ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
คาร์ล เทโอดอร์ วิลเฮ็ล์ม ไวเออร์ชตราส (เยอรมัน: Karl Theodor Wilhelm Weierstraß; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1815 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1897) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งมักได้รับการกล่าวถึงในฐานะบิดาแห่งการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ยุคใหม่ นอกจากนี้ หลุมอุกกาบาตหลุมหนึ่งบนดวงจันทร์ยังได้รับการตั้งชื่อว่าไวเออร์ชตราสเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา ไวเออร์ชตราสเกิดที่เมือง (Ostenfelde) ในราชอาณาจักรปรัสเซีย
คาร์ล เทโอดอร์ วิลเฮ็ล์ม ไวเออร์ชตราส | |
---|---|
ภาพเหมือนของไวเออร์ชตราส | |
เกิด | 31 ตุลาคม ค.ศ. 1815 ราชอาณาจักรปรัสเซีย |
เสียชีวิต | 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1897 เบอร์ลิน ราชอาณาจักรปรัสเซีย | (81 ปี)
สัญชาติ | เยอรมัน |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | คณิตศาสตร์ |
สถาบันที่ทำงาน | มหาวิทยาลัยเทคนิคเบอร์ลิน |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | เกออร์ค คันทอร์ |
ประวัติ
ไวเออร์ชตราสเป็นบุตรคนโตของวิลเฮ็ล์ม ไวเออร์ชตราส (Wilhelm Weierstrass) ซึ่งมีอาชีพเป็นเจ้าหน้าที่ กับเทโอโดรา ฟ็อนเดอร์ฟอสท์ (Theodora Vonderforst) หลังจากไวเออร์ชตราสเกิดไม่นานครอบครัวได้ย้ายไปเว็สเทิร์นค็อทเทิน (Westernkotten) ที่ซึ่งพี่น้องอีกสามคนของไวเออร์ชตราสเกิด ซึ่งได้แก่ เพเทอร์ (Peter) คลารา (Klara) และเอลีเซอ (Elise) แต่หลังจากเอลีเซอเกิดได้ไม่นาน มารดาก็เสียชีวิตและบิดาก็แต่งงานใหม่
ความสนใจทางคณิตศาสตร์ของไวเออร์ชตราสเกิดขึ้นในช่วงที่ไวเออร์ชตราสเรียนที่จิมเนเซียม Theodorianum ในพาเดอร์บอร์น (จิมเนเซียมคือโรงเรียนระดับเตรียมอุดมศึกษา) บิดาปรารถนาให้บุตรชายเรียนทางด้านกฎหมาย เศรษฐศาสตร์ และการเงินที่เพื่อที่จะได้เป็นข้าราชการ ไวเออร์ชตราสในขณะนั้นไม่ได้ใส่ใจกับการเรียนที่นี้เท่าไรนักเพราะขัดกับความสนใจในคณิตศาสตร์ของเขา ไวเออร์ชตราสจึงไม่สนใจในวิชาที่ต้องเรียนแต่กลับใช้เวลาในการวิจัยทางคณิตศาสตร์เป็นการส่วนตัว ส่งผลให้ไวเออร์ชตราสต้องออกจากมหาวิทยาลัยทั้งที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษา ต่อมาภายหลัง ไวเออร์ชตราสจึงไปสมัครเรียนที่สถาบันมึนส์เทอร์ (ปัจจุบันคือ) อันเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีชื่อเสียงทางด้านคณิตศาสตร์ โดยหันไปเรียนทางด้านคณิตศาสตร์แทน หลังจากสำเร็จการศึกษาจึงสมัครเป็นครูในโรงเรียนฝึกสอนในเมืองมึนส์เทอร์ แต่ก็ยังศึกษาวิจัยทางคณิตศาสตร์ในเวลาว่าง ในปี ค.ศ. 1843 ไวเออร์ชตราสสอนในในปรัสเซียตะวันออก และในปี ค.ศ. 1848 สอนใน Lyceum Hosianum ใน นอกจากคณิตศาสตร์แล้ว ไวเออร์ชตราสยังต้องสอนฟิสิกส์ พฤกษศาสตร์ และด้วย
