ความละเอียดเชิงแสง (optical resolution) คือความสามารถในการวัดหรือแยกแยะวัตถุด้วยอุปกรณ์ เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เชิงแสง เช่น กล้องจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ ฯลฯ
คำนิยามในกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ความละเอียดเชิงแสงในกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงนิยามโดยใช้สองจุด จากสมมติฐานว่าแหล่งกำเนิดแสงในอุดมคติของแสงขนานตรงที่ไม่มีการแทรกสอดกันนั้นถูกฉายมา โดยอาจใช้คำจำกัดความของ หรืออับเบอ ในการคำนวณความละเอียดของภาพ โดยยึดค่าที่ความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร (แสงสีเขียว) เป็นหลัก โดยค่ายังขึ้นอยู่กับค่ารูรับแสงเชิงตัวเลขด้วย
ความละเอียดของเรย์ลี
ให้ค่าความยาวคลื่นของแสงเป็น λ, ค่ารูรับแสงเชิงตัวเลขของเลนส์ใกล้วัตถุเป็น NA, ค่าดรรชนีหักเหของตัวกลางระหว่างวัตถุกับเลนส์ใกล้วัตถุเป็น n และ ค่ามุมสูงสุดที่ทำกับแกนเชิงแสงของลำแสงที่ฉายจากวัตถุเข้าสู่เลนส์ใกล้วัตถุเมื่อมุมสูงสุดเป็น θ แล้ว ความละเอียดเชิงแสง δ ของแหล่งกำเนิดแสงแบบจุดสองจุดตามคำจำกัดความของจะคำนวณได้ดังนี้
ความละเอียดของอับเบอ
นิยามโดยแอ็นสท์ อับเบอในปี 1873
ความละเอียดของฮอปคินส์
ในความเป็นจริงเราต้องการค่าคงตัวที่แตกต่างกันไปตามสถานะการส่องสว่าง K โดยจะได้ว่า
ถ้านำไปใช้กับแสงที่มองเห็นได้ เมื่อ K = 0.5 จะได้ว่า
เราสามารถได้ความละเอียดเชิงแสงประมาณ 0.2 μm โดยใช้เลนส์ใกล้วัตถุกำลังขยาย 100 เท่า สำหรับแสงที่มองเห็นได้ อย่างไรก็ตาม หากว่ากันโดยละเอียดแล้ว นี่ไม่ใช่ขีดจำกัด เนื่องจากค่าสูงสุดของความละเอียดเชิงแสงจะเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับสภาพแสง ประสิทธิภาพของเลนส์ และ วัสดุที่ใช้ แม้ว่าบางครั้งจะใช้ขีดจำกัดการเลี้ยวเบน ของเลนส์ในความหมายเดียวกับความละเอียดเชิงแสง แต่ก็ไม่ใช่คำจำกัดความที่ถูกต้องของความละเอียด
คำนิยามในกล้องโทรทรรศน์
ค่าความละเอียดเชิงแสงในกล้องโทรทรรศน์ นิยามโดยค่ามุมที่เล็กที่สุดที่แยกแยะจุด 2 จุด เช่น ดาว 2 ดวง โดยตามการคำนวณของเรย์ลี จะได้ว่าความละเอียดเชิงแสง คือ
โดย คือความยาวคลื่นของแสง คือเส้นผ่านศูนย์กลางของเลนส์ใกล้วัตถุ ความละเอียดเชิงแสงทางทฤษฎีของกล้องโทรทรรศน์ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเลนส์ใกล้วัตถุ 100 มม. คือประมาณ 1.3" ซึ่งสอดคล้องกับระยะทางประมาณ 2.4 กม. บนพื้นผิวดวงจันทร์เมื่อมองจากพื้นดิน
คำนิยามในสเปกโทรสโกปี
ในสเปกโตรมิเตอร์ ค่าความละเอียดเชิงแสงใช้อธิบายถึงความสามารถในการแยกเส้นสเปกตรัมที่อยู่ติดกันสองเส้น นิยามโดย
โดย คือความแตกต่างระหว่างความยาวคลื่น 2 ค่าที่สามารถแยกแยะได้ และ คือความยาวคลื่นเฉลี่ยระหว่าง 2 ค่านั้น
คำนิยามในเกรตติงการเลี้ยวเบน
ความละเอียดเชิงแสง เท่ากับผลคูณของจำนวนเส้นเกรตติง และอันดับการเลี้ยวเบน
คำนิยามในปริซึม
ความละเอียดเชิงแสงของปริซึม คือผลคูณของความยาวของฐานของปริซึม และค่าการกระจาย
อ้างอิง
- 第3回】顕微鏡の能力 その1 〜分解能と倍率〜 2016-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน オリンパス
- 分解能と開口数 光学顕微鏡の基礎 日本顕微鏡工業会
