนาความผาสุก ปรารถนาความเกษม จากโยคะ คือ มารดา บิดา พี่ชาย น้องชาย พี่หญิง น้องหญิง มิตร อมาตย์ หรือ ญาติสาโลหิต ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
- ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น หมายถึง ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่ สัตว์ผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความเจ็บเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความตายเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสเป็นธรรมดา อย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความเกิดเป็นธรรมดา ขอความเกิดอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความแก่เป็นธรรมดา ขอความแก่อย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความเจ็บเป็นธรรมดา ขอความเจ็บอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความตายเป็นธรรมดา ขอความตายอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส เป็นธรรมดา ขอโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส อย่ามีมาถึงเราเลย สัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา
สรุปว่าอุปาทานขันธ์ 5 ทั้งหมดนั่นเองที่เป็นทุกขสัจ เป็นโทษ เป็นภัยที่สุด.
ปกติแล้วเรามักเห็นว่า บางครั้งท่านใช้ความหมายของทุกข์ควบคู่ไปกับทุกขเวทนา, จนทำให้เข้าใจกันว่า ทุกข์หมายถึงความทุกข์เจ็บปวด เป็นต้น แต่หากพิจารณาตามข้อความที่ยกมานี้ จะพบว่า ใน 11 ข้อนี้ มีถึง 6 ข้อ (เกินครึ่ง) ที่ไม่ได้หมายถึงเพียงทุกขเวทนาเท่านั้น แต่หมายถึงขันธ์ทั้งหมด. 6 ข้อนี้ ได้แก่ ชาติ, ชรา, มรณะ, ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น
เมื่อว่ากันทั่วไปตามโวหารโลกตามหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนาแล้ว ในขณะที่เกิด () และขณะที่ตาย () ของสรรพสัตว์นั้น ไม่ว่าจะเกิดและตายอย่างพิสดารผาดโผนโจนทะยานเท่าใดก็ตาม แต่ชั่วเวลาไม่ถึงเสี้ยววินาทีที่จะเกิดและตายนั้น จะไม่มีใครเกิด และตายอย่างมีทุกขเวทนา, และเมื่อว่าโดยปรมัตถ์ให้ละเอียดลงไป การเกิดขึ้น () ความแก่ () และความตาย () ของขันธ์ ก็ไม่ได้มีกับทุกขเวทนาเท่านั้นด้วย แต่มีกับขันธ์ 5 แทบทั้งหมด. ส่วน, , นั้นเมื่อว่าโดยตรงแล้วตัณหาจะไม่มีทุกขเวทนาเด็ดขาด. และความประจวบ ความพลัดพรากนั้น ก็มีกับขันธ์ทั้งหมด. ส่วนความปรารถนาแล้วไม่ได้นั้นเมื่อว่าโดยตรงแล้ว ก็ไม่เกิดกับทุกขเวทนาเช่นกัน และเมื่อกล่าวโดยรวมแล้วก็ยังจัดได้ว่ามีกับขันธ์ 5 ทั้งหมดด้วยเช่นกัน.
ฉะนั้นทุกข์จึงไม่ใช่แต่เพียงทุกขเวทนาเท่านั้น แต่หมายถึงขันธ์ 5 ทั้งหมด ดังนั้นในพระสูตรทั่วไป เช่น เป็นต้น รวมถึงอรรถกถาต่างๆ เช่น เป็นต้น ท่านจึงได้อธิบายให้สุขเวทนาและอุเบกขาเวทนาว่าเป็นทุกข์ด้วย เพราะเป็นสิ่งที่แปรเปลี่ยนไปและเป็นสังขารธรรมเป็นต้นนั่นเอง.