ไวเออร์ชตราสมีบทความวิจัยที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย จนกระทั่ง ในปี ค.ศ. 1855 มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ให้ และได้รับเชิญไปเป็นอาจารย์ประจำที่มหาวิทยาลัยเทคนิคเบอร์ลินซึ่งต่อมาจะเป็นที่ทำงานของไวเออร์ชตราสตลอดชีวิต
ไวเออร์ชตราสมีพรสวรรค์ทางด้านการสอนมาก และเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี เป็นอาจารย์ที่ลูกศิษย์ชื่นชอบ ในบรรดาลูกศิษย์ของไวเออร์ชตราส มีบุคคลที่ต่อมาเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ เกออร์ค คันทอร์, , แฮร์มัน มิงค็อฟสกี, ดาวิท ฮิลเบิร์ท, เอ็ทมุนท์ ฮุสเซิร์ล, , , เป็นต้น
ไวเออร์ชตราสมีผลงานในหลาย ๆ ด้าน อาทิ การวิเคราะห์เชิงจริง การวิเคราะห์เชิงซ้อน เรขาคณิตเชิงพีชคณิต เป็นต้น
ไวเออร์ชตราสเริ่มป่วยตั้งแต่ ค.ศ. 1850 แต่ยังสามารถตีพิมพ์ผลงานที่โดดเด่นได้และได้ชื่อเสียงมากมายจากงานเหล่านั้น จนในช่วงสามปีสุดท้ายของชีวิตไม่สามารถขยับตัวได้และเสียชีวิตด้วยโรคปอดบวมที่กรุงเบอร์ลิน รวมอายุได้ 81 ปี
ผลงาน
การนิยามการลู่เข้าเอกรูปของแคลคูลัส
ในสมัยก่อนหน้าไวเออร์ชตราส ยังมีข้อถกเถียงกันในเรื่องการนิยามเกี่ยวกับหลักมูลฐานในวิชาแคลคูลัสให้เหมาะสมและรัดกุม ซึ่งความกำกวมนี้ส่งผลให้การพิสูจน์ทฤษฎีบทในแคลคูลัสไม่สามารถทำได้อย่างรัดกุม ในต้นปี ค.ศ. 1817 แบร์นาร์ท บ็อลท์ซาโน ได้เสนอแนวคิดในการนิยามโดยใช้ลิมิตของฟังก์ชัน แต่ผลงานชิ้นนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งอีกหนึ่งปีต่อมา แต่อย่างไรก็ดี ความไม่ชัดเจนถึงนิยามของลิมิตของฟังก์ชันและนิยามของความต่อเนื่องของฟังก์ชันก็ยังคงมีอยู่ จนในคริสต์ทศวรรษ 1820 (Augustin-Louis Cauchy) ได้เสนอนิยามใหม่เกี่ยวลิมิตที่อยู่ในรูปแบบของ ((ε, δ) -definition of limit) แต่นิยามนี้ก็ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างความต่อเนื่องที่จุดกับความต่อเนื่องเอกรูปบนช่วงได้ ทำให้โกชีได้ตีพิมพ์บทพิสูจน์ที่ผิดพลาดออกไป ในปี ค.ศ. 1821 ในผลงานชื่อ Cours d'analyse โดยกล่าวว่า ลิมิตของจุด (pointwise limit) ของลำดับของฟังก์ชันที่ต่อเนื่องเป็นจุด (pointwise continuous function) นั้นต่อเนื่องแบบจุด (pointwise continuous) ต่อมา โฌแซ็ฟ ฟูรีเย และนีลส์ เฮนริก อาเบล ตรวจพบตัวอย่างที่ขัดแย้งในเรื่องอนุกรมฟูรีเย ซึ่งในที่สุด (Peter Gustav Lejeune Dirichlet) ก็พบว่าแท้จริงแล้วคำกล่าวที่ว่า การลู่เข้าแบบจุดควรจะเป็นการลู่เข้าแบบเอกรูปมากกว่า กล่าวคือ ลิมิตเอกรูป (uniform limit) ของฟังก์ชันที่ต่อเนื่องอย่างเป็นเอกรูป (uniformly continuous function) นั้นก็ยังคงต่อเนื่องอย่างเอกรูป (uniformly continuous)
อาจารย์ที่ปรึกษาของไวเออร์ชตราส เล็งเห็นถึงความสำคัญในหลักการเกี่ยวกับการลู่เข้าอย่างเอกรูปเป็นคนแรก ในผลงานปี ค.ศ. 1838 ที่เกี่ยวกับ กูเดอร์มันได้กล่าวถึงปัญหานี้แต่ไม่ได้ให้นิยามอย่างเป็นทางการแต่อย่างไร ในปี ค.ศ. 1839–1840 ไวเออร์ชตราสได้เข้าเรียนในวิชาฟังก์ชันอิลลิปติก จึงได้เริ่มสนใจเรื่องนี้ และตีพิมพ์ผลงานชื่อ Zur Theorie der Potenzreihen ในปี ค.ศ. 1841 และมีการบัญญัติศัพท์ใหม่คือ การลู่เข้าเอกรูป (อังกฤษ: uniformly convergent; เยอรมัน: gleichmäßige Konvergenz) ในงานชิ้นนี้ ไวเออร์ชตราสได้สร้างนิยามใหม่ขึ้นให้มีความรัดกุมมากกว่าเดิมและต่อมาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยที่ไวเออร์ชตราสได้ให้นิยามไว้ดังนี้