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamlaexiydechingaesng optical resolution khuxkhwamsamarthinkarwdhruxaeykaeyawtthudwyxupkrn epntwbngchiprasiththiphaphkhxngxupkrnechingaesng echn klxngculthrrsn klxngothrthrrsn lkrafaesdngkhwamekhmaesngkhxngaehlngkaenidaesng 2 cudsungxyuiklkn odysiaedngkhuxphlrwm caaeykaeyaidktxemuxxyuhangknmakphxkhaniyaminklxngculthrrsnaebbichaesngkhwamlaexiydechingaesnginklxngculthrrsnaebbichaesngniyamodyichsxngcud caksmmtithanwaaehlngkaenidaesnginxudmkhtikhxngaesngkhnantrngthiimmikaraethrksxdknnnthukchayma odyxacichkhacakdkhwamkhxng hruxxbebx inkarkhanwnkhwamlaexiydkhxngphaph odyyudkhathikhwamyawkhlun 550 naonemtr aesngsiekhiyw epnhlk odykhayngkhunxyukbkharurbaesngechingtwelkhdwy khwamlaexiydkhxngeryli ihkhakhwamyawkhlunkhxngaesngepn l kharurbaesngechingtwelkhkhxngelnsiklwtthuepn NA khadrrchnihkehkhxngtwklangrahwangwtthukbelnsiklwtthuepn n aela khamumsungsudthithakbaeknechingaesngkhxnglaaesngthichaycakwtthuekhasuelnsiklwtthuemuxmumsungsudepn 8 aelw khwamlaexiydechingaesng d khxngaehlngkaenidaesngaebbcudsxngcudtamkhacakdkhwamkhxngcakhanwniddngni d 0 61 lNA 0 61 lnsin 8 displaystyle delta frac 0 61 times lambda NA frac 0 61 times lambda n sin theta khwamlaexiydkhxngxbebx niyamodyaexnsth xbebxinpi 1873 d l2NA l2nsin 8 displaystyle delta frac lambda 2NA frac lambda 2n sin theta khwamlaexiydkhxnghxpkhins inkhwamepncringeratxngkarkhakhngtwthiaetktangkniptamsthanakarsxngswang K odycaidwa d KlNA Klnsin 8 displaystyle delta K frac lambda NA K frac lambda n sin theta thanaipichkbaesngthimxngehnid emux K 0 5 caidwa d 0 5 550nm 1 45 190nm 0 19mm displaystyle delta hbox 0 5 times 550nm div hbox 1 45 approx 190nm hbox 0 19 mu hbox m erasamarthidkhwamlaexiydechingaesngpraman 0 2 mm odyichelnsiklwtthukalngkhyay 100 etha sahrbaesngthimxngehnid xyangirktam hakwaknodylaexiydaelw niimichkhidcakd enuxngcakkhasungsudkhxngkhwamlaexiydechingaesngcaepliynipkhunxyukbsphaphaesng prasiththiphaphkhxngelns aela wsduthiich aemwabangkhrngcaichkhidcakdkareliywebn khxngelnsinkhwamhmayediywkbkhwamlaexiydechingaesng aetkimichkhacakdkhwamthithuktxngkhxngkhwamlaexiydkhaniyaminklxngothrthrrsnkhakhwamlaexiydechingaesnginklxngothrthrrsn niyamodykhamumthielkthisudthiaeykaeyacud 2 cud echn daw 2 dwng odytamkarkhanwnkhxngeryli caidwakhwamlaexiydechingaesng 8 displaystyle theta khux 8 1 22l D displaystyle theta 1 22 lambda D ody l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlunkhxngaesng D displaystyle mathit D khuxesnphansunyklangkhxngelnsiklwtthu khwamlaexiydechingaesngthangthvsdikhxngklxngothrthrrsnthimiesnphansunyklangelnsiklwtthu 100 mm khuxpraman 1 3 sungsxdkhlxngkbrayathangpraman 2 4 km bnphunphiwdwngcnthremuxmxngcakphundinkhaniyaminsepkothrsokpiinsepkotrmietxr khakhwamlaexiydechingaesngichxthibaythungkhwamsamarthinkaraeykesnsepktrmthixyutidknsxngesn niyamody R l Dl displaystyle mathit R lambda Delta lambda ody Dl displaystyle Delta lambda khuxkhwamaetktangrahwangkhwamyawkhlun 2 khathisamarthaeykaeyaid aela l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlunechliyrahwang 2 khannkhaniyaminekrttingkareliywebnkhwamlaexiydechingaesng R displaystyle mathit R ethakbphlkhunkhxngcanwnesnekrtting N displaystyle N aelaxndbkareliywebn m displaystyle m khaniyaminprisumkhwamlaexiydechingaesngkhxngprisum khuxphlkhunkhxngkhwamyawkhxngthankhxngprisum h displaystyle h aelakhakarkracay dn dl displaystyle dn d lambda xangxing第3回 顕微鏡の能力 その1 分解能と倍率 2016 06 26 thi ewyaebkaemchchin オリンパス 分解能と開口数 光学顕微鏡の基礎 日本顕微鏡工業会