นอกจากนี้ยังอาจแบ่งทุกข์ในอริยสัจ 4 ได้เป็น 2 กลุ่มคือ
- สภาวทุกข์ คือทุกข์ประจำ ทุกข์ที่มีอยู่ด้วยกันทุกคน ไม่มียกเว้น ได้แก่ความเกิด ความแก่ ความตาย
- ปกิณณกทุกข์ คือทุกข์จร ทุกข์ที่จรมาเป็นครั้งคราว ได้แก่ ความเศร้าโศก ความพร่ำเพ้อรำพัน ความไม่สบายใจ ความน้อยใจ ความคับแค้นใจ ความประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบ ความพลัดพรากจากสิ่งที่ชอบ ความผิดหวังไม่ได้ตามที่ต้องการ
ความแตกต่างของความหมายในภาษาไทย
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา มีศัพท์ที่เกี่ยวกับทุกข์อย่างน้อย 4 ศัพท์ ซึ่งใช้ทั่วไปในคัมภีร์ และมักจะถูกเข้าใจสับสนอยู่เสมอด้วย, 4 ศัพท์นี้ ได้แก่ ทุกฺขํ ทุกฺขเวทนา ทุกฺขตา และ ทุกฺขลกฺขณํ. ซึ่งเขียนในรูปแบบภาษาไทยได้ว่า ทุกข์ (ขันธ์ 5), ทุกขเวทนา (ความรู้สึกทุกข์), ทุกขตา (ทุกขลักษณะ), และทุกขลักษณะ (ทุกขตา) จึงขอให้คำจำกัดความไว้ดังนี้ :-
- ทุกฺขํ หมายถึง ขันธ์ 5
- ทุกฺขเวทนา หมายถึง เวทนาขันธ์ ซึ่งเป็นเพียง 1 ในขันธ์ที่มีอยู่ทั้งสิ้น 5 ประการ
- ทุกฺขตา หมายถึง อาการที่ทนดำรงอยู่ไม่ได้เลยเป็นต้นของขันธ์ 5 (เป็นไวพจน์ของทุกขลักษณะ)
- ทุกฺขลกฺขณํ หมายถึง อาการที่หมดสิ้นไปเป็นต้นของขันธ์ 5 (เป็นไวพจน์ของทุกขตา)
บรรดา 4 คำนี้ คำว่า ทุกข์ (ทุกฺขํ) มีใช้มากที่สุด และยังถูกเข้าใจผิดมากที่สุดอีกด้วย เพราะมักใช้แทนคำว่า ทุกขเวทนา กันตามความหมายในภาษาไทย และบางครั้งก็ยังแผลงศัพท์ไปใช้แทนคำว่าทุกขตาและคำว่าทุกขลักษณะอีกด้วย เช่น เขียนว่า ทุกขตา (ทุกข์) เป็นต้น ซึ่งที่จริงแล้ว ใช้แทนกันไม่ได้ เพราะทุกขตาหมายถึงทุกขลักษณะ แต่ทุกข์หมายถึงขันธ์ 5 ที่มีทุกขลักษณะนั้น.
ความแตกต่างของทุกข์ และทุกขลักษณะ
ทุกข์ กับ ทุกขลักษณะ เป็นคนละอย่างกัน เพราะเป็น ลักขณวันตะ และ ลักขณะ ของกันและกัน ดังนี้ :-
- ทุกข์ (ทุกฺขํ) - หมายถึง ขันธ์ 5 ทั้งหมด เป็นปรมัตถ์ เป็นสภาวะธรรม มีอยู่จริง, คำว่า"ทุกข์"เป็นคำไวพจน์ชื่อหนึ่งของขันธ์ 5.
- ทุกขลักษณะ (ทุกฺขตา,ทุกฺขลกฺขณํ) - หมายถึง เครื่องกำหนดขันธ์ 5 ทั้งหมดซึ่งเป็นตัวทุกข์.
ทุกขลักษณะทำให้เราทราบได้ว่าขันธ์ 5 เป็นทุกข์ บีบคั้น น่ากลัวมาก ซึ่งได้แก่ อาการความบีบคั้นบังคับให้เปลี่ยนแปลงไปอยู่เป็นเนืองนิจของขันธ์ 5 เช่น อาการที่ขันธ์ 5 บีบบังคับตนจากที่เคยเกิดขึ้น ก็ต้องเสื่อมสิ้นไปเป็นขันธ์ 5 อันใหม่, อาการที่ขันธ์ 5 จากที่เคยมีขึ้น ก็ต้องกลับไปเป็นไม่มีอีกครั้ง เป็นต้น.
ในวิสุทธิมรรค ท่านได้ยกทุกขลักษณะจากมาแสดงไว้ถึง 10 แบบ เรียกว่า และในพระไตรปิฎกยังมีการแสดงทุกขลักษณะไว้ในแบบอื่นๆอีกมากมาย. แต่คัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นเบื้องต้นเหมาะสำหรับเป็นคู่มือสำหรับปฏิบัติธรรมได้แก่ คัมภีร์ เพราะสามารถจะจำคำที่คนโบราณใช้กำหนดกันจากคัมภีร์นี้แล้วนำไปใช้ได้ทันที ดังที่ท่านแสดงไว้เป็นต้นว่า "จกฺขุ อหุตฺวา สมฺภูตํ หุตฺวา น ภวิสฺสตีติ ววตฺเถติ - นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า "ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (ให้เพ่งเล็งถึงลักษณะที่บีบบังคับตัวเองให้ต้องเปลี่ยนไป ก็จะกลายเป็นการกำหนดทุกขลักษณะ).