ต่อเนื่องที่ ถ้า โดยที่
โดยใช้นิยามนี้และแนวคิดเรื่องการลู่เข้าอย่างเอกรูป ไวเออร์ชตราสจึงสามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์อย่างเช่นทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (intermediate value theorem, บ็อลท์ซาโนได้พิสูจน์อย่างรัดกุมก่อนหน้านั้นไปแล้ว), (Bolzano–Weierstrass theorem) และ (Heine–Borel theorem)
แคลลูลัสของการแปรผัน
ผลงานจำนวนมากของไวเออร์ชตราสได้รับการสานต่อในการศึกษาแคลลูลัสของการแปรผันสมัยใหม่ หนึ่งในตัวอย่างที่สำคัญคือ ไวเออร์ชตราสได้เสนอเงื่อนไขจำเป็นสำหรับการมีอยู่ของ strong extrema และยังมีส่วนในการเสนอ (Weierstrass–Erdmann condition) ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ว่า ของ จะต้องต่อเนื่องที่มุมใด ๆ
ผลงานด้านทฤษฎีวิเคราะห์อื่น
- Stone–Weierstrass theorem
- Weierstrass–Casorati theorem
- Weierstrass's elliptic functions
- Weierstrass function
- Weierstrass M-test
- Weierstrass preparation theorem
- Lindemann–Weierstrass theorem
- Weierstrass factorization theorem
- Enneper–Weierstrass parameterization
- Sokhatsky–Weierstrass theorem
ผลงานสำคัญ
- Zur Theorie der Abelschen Funktionen (1854)
- Theorie der Abelschen Funktionen (1856)
- Abhandlungen-1// Math. Werke. Bd. 1. Berlin, 1894
- Abhandlungen-2// Math. Werke. Bd. 2. Berlin, 1897
- Abhandlungen-3// Math. Werke. Bd. 3. Berlin, 1915
- Vorl. ueber die Theorie der Abelschen Transcendenten// Math. Werke. Bd. 4. Berlin, 1902
- Vorl. ueber Variationsrechnung// Math. Werke. Bd. 6. Berlin, 1927
อ้างอิง
- วัชรพงษ์ โขวิฑูรกิจ ,ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าขั้นสูง, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 () หน้า 84
- Grabiner, Judith V. (March 1983), "Who Gave You the Epsilon? Cauchy and the Origins of Rigorous Calculus" (PDF), The American Mathematical Monthly, 90 (3): 185–194, doi:10.2307/2975545, JSTOR 2975545
- (1823), "Septième Leçon – Valeurs de quelques expressions qui se présentent sous les formes indéterminées Relation qui existe entre le rapport aux différences finies et la fonction dérivée", Résumé des leçons données à l'école royale polytechnique sur le calcul infinitésimal, Paris, p. 44, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-04, สืบค้นเมื่อ 2009-05-01
ดูเพิ่ม
- Digitalized versions of Weierstrass's original publications are freely available online from the library of the Berlin Brandenburgische Akademie der Wissenschaften.
