ไกอา (Gaia) เป็นดาวเทียมที่ถูกส่งไปโดยองค์การอวกาศยุโรป (ESA) ซึ่งเป็นภารกิจกล้องโทรทรรศน์อวกาศเพื่อวัตถุประสงค์ในการทำมาตรดาราศาสตร์ โดยถือเป็นผู้สืบทอดของภารกิจดาวเทียมฮิปปาร์โคสที่เสร็จสิ้นภารกิจไปก่อนหน้า
ไกอา | |
---|---|
ภาพยานไกอาในจินตนาการของศิลปิน | |
ประเภทภารกิจ | มาตรดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ |
ผู้ดำเนินการ | องค์การอวกาศยุโรป |
COSPAR ID | 2013-074A |
SATCAT no. | 39479 |
เว็บไซต์ | www |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | |
มวลขณะส่งยาน | 2,029 กก. |
มวลแห้ง | 1,392 กก. |
มวลบรรทุก | 710 กก. |
ขนาด | 4.6 × 2.3 ม. |
กำลังไฟฟ้า | 1,910 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | Not recognized as a date. Years must have 4 digits (use leading zeros for years < 1000). |
จรวดนำส่ง | / |
ฐานส่ง | |
ผู้ดำเนินงาน | |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | จุด L2 |
ระบบวงโคจร | |
ระยะใกล้สุด | 263,000 กม. |
ระยะไกลสุด | 707,000 กม. |
คาบการโคจร | 180 วัน |
วันที่ใช้อ้างอิง | 2014 |
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 1.45 × 0.5 ม. |
พื่นที่รับแสง | 0.7 ม.2 |
อุปกรณ์ | |
| |
เป้าหมายหลักคือการวัดตำแหน่งของดาวฤกษ์ประมาณ 1 พันล้านดวงอย่างเที่ยงตรง ตรวจสอบระยะห่างและการเคลื่อนที่เฉพาะของดาวฤกษ์เหล่านั้น
ดาวเทียมไกอาถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2013 โดยใช้ และเริ่มการสังเกตทางวิทยาศาสตร์เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2014
วัตถุประสงค์
เป้าหมายของดาวเทียมไกอาคือ:
- ในการหากำลังส่องสว่างของดาวฤกษ์จำเป็นต้องทราบระยะทาง การจะบรรลุเป้าหมายนี้โดยไม่ต้องอาศัยสมมุติฐานทางฟิสิกส์จำเป็นต้องวัดค่าพารัลแลกซ์ดาวฤกษ์เป็นหลัก หอดูดาวภาคพื้นดินไม่สามารถทำการวัดได้อย่างเที่ยงตรงเพียงพอเนื่องจากความแปรปรวนของบรรยากาศ
- การสังเกตการณ์วัตถุจาง ๆ ทำให้ได้ฟังก์ชันความส่องสว่างที่เที่ยงตรงยิ่งขึ้น เพื่อให้ได้ตัวอย่างที่เป็นกลาง จำเป็นต้องสังเกตวัตถุทั้งหมดที่มีระดับความสว่างตามค่าที่กำหนด
- เพื่อศึกษาขั้นตอนที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็วในวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ จำเป็นต้องสังเกตการณ์วัตถุให้มากขึ้น การสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าจำนวนมากในทางช้างเผือก ก็มีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของทางช้างเผือก แม้แต่ 1 พันล้านดวงก็ยังถือว่าน้อยกว่า 1% ของดาวในทางช้างเผือกทั้งหมด
- การวัดระยะทางและการเคลื่อนที่ของดาวมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจต่าง ๆ โดยเฉพาะดาวที่อยู่ห่างไกล