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- พุทฺธโฆสาจริโย, วิสุทฺธิมคฺค-อฏฺฐกถา , อุปกฺกิเลสวิมุตฺตอุทยพฺพยญาณกถา, ปฏิปทาญาณทสฺสนวิสุทฺธินิทฺเทโส, วิสุทฺธิ. 2 ข้อ 739.
- ธมฺมปาลาจริโย, ปรมตฺถมญฺชูสา-ฎีกา, อุปกฺกิเลสวิมุตฺตอุทยพฺพยญาณกถาวณฺณนา ปฏิปทาญาณทสฺสนวิสุทฺธินิทฺเทสวณฺณนา วิสุทธิมคฺคมหาฎีกา, วิสุทฺธิ.มหาฏี. 2 ข้อ 739.
- พุทฺธโฆสาจริโย, สมฺโมหวิโนทนี-อฏฺฐกถา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณฺณนา สุตฺตนฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-อฏฺฐกถา,อภิ.อฏฺ. 2 ข้อ 154.
- ธมฺมปาลาจริโย, มูลฎีกา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณฺณนา สุตฺตนฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-มูลฎีกา,อภิ.มูลฏี. 2 ข้อ 154.
- ธมฺมปาลาจริโย, ลีนตฺถวณฺณนา-ฎีกา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณฺณนา สุตฺตนฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-อนุฎีกา, อภิ.อนุฏี. 2 ข้อ 154.
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- สัจจบรรพ มหาสติปัฏฐานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 10
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thukkh hrux thukkhng bali thuk kh epnhlkthrrmsakhyinsasnaphuthth aeplwathnxyuinsphaphedimidyak odythwiphmaythung sngkharthngpwng xnidaek khnth 5 sungepnthitngkhxngkxngthukkh inthangphraphuththsasna karkahndthukkhthuxepnkicinxriysc 4 thichawphuththtxngthaephuxlaaelaplxywanginladbtxipinkicthngsiinxriysc xnidaek ruthukkh ephuxkhnhasaehtuinkardbthukkh smuthy aelwcungtngcudmunghmayinkardbthukkh niorth aeladaenintamesnthangsukhwamdbthukkh mrrkh khuxsla la plxywang imyudtidinicdwyxanackiels thukkh cdepnhnunginchuxeriykthiepniwphcnkhxngkhnthsungthukichepnxyangmakinphraitrpidkthukkhinxriyscthukkhthuxepnkhwamcringxnpraesrithkhxthi 1 inxriysc 4 cungeriykwathukkhsc mi 11 xyang idaek chati hmaythung khwamekid khwambngekid khwamhynglngekid ekidcaephaa khwampraktaehngkhnth khwamidxaytnakhrb inhmustwnn khxngehlastwnn chra hmaythung khwamaek phawakhxngkhwamaek fnhlud phmhngxk hnngynepnekliyw khwamesuxmaehngxayu khwamaekhngxmaehngxinthriy inhmustwnn khxngehlastwnn mrna hmaythung khwamekhluxn phawakhxngkhwamekhluxn khwamaetkthalay khwamhayip mvtyu khwamtay khwamthakala khwamthalayaehngkhnth khwamthxdthingsaksphiw khwamkhadaehngchiwitinthriy cakhmustwnn khxngehlastwnn oska hmaythung khwamaehngic kiriyathiaehngic phawaaehngbukhkhlphuaehngic khwamphak n phayin khwamaehngphak n phayin khxngbukhkhlphuprakxbdwy khwamphibtixyangidxyanghnung phuthukthrrmkhux thukkhxyangidxyanghnung krathbaelw priethwa hmaythung khwamkhrakhrwy khwamrairraphn kiriyathikhrakhrwy kiriyathirairraphn phawakhxngbukhkhlphukhrakhrwy phawakhxngbukhkhlphurairraphn khxngbukhkhlphuprakxbdwy khwamphibtixyangidxyanghnung phuthukthrrmkhuxthukkh xyangidxyanghnungkrathbaelw thukkh kay hmaythung khwamlabakthangkay khwamimsaraythangkay khwameswyxarmn xnimdithiepnthukkhekidaet kaysmphs othmns hmaythung khwamthukkhthangcit khwamimsaraythangcit khwameswyxarmnxnimdi thiepnthukkhekidaet monsmphs smphsthangic nukkhidkhunma xupayas hmaythung khwamaekhn khwamkhbaekhn phawakhxngbukhkhlphuaekhn phawakhxngbukhkhlphukhbaekhn khxngbukhkhl phuprakxbdwykhwamphibti xyangidxyanghnung