บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความนี้ไม่มีจาก |
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ คืออุปกรณ์สำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่อยู่ในอวกาศภายนอกในระดับวง โคจรของโลกเพื่อทำการสังเกตการณ์ดาวเคราะห์อันห่างไกล ดาราจักร และวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ ที่ช่วยให้มนุษย์ทำความเข้าใจกับจักรวาลได้ดีขึ้นการสังเกตการณ์ในระดับวงโคจรช่วยแก้ปัญหาทัศนวิสัยในการสังเกตการณ์บนโลกที่ มีอุปสรรคต่าง ๆ เช่น การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในชั้นบรรยากาศ เป็นต้น นอกจากนี้การถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้ายังสามารถทำได้ที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน ซึ่งบางอย่างไม่สามารถทำได้บนผิวโลก
โครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ สำคัญของนาซา คือโครงการหอดูดาวเอก ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ 4 ชุดได้แก่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ นอกจากนี้ยังมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศอื่น ๆ อีกที่อยู่ในวงโคจรแล้ว และกำลังจะขึ้นสู่วงโคจรในอนาคต
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
เป็นหนึ่งในเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์การศึกษาดาราศาสตร์ที่ทำให้นักดาราศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์สำคัญต่าง ๆ อย่างมากมาย เช่น ภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์การนาซาและองค์การ อวกาศยุโรป
โครงการก่อสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 ได้รับอนุมัติทุนสร้างในช่วงปี ค.ศ. 1970 แต่เริ่มสร้างได้ในปี ค.ศ. 1983 กล้องได้ขึ้นสู่อวกาศในปี ค.ศ. 1990 แต่กระจกเงาปฐมภูมิมี ความคลาดทรงกลมทำให้ภาพถ่ายที่ได้สูญเสียคุณภาพไปอย่างมาก ภายหลังจากการซ่อมแซมในปี ค.ศ. 1993 จึงได้กลับมามีคุณภาพเหมือนดังที่ตั้งใจไว้
กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน
เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1991 และได้ทำงานจนกระทั่งปลดระวางในวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 2000 โดยอยู่ในวงโคจรต่ำของโลกที่ระดับความสูงประมาณ 450 กิโลเมตร เพื่อหลบหลีกผลกระทบจากแถบรังสีแวนอัลเลน นับเป็นเครื่องมือทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่มีน้ำหนักมากที่สุดเท่าที่เคยส่ง ขึ้นสู่อวกาศ ด้วยน้ำหนักถึง 17,000 กิโลกรัม
กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2003 และได้สิ้นสุดภารกิจแล้วเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2020
กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา
เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มีอุปกรณ์ตรวจจับที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสีเอกซ์ในห้วงอวกาศ ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยยาน STS-93 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1999
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศยุคลิด
กล้องโทรทรรศน์อวกาศพลังค์
อ้างอิง
- Ending in 2020, NASA's Infrared Spitzer Mission Leaves a Gap in Astronomy. Jonathan O'Callaghan. Scientific American. June 4, 2019.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-05. สืบค้นเมื่อ 2016-03-24.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir klxngothrthrrsnxwkas khuxxupkrnsahrbkarsngektkarnthangdarasastrthixyuinxwkasphaynxkinradbwng okhcrkhxngolkephuxthakarsngektkarndawekhraahxnhangikl darackr aelawtthuthxngfatang thichwyihmnusythakhwamekhaickbckrwaliddikhunkarsngektkarninradbwngokhcrchwyaekpyhathsnwisyinkarsngektkarnbnolkthi mixupsrrkhtang echn karaephrngsiaemehlkiffainchnbrryakas epntn nxkcaknikarthayphaphwtthuthxngfayngsamarththaidthikhwamyawkhluntang kn sungbangxyangimsamarththaidbnphiwolkklxngothrthrrsnxwkashbebil okhrngkarklxngothrthrrsnxwkasthi sakhykhxngnasa khuxokhrngkarhxdudawexk sungprakxbdwyklxngothrthrrsnxwkas 4 chudidaek klxngothrthrrsnxwkashbebil klxngothrthrrsnxwkaskhxmptn klxngothrthrrsnxwkascnthra aelaklxngothrthrrsnxwkasspitesxr nxkcakniyngmiklxngothrthrrsnxwkasxun xikthixyuinwngokhcraelw aelakalngcakhunsuwngokhcrinxnakhtklxngothrthrrsnxwkashbebilepnhnunginekhruxngmuxwithyasastrthisakhythisudinprawtisastrkarsuksadarasastrthithaihnkdarasastrkhnphbpraktkarnsakhytang xyangmakmay echn phaphxwkashwnglukmakkhxnghbebil ekidkhuncakkhwamrwmmuxrahwangxngkhkarnasaaelaxngkhkar xwkasyuorp okhrngkarkxsrangklxngothrthrrsnxwkaserimtnmatngaetpi kh s 1923 idrbxnumtithunsranginchwngpi kh s 1970 aeterimsrangidinpi kh s 1983 klxngidkhunsuxwkasinpi kh s 1990 aetkrackengapthmphumimi khwamkhladthrngklmthaihphaphthaythiidsuyesiykhunphaphipxyangmak phayhlngcakkarsxmaesminpi kh s 1993 cungidklbmamikhunphaphehmuxndngthitngiciwklxngothrthrrsnxwkaskhxmptnepnhxsngektkarndwngthisxngkhxngnasainokhrngkarhxdudawexkthisngkhunsuxwkas khunsuxwkasemuxwnthi 5 emsayn kh s 1991 aelaidthangancnkrathngpldrawanginwnthi 4 mithunayn kh s 2000 odyxyuinwngokhcrtakhxngolkthiradbkhwamsungpraman 450 kiolemtr ephuxhlbhlikphlkrathbcakaethbrngsiaewnxleln nbepnekhruxngmuxthangfisiksdarasastrthiminahnkmakthisudethathiekhysng khunsuxwkas dwynahnkthung 17 000 kiolkrmklxngothrthrrsnxwkasspitesxrepnklxngsngektkarnxwkasxinfraerd khunsuxwkasemuxwnthi 25 singhakhm kh s 2003 aelaidsinsudpharkicaelwemuxwnthi 30 mkrakhm kh s 2020 klxngothrthrrsnxwkasspitesxrklxngothrthrrsnxwkascnthraepndawethiymkhxngnasa thimixupkrntrwccbthisamarthtrwccbrngsiexksid cungepnpraoychnxyangmaksahrbkarsuksarngsiexksinhwngxwkas thuksngkhunsuxwkasodyyan STS 93 emuxwnthi 23 krkdakhm kh s 1999klxngothrthrrsnxwkasecms ewbbklxngothrthrrsnxwkasecms ewbbklxngothrthrrsnxwkasyukhlidklxngothrthrrsnxwkasyukhlidklxngothrthrrsnxwkasphlngkhklxngothrthrrsnxwkasphlngkhxangxingEnding in 2020 NASA s Infrared Spitzer Mission Leaves a Gap in Astronomy Jonathan O Callaghan Scientific American June 4 2019 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 05 05 subkhnemux 2016 03 24