ดาวเทียมไกอาจะทำการสร้างแผนที่สามมิติของดาราจักรทางช้างเผือกที่มีความเที่ยงตรงสูงมาก ด้วยการใส่เพิ่มข้อมูลการเคลื่อนไหวที่เหมาะสมลงในแผนที่สามมิติ ทำให้สามารถอนุมานถึงต้นกำเนิดของดาราจักรและวิวัฒนาการในอนาคตได้ การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปียังให้รายละเอียดลักษณะทางกายภาพของดาวฤกษ์ที่สังเกตแต่ละดวง รวมถึงกำลังส่องสว่าง อุณหภูมิ ความโน้มถ่วง และธาตุองค์ประกอบ การสำรวจสำมะโนดาวฤกษ์ ขนาดใหญ่นี้จะให้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการตอบคำถามสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับต้นกำเนิด โครงสร้าง และวิวัฒนาการของดาราจักรของเรา นอกจากนี้แล้วก็ยังได้ทำการวัดเควซาร์, ดาราจักร, ดาวเคราะห์นอกระบบ, วัตถุในระบบสุริยะ ฯลฯ จำนวนมากไปด้วยในเวลาเดียวกัน
นอกจากนี้ไกอายังถูกคาดหวังว่าจะ:
- วัดระยะทางได้มากกว่า 1 พันล้านดวงที่มีโชติมาตรปรากฏไม่เกินอันดับ 20
- เพื่อระบุตำแหน่งของดาวฤกษ์ที่อันดับ 10 ลงมาให้ได้เที่ยงตรงโดยมีความคลาดเคลื่อนภายใน 7 ไมโครพิลิปดา ดาวฤกษ์อันดับ 15 ลงมาภายใน 12-25 ไมโครพิลิปดา และดาวฤกษ์อันดับต่ำกว่า 20 ภายใน 100-300 ไมโครพิลิปดา
- เพื่อระบุระยะทางของดาวฤกษ์ที่ใกล้ที่สุดด้วยความเที่ยงตรงคลาดเคลื่อนเพียง 0.001% และระยะห่างของดาวฤกษ์ภายในระยะ 30,000 ปีแสงจากศูนย์กลางดาราจักรด้วยความคลาดเคลื่อน 20%
- เพื่อระบุความเร็วตามแนวตั้งฉากของดาวฤกษ์ 40 ล้านดวงด้วยความเที่ยงตรงคลาดเคลื่อนน้อยกว่า 0.5 กม./วินาที
- วัดวงโคจรและความเอียงของวงโคจรของดาวเคราะห์นอกระบบ 1,000 ดวงอย่างแม่นยำ และระบุมวลที่แท้จริงของดาวเหล่านั้น
นอกจากนี้ยังถูกคาดหวังว่าจะมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยที่ยังไม่รู้จักจำนวนมากในบริเวณระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ซึ่งยากต่อการสังเกตด้วยกล้องโทรทรรศน์โลกในช่วงเวลากลางวัน
ตัวยาน
ดาวเทียมไกอาถูกปล่อยด้วย ไปยังจุดลากร็องฌ์ L2 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 1.5 ล้านกิโลเมตร จุดลากร็องฌ์ L2 อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิคงที่มาก ซึ่งโลกเคลื่อนที่ตาม ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงการบดบังโดยดวงอาทิตย์
เช่นเดียวกับดาวเทียมฮิปปาร์โคส ดาวเทียมไกอาก็ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์ที่หันไปยัง 2 ทางที่คงที่ ดาวเทียมจะหมุนรอบแกนที่ตั้งฉากกับแนวสายตาของกล้องโทรทรรศน์ทั้งสอง แกนหมุนเคลื่อนตัวเล็กน้อยเมื่อเทียบกับท้องฟ้า แต่ยังคงทำมุมเดียวกันกับดวงอาทิตย์ ระบบอ้างอิงที่อยู่นิ่งได้มาจากการวัดตำแหน่งสัมพัทธ์อย่างแม่นยำจากทิศทางการสังเกตทั้งสอง
วัตถุท้องฟ้าแต่ละชิ้นถูกสังเกตโดยเฉลี่ยประมาณ 70 ครั้งในช่วงระยะเวลาของภารกิจ การสังเกตการณ์เหล่านี้ช่วยระบุค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งดาวฤกษ์ ส่วนความเร็วแนวเล็งของดาวฤกษ์ถูกวัดโดยใช้ปรากฏการณ์ด็อพเพลอร์โดยสเปกโทรมิเตอร์ที่ติดอยู่กับระบบกล้องโทรทรรศน์ของไกอา
อุปกรณ์มวลมากภายในดาวเทียมไกอาประกอบด้วยอุปกรณ์ดังต่อไปนี้:
- กล้องโทรทรรศน์แต่ละตัวมีกระจกเงาปฐมภูมิขนาด 1.4 x 0.5 ม.