phuthukthrrmkhux thukkh xyangidxyanghnung krathbaelw khwampracwbkbsingimepnthirk hmaythung khwamprasb khwamphrngphrxm khwamrwm khwamrakhn dwyrup esiyng klin rs ophtthphpha khwamrusukthangkay xnimnaprarthna imnaikhr imnaphxic hruxdwy bukhkhlphuprarthnasingthiimepnpraoychn prarthnasingthiimekuxkul prarthnakhwamimphasuk prarthnakhwamimeksmcakoykha kiels sungmiaekphunn khwamphldphrakcaksingthirk hmaythung khwamimprasb khwamimphrngphrxm khwamimrwm khwamimrakhn dwyrup esiyng klin rs ophtthphpha xnnaprarthna naikhr naphxic hruxdwybukhkhlphuprarthnapraoychn prarthnasingthiekuxkul prarthnakhwamphasuk prarthnakhwameksm cakoykha khux marda bida phichay nxngchay phihying nxnghying mitr xmaty hrux yatisaolhit sungmiaekphunn prarthnasingidimidsingnn hmaythung khwamprarthnayxmbngekidaek stwphumikhwamekidepnthrrmda stwphumikhwamaekepnthrrmda stwphumikhwamecbepnthrrmda stwphumikhwamtayepnthrrmda stwphumi oskpriethwthukkhothmnsxupayasepnthrrmda xyangniwa oxhnx khxeraimphungmikhwamekidepnthrrmda khxkhwamekidxyamimathungeraely khxeraimphungmikhwamaekepnthrrmda khxkhwamaekxyamimathungeraely khxeraimphungmikhwamecbepnthrrmda khxkhwamecbxyamimathungeraely khxeraimphungmikhwamtayepnthrrmda khxkhwamtayxyamimathungeraely khxeraimphungmi oskpriethwthukkhothmnsxupayas epnthrrmda khxoskpriethwthukkhothmnsxupayas xyamimathungeraely stwimphungidsmkhwamprarthna srupwaxupathankhnth 5 thnghmdnnexngthiepnthukkhsc epnoths epnphythisud pktiaelweramkehnwa bangkhrngthanichkhwamhmaykhxngthukkhkhwbkhuipkbthukkhewthna cnthaihekhaicknwa thukkhhmaythungkhwamthukkhecbpwd epntn aethakphicarnatamkhxkhwamthiykmani caphbwa in 11 khxni mithung 6 khx ekinkhrung thiimidhmaythungephiyngthukkhewthnaethann aethmaythungkhnththnghmd 6 khxni idaek chati chra mrna khwampracwbkbsingimepnthirk khwamphldphrakcaksingthirk prarthnasingidimidsingnn emuxwaknthwiptamowharolktamhlkwichakarthangphraphuththsasnaaelw inkhnathiekid aelakhnathitay khxngsrrphstwnn imwacaekidaelatayxyangphisdarphadophnocnthayanethaidktam aetchwewlaimthungesiywwinathithicaekidaelataynn caimmiikhrekid aelatayxyangmithukkhewthna aelaemuxwaodyprmtthihlaexiydlngip karekidkhun khwamaek aelakhwamtay khxngkhnth kimidmikbthukkhewthnaethanndwy aetmikbkhnth 5 aethbthnghmd swn nnemuxwaodytrngaelwtnhacaimmithukkhewthnaeddkhad aelakhwampracwb khwamphldphraknn kmikbkhnththnghmd swnkhwamprarthnaaelwimidnnemuxwaodytrngaelw kimekidkbthukkhewthnaechnkn aelaemuxklawodyrwmaelwkyngcdidwamikbkhnth 5 thnghmddwyechnkn channthukkhcungimichaetephiyngthukkhewthnaethann aethmaythungkhnth 5 thnghmd dngnninphrasutrthwip echn epntn rwmthungxrrthkthatang echn epntn thancungidxthibayihsukhewthnaaelaxuebkkhaewthnawaepnthukkhdwy ephraaepnsingthiaeprepliynipaelaepnsngkharthrrmepntnnnexng nxkcakniyngxacaebngthukkhinxriysc 4 idepn 2 klumkhux sphawthukkh khuxthukkhpraca thukkhthimixyudwyknthukkhn immiykewn idaekkhwamekid khwamaek khwamtay pkinnkthukkh khuxthukkhcr thukkhthicrmaepnkhrngkhraw idaek khwamesraosk khwamphraephxraphn khwamimsbayic khwamnxyic khwamkhbaekhnic khwamprasbkbsingthiimchxb khwamphldphrakcaksingthichxb khwamphidhwngimidtamthitxngkarkhwamaetktangkhxngkhwamhmayinphasaithybthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid inkhmphirthangphraphuththsasna misphththiekiywkbthukkhxyangnxy 4 sphth sungichthwipinkhmphir aelamkcathukekhaicsbsnxyuesmxdwy 4 sphthni idaek thuk kh thuk khewthna thuk khta aela thuk khlk khn sungekhiyninrupaebbphasaithyidwa thukkh khnth 5 thukkhewthna khwamrusukthukkh thukkhta thukkhlksna aelathukkhlksna thukkhta cungkhxihkhacakdkhwamiwdngni thuk kh hmaythung khnth 5 thuk khewthna hmaythung ewthnakhnth sungepnephiyng 1 inkhnththimixyuthngsin 5 prakar thuk khta hmaythung xakarthithndarngxyuimidelyepntnkhxngkhnth 5 epniwphcnkhxngthukkhlksna thuk khlk khn hmaythung xakarthihmdsinipepntnkhxngkhnth 5 epniwphcnkhxngthukkhta brrda 4 khani khawa thukkh thuk kh miichmakthisud aelayngthukekhaicphidmakthisudxikdwy ephraamkichaethnkhawa thukkhewthna kntamkhwamhmayinphasaithy aelabangkhrngkyngaephlngsphthipichaethnkhawathukkhtaaelakhawathukkhlksnaxikdwy echn ekhiynwa thukkhta thukkh epntn sungthicringaelw ichaethnknimid ephraathukkhtahmaythungthukkhlksna aetthukkhhmaythungkhnth 5 thimithukkhlksnann khwamaetktangkhxngthukkh aelathukkhlksnathukkh kb thukkhlksna epnkhnlaxyangkn ephraaepn lkkhnwnta aela lkkhna khxngknaelakn dngni thukkh thuk kh hmaythung khnth 5 thnghmd epnprmtth epnsphawathrrm mixyucring khawa thukkh epnkhaiwphcnchuxhnungkhxngkhnth 5 thukkhlksna thuk khta thuk khlk khn hmaythung ekhruxngkahndkhnth 5 thnghmdsungepntwthukkh thukkhlksnathaiherathrabidwakhnth 5 epnthukkh bibkhn naklwmak sungidaek xakarkhwambibkhnbngkhbihepliynaeplngipxyuepnenuxngnickhxngkhnth 5 echn xakarthikhnth 5 bibbngkhbtncakthiekhyekidkhun ktxngesuxmsinipepnkhnth 5 xnihm xakarthikhnth 5 cakthiekhymikhun ktxngklbipepnimmixikkhrng epntn inwisuththimrrkh thanidykthukkhlksnacakmaaesdngiwthung 10 aebb eriykwa aelainphraitrpidkyngmikaraesdngthukkhlksnaiwinaebbxunxikmakmay aetkhmphirthirwbrwmiwepnebuxngtnehmaasahrbepnkhumuxsahrbptibtithrrmidaek khmphir ephraasamarthcacakhathikhnobranichkahndkncakkhmphirniaelwnaipichidthnthi dngthithanaesdngiwepntnwa ck khu xhut wa sm phut hut wa n phwis stiti wwt ethti nkptibtithrrmyxmkahndwa thiyngimekidkekidmikhun phxmikhunaelwtxipkcaklayepnimmiipxik epntn ihephngelngthunglksnathibibbngkhbtwexngihtxngepliynip kcaklayepnkarkahndthukkhlksna duephimitrlksn xniccng xnttaxangxingphuth thokhsacrioy wisuth thimkh kh xt thktha xupk kielswimut txuthyph phyyanktha ptipthayanths snwisuth thinith ethos wisuth thi 2 khx 739 thm mpalacrioy prmt thmy chusa dika xupk kielswimut txuthyph phyyankthawn nna ptipthayanths snwisuth thinith ethswn nna wisuththimkh khmhadika wisuth thi mhati 2 khx 739 phuth thokhsacrioy sm omhwionthni xt thktha xaytnwiphng khnith ethswn nna sut tn tphachniwn nna xphithm m xt thktha xphi xt 2 khx 154 thm mpalacrioy muldika xaytnwiphng khnith ethswn nna sut tn tphachniwn nna xphithm m muldika xphi multi 2 khx 154 thm mpalacrioy lint thwn nna dika xaytnwiphng khnith ethswn nna sut tn tphachniwn nna xphithm m xnudika xphi xnuti 2 khx 154 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth sccbrrph mhastiptthansutr phraitrpidk elmthi 10 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548