- ผลงานของ Karl Weierstrass ที่โครงการกูเทินแบร์ค
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud kharl ethoxdxr wilehlm iwexxrchtras eyxrmn Karl Theodor Wilhelm Weierstrass 31 tulakhm kh s 1815 19 kumphaphnth kh s 1897 epnnkkhnitsastrchaweyxrmn phusungmkidrbkarklawthunginthanabidaaehngkarwiekhraahechingkhnitsastryukhihm nxkcakni hlumxukkabathlumhnungbndwngcnthryngidrbkartngchuxwaiwexxrchtrasephuxepnekiyrtiaekekha iwexxrchtrasekidthiemuxng Ostenfelde inrachxanackrprsesiykharl ethoxdxr wilehlm iwexxrchtrasphaphehmuxnkhxngiwexxrchtrasekid31 tulakhm kh s 1815 1815 10 31 rachxanackrprsesiyesiychiwit19 kumphaphnth kh s 1897 1897 02 19 81 pi ebxrlin rachxanackrprsesiysychatieyxrmnsisyekamichuxesiyngcakxachiphthangwithyasastrsakhakhnitsastrsthabnthithanganmhawithyalyethkhnikhebxrlinxacarythipruksainradbpriyyaexkluksisyinradbpriyyaexkekxxrkh khnthxrprawtiiwexxrchtrasepnbutrkhnotkhxngwilehlm iwexxrchtras Wilhelm Weierstrass sungmixachiphepnecahnathi kbethoxodra fxnedxrfxsth Theodora Vonderforst hlngcakiwexxrchtrasekidimnankhrxbkhrwidyayipewsethirnkhxthethin Westernkotten thisungphinxngxiksamkhnkhxngiwexxrchtrasekid sungidaek ephethxr Peter khlara Klara aelaexliesx Elise aethlngcakexliesxekididimnan mardakesiychiwitaelabidakaetngnganihm khwamsnicthangkhnitsastrkhxngiwexxrchtrasekidkhuninchwngthiiwexxrchtraseriynthicimenesiym Theodorianum inphaedxrbxrn cimenesiymkhuxorngeriynradbetriymxudmsuksa bidaprarthnaihbutrchayeriynthangdankdhmay esrsthsastr aelakarenginthiephuxthicaidepnkharachkar iwexxrchtrasinkhnannimidisickbkareriynthiniethairnkephraakhdkbkhwamsnicinkhnitsastrkhxngekha iwexxrchtrascungimsnicinwichathitxngeriynaetklbichewlainkarwicythangkhnitsastrepnkarswntw sngphlihiwexxrchtrastxngxxkcakmhawithyalythngthiimidsaerckarsuksa txmaphayhlng iwexxrchtrascungipsmkhreriynthisthabnmunsethxr pccubnkhux xnepnsthabnxudmsuksathimichuxesiyngthangdankhnitsastr odyhniperiynthangdankhnitsastraethn hlngcaksaerckarsuksacungsmkhrepnkhruinorngeriynfuksxninemuxngmunsethxr aetkyngsuksawicythangkhnitsastrinewlawang inpi kh s 1843 iwexxrchtrassxnininprsesiytawnxxk aelainpi kh s 1848 sxnin Lyceum Hosianum in nxkcakkhnitsastraelw iwexxrchtrasyngtxngsxnfisiks phvkssastr aeladwy iwexxrchtrasmibthkhwamwicythiidrbkaryxmrbxyangaephrhlay cnkrathng inpi kh s 1855 mxbpriyyadusdibnthitkittimskdiih aelaidrbechiyipepnxacarypracathimhawithyalyethkhnikhebxrlinsungtxmacaepnthithangankhxngiwexxrchtrastlxdchiwit iwexxrchtrasmiphrswrrkhthangdankarsxnmak aelaetriymkarsxnmaepnxyangdi epnxacarythiluksisychunchxb inbrrdaluksisykhxngiwexxrchtras