- แถวลำดับระนาบโฟกัสขนาด 1.0 x 0.5 ม. ฉายแสงจากกล้องโทรทรรศน์ทั้งสอง ภาพนี้ถูกส่งไปยัง CCD 106 ตัวที่มีขนาด 4500 x 1966 พิกเซล
อุปกรณ์ในยานไกอาแบ่งออกเป็นสามส่วนแยกกัน
- อุปกรณ์มาตรดาราศาสตร์สำหรับวัดมุมของดาวที่มีโชติมาตรปรากฏอันดับ 5.7 ถึง 20
- เครื่องมือวัดแสงวัดสเปกตรัมในช่วงความยาวคลื่น 320-1,000 นาโนเมตรของดาวที่มีโชติมาตรปรากฏอันดับ 5.7 ถึง 20
- สเปกโทรมิเตอร์ความละเอียดสูงวัดความเร็วแนวเล็งของดาวฤกษ์ได้ถึงที่โชติมาตรปรากฏอันดับ 17 โดยการหาสเปกตรัมความละเอียดสูงในช่วงความยาวคลื่น 847-874 นาโนเมตร (เส้นดูดกลืนแคลเซียมไอออน)
การสื่อสารกับตัวดาวเทียมเกิดขึ้นที่ความเร็วเฉลี่ย 1 เมกะบิตต่อวินาที แต่ปริมาณข้อมูลในบางช่วงเวลาอาจสูงถึงจิกะบิตต่อวินาที ดังนั้นจึงอาจมีเป็นสิบพิกเซลต่อภาพ ซึ่งหมายความว่าจำเป็นต้องมีการตรวจหาหรือสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า ณ ตรงนั้น กระบวนการดังกล่าวมีความซับซ้อนเป็นพิเศษเมื่อสำรวจบริเวณที่มีความหนาแน่นของดาวฤกษ์สูง
ภารกิจ
ภารกิจไกอาได้รับการพัฒนาขึ้นในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิทยาศาสตร์ระยะยาว ESA Horizon 2000 Plus ที่ถูกกำหนดขึ้นในปี 2000 ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2000 เป็นภารกิจหลักลำดับที่ 6 และได้รับการยืนยันให้อยู่ในระยะ B2 ของโครงการเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2006 รับผิดชอบด้านฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ แรกเริ่มเดิมทีมีแผนจะปล่อยตัวในเดือนพฤศจิกายน 2012 โดยมีค่าใช้จ่ายประมาณ 650 ล้านยูโร รวมการผลิต การปล่อยยาน และการดำเนินงานภาคพื้นดิน
ปริมาณข้อมูลทั้งหมดที่ส่งจากยานอวกาศระหว่างตลอดภารกิจจะมีขนาดเมื่อถูกบีบอัดประมาณ 60 TB และจะเป็น 200 TB เมื่อคลายการบีบอัดแล้ว การประมวลผลข้อมูลเป็นความรับผิดชอบของกลุ่มสมาคมการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งได้รับเลือกจากองค์การอวกาศยุโรปในเดือนพฤศจิกายน 2006 กลุ่มสมาคมการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลมีนักบินอวกาศและวิศวกรประมาณ 400 คนจาก 20 ประเทศในยุโรป รวมถึงผู้เข้าร่วมจากศูนย์ดาราศาสตร์อวกาศยุโรป ซึ่งเป็นองค์กรภายใต้องค์การอวกาศยุโรปซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ใกล้กรุงมาดริด เงินทุนมาจากประเทศสมาชิกที่เข้าร่วมและนำไปจำนำจนกว่าจะมีการผลิตสารบัญแฟ้มขั้นสุดท้ายของไกอาขึ้นมา
การเผยแพร่ข้อมูล
เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2016 ESA ได้เผยแพร่ Gaia Data Release 1 (DR1) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการสังเกตการณ์ 14 เดือนแรกของดาวเทียมไกอา สารบัญแฟ้มนี้บันทึกตำแหน่งของดาวมากกว่าหนึ่งพันล้านดวง ซึ่งประมาณ 2 ล้านดวงประกอบด้วยการเคลื่อนที่เฉพาะและข้อมูลพารัลแลกซ์ดาวฤกษ์
ในเดือนพฤษภาคม 2018 ได้มีการเผยแพร่ Gaia Data Release 2 (DR2) ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลการสังเกตการณ์ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2014 ถึงพฤษภาคม 2016 โดย DR2 เพิ่มจำนวนดาวที่บันทึกไว้เป็น 1.7 พันล้านดวง ในจำนวนนั้นมีประมาณ 1.1 พันล้านดวงที่ประกอบด้วยข้อมูลการเคลื่อนที่เฉพาะ และพารัลแลกซ์ดาวฤกษ์ นอกจากนี้ DR2 ยังบันทึกการเปลี่ยนแปลงความสว่างดาวและ ความเร็วแนวเล็งด้วย
ในเดือนธันวาคม 2020 มีการประกาศการเผยแพร่ข้อมูลครั้งที่ 3 ฉบับปล่อยล่วงหน้า Early Data Release 3 (EDR3) ซึ่งบันทึกดาวได้ 1.8 พันล้านดวง การเผยแพร่ข้อมูลครั้งที่ 3 นี้ได้ถูกแบ่งเผยแพร่เป็นส่วน ๆ โดย EDR3 คือส่วนแรกในจำนวนนั้น วันที่เผยแพร่ EDR3 ถูกเลื่อนให้ช้าออกไปเนื่องจากผลกระทบของการระบาดทั่วของโควิด-19 หลังจากนั้น DR3 ฉบับเต็มจึงได้รับการเผยแพร่ในวันที่ 13 มิถุนายน 2022
อ้างอิง
- "GAIA (Global Astrometric Interferometer for Astrophysics) Mission". ESA eoPortal. สืบค้นเมื่อ 2014-03-28.
- "Frequently Asked Questions about Gaia". ESA. 2013-11-14.
- "Gaia Liftoff". ESA. 2013-12-19.
- "Gaia enters its operational orbit". ESA. 2014-01-08.
- "10億の星を立体地図に 天体位置測定衛星「ガイア」打ち上げ". AstroArts. 2013-12-20. สืบค้นเมื่อ 2017-09-19.
- ESA Portal - Mapping the Galaxy, and watching our backyard
- "Gaia's billion star map hints at treasures to come". ESA. 2016-09-14. สืบค้นเมื่อ 2017-09-19.
- "10億個以上の星を記録、「ガイア」の初カタログ公開". AstroArts. 2016-09-20. สืบค้นเมื่อ 2017-09-19.
- L. Lindegren (2016). "Gaia Data Release 1 Astrometry: one billion positions, two million proper motions and parallaxes". Astronomy & Astrophysics. 595: id.A4, 32 pp. Bibcode:2016A&A...595A...4L. doi:10.1051/0004-6361/201628714.
- "17億個の星の地図が完成、ガイアの第2期データ公開". AstroArts. 2018-05-01. สืบค้นเมื่อ 2021-01-25.
- "18億個の天体を含む「ガイア」最新データ公開". AstroArts. 2020-12-10. สืบค้นเมื่อ 2021-01-25.