mibukhkhlthitxmaepnnkkhnitsastrthimichuxesiynghlaykhn xathi ekxxrkh khnthxr aehrmn mingkhxfski dawith hilebirth exthmunth husesirl epntn iwexxrchtrasmiphlnganinhlay dan xathi karwiekhraahechingcring karwiekhraahechingsxn erkhakhnitechingphichkhnit epntn iwexxrchtraserimpwytngaet kh s 1850 aetyngsamarthtiphimphphlnganthioddednidaelaidchuxesiyngmakmaycaknganehlann cninchwngsampisudthaykhxngchiwitimsamarthkhybtwidaelaesiychiwitdwyorkhpxdbwmthikrungebxrlin rwmxayuid 81 piphlngankarniyamkarluekhaexkrupkhxngaekhlkhuls insmykxnhnaiwexxrchtras yngmikhxthkethiyngknineruxngkarniyamekiywkbhlkmulthaninwichaaekhlkhulsihehmaasmaelardkum sungkhwamkakwmnisngphlihkarphisucnthvsdibthinaekhlkhulsimsamarththaidxyangrdkum intnpi kh s 1817 aebrnarth bxlthsaon idesnxaenwkhidinkarniyamodyichlimitkhxngfngkchn aetphlnganchinniyngimepnthiaephrhlaycnkrathngxikhnungpitxma aetxyangirkdi khwamimchdecnthungniyamkhxnglimitkhxngfngkchnaelaniyamkhxngkhwamtxenuxngkhxngfngkchnkyngkhngmixyu cninkhristthswrrs 1820 Augustin Louis Cauchy idesnxniyamihmekiywlimitthixyuinrupaebbkhxng e d displaystyle varepsilon delta e d definition of limit aetniyamnikimsamarthaeykkhwamaetktangrahwangkhwamtxenuxngthicudkbkhwamtxenuxngexkrupbnchwngid thaihokchiidtiphimphbthphisucnthiphidphladxxkip inpi kh s 1821 inphlnganchux Cours d analyse odyklawwa limitkhxngcud pointwise limit khxngladbkhxngfngkchnthitxenuxngepncud pointwise continuous function nntxenuxngaebbcud pointwise continuous txma ochaesf furiey aelanils ehnrik xaebl trwcphbtwxyangthikhdaeyngineruxngxnukrmfuriey sunginthisud Peter Gustav Lejeune Dirichlet kphbwaaethcringaelwkhaklawthiwa karluekhaaebbcudkhwrcaepnkarluekhaaebbexkrupmakkwa klawkhux limitexkrup uniform limit khxngfngkchnthitxenuxngxyangepnexkrup uniformly continuous function nnkyngkhngtxenuxngxyangexkrup uniformly continuous xacarythipruksakhxngiwexxrchtras elngehnthungkhwamsakhyinhlkkarekiywkbkarluekhaxyangexkrupepnkhnaerk inphlnganpi kh s 1838 thiekiywkb kuedxrmnidklawthungpyhaniaetimidihniyamxyangepnthangkaraetxyangir inpi kh s 1839 1840 iwexxrchtrasidekhaeriyninwichafngkchnxilliptik cungiderimsniceruxngni aelatiphimphphlnganchux Zur Theorie der Potenzreihen inpi kh s 1841 aelamikarbyytisphthihmkhux karluekhaexkrup xngkvs uniformly convergent eyxrmn gleichmassige Konvergenz innganchinni iwexxrchtrasidsrangniyamihmkhunihmikhwamrdkummakkwaedimaelatxmaidrbkaryxmrbxyangkwangkhwang odythiiwexxrchtrasidihniyamiwdngni f x displaystyle displaystyle f x txenuxngthi x x0 displaystyle displaystyle x x 0 tha e gt 0 d gt 0 displaystyle displaystyle forall varepsilon gt 0 