- "Gaia - News 2020". ESA. สืบค้นเมื่อ 2021-01-25.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ikxa Gaia epndawethiymthithuksngipodyxngkhkarxwkasyuorp ESA sungepnpharkicklxngothrthrrsnxwkasephuxwtthuprasngkhinkarthamatrdarasastr odythuxepnphusubthxdkhxngpharkicdawethiymhipparokhsthiesrcsinpharkicipkxnhnaikxaphaphyanikxaincintnakarkhxngsilpinpraephthpharkicmatrdarasastr klxngothrthrrsnxwkasphudaeninkarxngkhkarxwkasyuorpCOSPAR ID2013 074ASATCAT no 39479ewbistwww wbr esa wbr int wbr Science wbr Exploration wbr Space wbr Science wbr Gaiakhxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan2 029 kk mwlaehng1 392 kk mwlbrrthuk710 kk khnad4 6 2 3 m kalngiffa1 910 wtterimtnpharkicwnthisngkhunNot recognized as a date Years must have 4 digits use leading zeros for years lt 1000 crwdnasng thansngphudaeninnganlksnawngokhcrrabbxangxingcud L2rabbwngokhcrrayaiklsud263 000 km rayaiklsud707 000 km khabkarokhcr180 wnwnthiichxangxing2014klxngothrthrrsnhlkesnphansunyklang1 45 0 5 m phunthirbaesng0 7 m 2xupkrnASTRO xupkrnmatrdarasastr BP RP xupkrnwdaesng RVS sepkothrmietxrwdkhwamerwaenwelng aebbcalxngyanikxayanikxamxngcakxikmumyanikxakhnakalngxyuinchwngthaykhxngkxsranginpi 2013 epahmayhlkkhuxkarwdtaaehnngkhxngdawvkspraman 1 phnlandwngxyangethiyngtrng trwcsxbrayahangaelakarekhluxnthiechphaakhxngdawvksehlann dawethiymikxathukplxykhunsuxwkasemuxwnthi 19 thnwakhm 2013 odyich aelaerimkarsngektthangwithyasastremuxwnthi 25 krkdakhm 2014wtthuprasngkhepahmaykhxngdawethiymikxakhux inkarhakalngsxngswangkhxngdawvkscaepntxngthrabrayathang karcabrrluepahmayniodyimtxngxasysmmutithanthangfisikscaepntxngwdkhapharlaelksdawvksepnhlk hxdudawphakhphundinimsamarththakarwdidxyangethiyngtrngephiyngphxenuxngcakkhwamaeprprwnkhxngbrryakas karsngektkarnwtthucang thaihidfngkchnkhwamsxngswangthiethiyngtrngyingkhun ephuxihidtwxyangthiepnklang caepntxngsngektwtthuthnghmdthimiradbkhwamswangtamkhathikahnd ephuxsuksakhntxnthidaeninipxyangrwderwinwiwthnakarkhxngdawvks caepntxngsngektkarnwtthuihmakkhun karsngektkarnwtthuthxngfacanwnmakinthangchangephuxk kmikhwamsakhytxkarthakhwamekhaickarepliynaeplngkhxngthangchangephuxk aemaet 1 phnlandwngkyngthuxwanxykwa 1 khxngdawinthangchangephuxkthnghmd karwdrayathangaelakarekhluxnthikhxngdawmikhwamsakhytxkarthakhwamekhaictang odyechphaadawthixyuhangikl dawethiymikxacathakarsrangaephnthisammitikhxngdarackrthangchangephuxkthimikhwamethiyngtrngsungmak dwykarisephimkhxmulkarekhluxnihwthiehmaasmlnginaephnthisammiti thaihsamarthxnumanthungtnkaenidkhxngdarackraelawiwthnakarinxnakhtid karwiekhraahthangsepkothrsokpiyngihraylaexiydlksnathangkayphaphkhxngdawvksthisngektaetladwng rwmthungkalngsxngswang xunhphumi khwamonmthwng aelathatuxngkhprakxb karsarwcsamaondawvks khnadihynicaihkhxmulphunthansahrbkartxbkhathamsakhytang ekiywkbtnkaenid okhrngsrang aelawiwthnakarkhxngdarackrkhxngera nxkcakniaelwkyngidthakarwdekhwsar darackr dawekhraahnxkrabb wtthuinrabbsuriya l canwnmakipdwyinewlaediywkn nxkcakniikxayngthukkhadhwngwaca wdrayathangidmakkwa 1 phnlandwngthimiochtimatrpraktimekinxndb 20 ephuxrabutaaehnngkhxngdawvksthixndb 10 lngmaihidethiyngtrngodymikhwamkhladekhluxnphayin 7 imokhrphilipda dawvksxndb 15 lngmaphayin 12 25 imokhrphilipda aeladawvksxndbtakwa 20 phayin 100 300 imokhrphilipda ephuxraburayathangkhxngdawvksthiiklthisuddwykhwamethiyngtrngkhladekhluxnephiyng 0 001 aelarayahangkhxngdawvksphayinraya 30 000 piaesngcaksunyklangdarackrdwykhwamkhladekhluxn 20 ephuxrabukhwamerwtamaenwtngchakkhxngdawvks 40 landwngdwykhwamethiyngtrngkhladekhluxnnxykwa 0 5 km winathi wdwngokhcraelakhwamexiyngkhxngwngokhcrkhxngdawekhraahnxkrabb 1 000 dwngxyangaemnya aelarabumwlthiaethcringkhxngdawehlann nxkcakniyngthukkhadhwngwacamikarkhnphbdawekhraahnxythiyngimruckcanwnmakinbriewnrahwangolkaeladwngxathity sungyaktxkarsngektdwyklxngothrthrrsnolkinchwngewlaklangwntwyandawethiymikxathukplxydwy ipyngcudlakrxngch L2 sungxyuhangcakolkpraman 1 5 lankiolemtr cudlakrxngch L2 xyuinsphaphaewdlxmthimixunhphumikhngthimak sungolkekhluxnthitam sungsamarthhlikeliyngkarbdbngodydwngxathity echnediywkbdawethiymhipparokhs dawethiymikxakprakxbdwyklxngothrthrrsnthihnipyng 2 thangthikhngthi dawethiymcahmunrxbaeknthitngchakkbaenwsaytakhxngklxngothrthrrsnthngsxng aeknhmunekhluxntwelknxyemuxethiybkbthxngfa aetyngkhngthamumediywknkbdwngxathity rabbxangxingthixyuningidmacakkarwdtaaehnngsmphththxyangaemnyacakthisthangkarsngektthngsxng wtthuthxngfaaetlachinthuksngektodyechliypraman 70 khrnginchwngrayaewlakhxngpharkic karsngektkarnehlanichwyrabukhatang thiekiywkhxngkbtaaehnngdawvks swnkhwamerwaenwelngkhxngdawvksthukwdodyichpraktkarndxphephlxrodysepkothrmietxrthitidxyukbrabbklxngothrthrrsnkhxngikxa xupkrnmwlmakphayindawethiymikxaprakxbdwyxupkrndngtxipni klxngothrthrrsnaetlatwmikrackengapthmphumikhnad 1 4 x 0 5 m aethwladbranabofkskhnad 1 0 x 0 5 m chayaesngcakklxngothrthrrsnthngsxng phaphnithuksngipyng CCD 106 twthimikhnad 4500 x 1966 phikesl xupkrninyanikxaaebngxxkepnsamswnaeykkn xupkrnmatrdarasastrsahrbwdmumkhxngdawthimiochtimatrpraktxndb 5 7 thung 20 ekhruxngmuxwdaesngwdsepktrminchwngkhwamyawkhlun 320 1 000 naonemtrkhxngdawthimiochtimatrpraktxndb 5 7 thung 20 sepkothrmietxrkhwamlaexiydsungwdkhwamerwaenwelngkhxngdawvksidthungthiochtimatrpraktxndb 17 odykarhasepktrmkhwamlaexiydsunginchwngkhwamyawkhlun 847 874 naonemtr esndudklunaekhlesiymixxxn karsuxsarkbtwdawethiymekidkhunthikhwamerwechliy 1 emkabittxwinathi aetprimankhxmulinbangchwngewlaxacsungthungcikabittxwinathi dngnncungxacmiepnsibphikesltxphaph sunghmaykhwamwacaepntxngmikartrwchahruxsngektkarnwtthuthxngfa n trngnn krabwnkardngklawmikhwamsbsxnepnphiessemuxsarwcbriewnthimikhwamhnaaennkhxngdawvkssungpharkicpharkicikxaidrbkarphthnakhuninthanathiepnswnhnungkhxngokhrngkarwithyasastrrayayaw ESA Horizon 2000 Plus