exists delta gt 0 odythi x x0 lt d f x f x0 lt e displaystyle displaystyle forall x x 0 lt delta Rightarrow f x f x 0 lt varepsilon odyichniyamniaelaaenwkhideruxngkarluekhaxyangexkrup iwexxrchtrascungsamarthphisucnthvsdibththiyngimidrbkarphisucnxyangechnthvsdibthkharahwangklang intermediate value theorem bxlthsaonidphisucnxyangrdkumkxnhnannipaelw Bolzano Weierstrass theorem aela Heine Borel theorem aekhllulskhxngkaraeprphn phlngancanwnmakkhxngiwexxrchtrasidrbkarsantxinkarsuksaaekhllulskhxngkaraeprphnsmyihm hnungintwxyangthisakhykhux iwexxrchtrasidesnxenguxnikhcaepnsahrbkarmixyukhxng strong extrema aelayngmiswninkaresnx Weierstrass Erdmann condition sungepnenguxnikhthiwa f x displaystyle partial f partial x khxng J f t x y dt displaystyle J int f t x y dt catxngtxenuxngthimumid phlngandanthvsdiwiekhraahxun Stone Weierstrass theorem Weierstrass Casorati theorem Weierstrass s elliptic functions Weierstrass function Weierstrass M test Weierstrass preparation theorem Lindemann Weierstrass theorem Weierstrass factorization theorem Enneper Weierstrass parameterization Sokhatsky Weierstrass theoremphlngansakhy Zur Theorie der Abelschen Funktionen 1854 Theorie der Abelschen Funktionen 1856 Abhandlungen 1 Math Werke Bd 1 Berlin 1894 Abhandlungen 2 Math Werke Bd 2 Berlin 1897 Abhandlungen 3 Math Werke Bd 3 Berlin 1915 Vorl ueber die Theorie der Abelschen Transcendenten Math Werke Bd 4 Berlin 1902 Vorl ueber Variationsrechnung Math Werke Bd 6 Berlin 1927xangxingwchrphngs okhwithurkic phakhwichawiswkrrmiffa khnawiswkrrmsastr culalngkrnmhawithyaly khnitsastrwiswkrrmiffakhnsung sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2546 ISBN 974 13 2533 9 hna 84 Grabiner Judith V March 1983 Who Gave You the Epsilon Cauchy and the Origins of Rigorous Calculus PDF The American Mathematical Monthly 90 3 185 194 doi 10 2307 2975545 JSTOR 2975545 1823 Septieme Lecon Valeurs de quelques expressions qui se presentent sous les formes indeterminees 0 displaystyle frac infty infty infty 0 ldots Relation qui existe entre le rapport aux differences finies et la fonction derivee Resume des lecons donnees a l ecole royale polytechnique sur le calcul infinitesimal Paris p 44 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 05 04 subkhnemux 2009 05 01duephimwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kharl iwexxrchtras Digitalized versions of Weierstrass s original publications are freely available online from the library of the Berlin Brandenburgische Akademie der Wissenschaften phlngankhxng Karl Weierstrass thiokhrngkarkuethinaebrkh