thithukkahndkhuninpi 2000 idrbkarrbrxngemuxwnthi 13 tulakhm 2000 epnpharkichlkladbthi 6 aelaidrbkaryunynihxyuinraya B2 khxngokhrngkaremuxwnthi 9 kumphaphnth 2006 rbphidchxbdanhardaewrkhxmphiwetxr aerkerimedimthimiaephncaplxytwineduxnphvscikayn 2012 odymikhaichcaypraman 650 lanyuor rwmkarphlit karplxyyan aelakardaeninnganphakhphundin primankhxmulthnghmdthisngcakyanxwkasrahwangtlxdpharkiccamikhnademuxthukbibxdpraman 60 TB aelacaepn 200 TB emuxkhlaykarbibxdaelw karpramwlphlkhxmulepnkhwamrbphidchxbkhxngklumsmakhmkarpramwlphlaelawiekhraahkhxmul sungidrbeluxkcakxngkhkarxwkasyuorpineduxnphvscikayn 2006 klumsmakhmkarpramwlphlaelawiekhraahkhxmulminkbinxwkasaelawiswkrpraman 400 khncak 20 praethsinyuorp rwmthungphuekharwmcaksunydarasastrxwkasyuorp sungepnxngkhkrphayitxngkhkarxwkasyuorpsungmisanknganihyxyuiklkrungmadrid enginthunmacakpraethssmachikthiekharwmaelanaipcanacnkwacamikarphlitsarbyaefmkhnsudthaykhxngikxakhunma karephyaephrkhxmul emuxwnthi 14 knyayn 2016 ESA idephyaephr Gaia Data Release 1 DR1 sungepnkarwiekhraahkhxmulcakphlkarsngektkarn 14 eduxnaerkkhxngdawethiymikxa sarbyaefmnibnthuktaaehnngkhxngdawmakkwahnungphnlandwng sungpraman 2 landwngprakxbdwykarekhluxnthiechphaaaelakhxmulpharlaelksdawvks ineduxnphvsphakhm 2018 idmikarephyaephr Gaia Data Release 2 DR2 sungwiekhraahkhxmulkarsngektkarntngaeteduxnkrkdakhm 2014 thungphvsphakhm 2016 ody DR2 ephimcanwndawthibnthukiwepn 1 7 phnlandwng incanwnnnmipraman 1 1 phnlandwngthiprakxbdwykhxmulkarekhluxnthiechphaa aelapharlaelksdawvks nxkcakni DR2 yngbnthukkarepliynaeplngkhwamswangdawaela khwamerwaenwelngdwy ineduxnthnwakhm 2020 mikarprakaskarephyaephrkhxmulkhrngthi 3 chbbplxylwnghna Early Data Release 3 EDR3 sungbnthukdawid 1 8 phnlandwng karephyaephrkhxmulkhrngthi 3 niidthukaebngephyaephrepnswn ody EDR3 khuxswnaerkincanwnnn wnthiephyaephr EDR3 thukeluxnihchaxxkipenuxngcakphlkrathbkhxngkarrabadthwkhxngokhwid 19 hlngcaknn DR3 chbbetmcungidrbkarephyaephrinwnthi 13 mithunayn 2022xangxing GAIA Global Astrometric Interferometer for Astrophysics Mission ESA eoPortal subkhnemux 2014 03 28 Frequently Asked Questions about Gaia ESA 2013 11 14 Gaia Liftoff ESA 2013 12 19 Gaia enters its operational orbit ESA 2014 01 08 10億の星を立体地図に 天体位置測定衛星 ガイア 打ち上げ AstroArts 2013 12 20 subkhnemux 2017 09 19 ESA Portal Mapping the Galaxy and watching our backyard Gaia s billion star map hints at treasures to come ESA 2016 09 14 subkhnemux 2017 09 19 10億個以上の星を記録 ガイア の初カタログ公開 AstroArts 2016 09 20 subkhnemux 2017 09 19 L Lindegren 2016 Gaia Data Release 1 Astrometry one billion positions two million proper motions and parallaxes Astronomy amp Astrophysics 595 id A4 32 pp Bibcode 2016A amp A 595A 4L doi 10 1051 0004 6361 201628714 17億個の星の地図が完成 ガイアの第2期データ公開 AstroArts 2018 05 01 subkhnemux 2021 01 25 18億個の天体を含む ガイア 最新データ公開 AstroArts 2020 12 10 subkhnemux 2021 01 25 Gaia News 2020 ESA subkhnemux 2021 01 25