เหตุผลวิบัติของนักการพนัน (อังกฤษ: gambler's fallacy) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เหตุผลวิบัติมอนตีคาร์โล (อังกฤษ: Monte Carlo fallacy) เป็นความเชื่อผิด ๆ ว่า ถ้าเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นบ่อยกว่าปกติในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เหตุการณ์นั้นก็จะเกิดขึ้นบ่อยครั้งน้อยลงในอนาคต หรือว่า ถ้าเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นน้อยกว่าปกติในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เหตุการณ์นั้นก็จะเกิดบ่อยขึ้นในอนาคต เพื่อที่จะให้เกิดการสมดุลกัน แต่ว่าถ้าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเหตุการณ์สุ่ม คือเป็นการลองตามลำดับที่เป็นอิสระทางสถิติ (statistical independent trial) ของกระบวนการสุ่ม แม้ว่าความเชื่อนี้จะดึงดูดใจ แต่ก็จะไม่เป็นความจริง เหตุผลวิบัตินี้เกิดขึ้นได้ในสถานการณ์จริง ๆ มากมาย แต่มักจะมีการกล่าวถึงในเรื่องของการเล่นการพนัน เพราะเป็นเหตุผลวิบัติที่คนเล่นการพนันมีโดยสามัญ
ส่วนคำบัญญัติว่า "เหตุผลวิบัติมอนตีคาร์โล" มีกำเนิดมาจากตัวอย่างที่มีชื่อเสียงของเหตุผลวิบัตินี้ ซึ่งเกิดขึ้นในบ่อนกาสิโนมอนตีคาร์โลในปี ค.ศ. 1913
การโยนเหรียญ
เหตุผลวิบัติของนักการพนันจะเห็นได้ในการโยนเหรียญที่สมดุล ที่ผลที่ออกแต่ละครั้งจะเป็นอิสระทางสถิติจากกันและกัน และค่าความน่าจะเป็นของการออกหัวในแต่ละครั้งจะเป็น 12 คือหนึ่งในสอง พอดี ดังนั้น ความน่าจะเป็นของการออกหัวสองครั้งต่อกันก็จะเป็น 14 (1 ใน 4) และของการออกหัวสามครั้งต่อกันก็จะเป็น 18 (1 ใน 8) ฉะนั้นถ้าสมมุติว่า Ai เป็นเหตุการณ์ที่การโยนเหรียญครั้งที่ i ออกหัว เราก็จะได้
- .
ถ้าตอนนี้เราสมมุติว่า เหรียญได้ออกหัวสี่ครั้งต่อกันแล้ว และการโยนเหรียญครั้งต่อไปก็จะออกหัวเช่นกัน ก็จะเป็นการออกหัวต่อกันถึง 5 ครั้ง เนื่องจากว่า ความน่าจะเป็นของการออกหัว 5 ครั้งต่อกันมีค่าแค่ 132 (1 ใน 32) ผู้เสี่ยงต่อเหตุผลวิบัติของนักการพนันอาจจะเชื่อว่า การโยนเหรียญครั้งต่อไปมีโอกาสจะออกหัวน้อยกว่าออกก้อย แต่จริง ๆ แล้ว ความคิดนี้ไม่ถูก และเป็นลักษณะปรากฏของเหตุผลวิบัตินี้ คือความจริงแล้ว การออกหัว 5 ครั้งต่อกัน หรือว่าการออกหัว 4 ครั้งและออกก้อยต่อมา มีความน่าจะเป็นเท่า ๆ กัน คือมีค่าที่ 132 ถ้าออกหัวมาแล้ว 4 ครั้ง ความน่าจะเป็นของการออกหัวในครั้งต่อไปก็คือ
- .
แม้ว่า การออกหัว 5 ครั้งต่อกันมีความน่าจะเป็นเพียง 132 = 0.03125 แต่ว่า นั่นเป็นค่าความน่าจะเป็นก่อนที่จะมีการโยนเหรียญครั้งแรก แต่หลังจากที่มีการโยนเหรียญมา 4 ครั้งแล้ว ผลที่ได้ก็เป็นสิ่งที่รู้แล้วเกิดขึ้นแล้ว จึงมีความน่าจะเป็นคือ 1 ให้สังเกตว่า การคิดโดยเหตุผลที่ไม่ตรงกับความจริงว่า มีโอกาสที่การโยนเหรียญครั้งต่อไปจะออกก้อยมากกว่าจะออกหัวโดยอาศัยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว เท่ากับบ่งว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตจะมีอิทธิพลต่อความน่าจะเป็นของอนาคต นั่นแหละคือเหตุผลวิบัติของนักการพนัน
คำอธิบายอีกอย่างหนึ่ง
เราสามารถเห็นจากวิธีการข้างบนว่า ถ้าเราโยนเหรียญ 21 ครั้ง ความน่าจะเป็นของการออกหัวทุกครั้งจะเป็น 1 ใน 2,097,152 แต่จริง ๆ แล้ว ความน่าจะเป็นของการออกหัว "หลังจากการโยนเหรียญที่ออกหัวต่อ ๆ กันถึง 20 ครั้ง" ก็ยังเป็นเพียงแค่ 12 นี่เป็นการประยุกต์ใช้ Bayes' theorem
ความจริงนี้สามารถเห็นได้โดยไม่ต้องรู้ว่า มีการออกหัว 20 ครั้งต่อ ๆ กันจริง ๆ (คือไม่ต้องประยุกต์ใช้ Bayes' theorem) ลองพิจารณาถึงความน่าจะเป็นสองอย่างนี้คือ
- ความน่าจะเป็นของการออกหัว 20 ครั้ง แล้วออกก้อย = 0.520 × 0.5 = 0.521
- ความน่าจะเป็นของการออกหัว 20 ครั้ง แล้วออกหัว = 0.520 × 0.5 = 0.521
ซึ่งก็คือ ความน่าจะเป็นทั้งสองมีค่าเท่ากันที่ 1 ใน 2,097,152 ดังนั้น จึงเป็นไปได้เท่า ๆ กันที่จะออกหัว 21 ครั้ง หรือออกหัว 20 ครั้งแล้วออกก้อย 1 ครั้ง ในการโยนเหรียญสมดุล 21 ครั้ง ยิ่งไปกว่านั้น นี่เป็นค่าความน่าจะเป็นของการโยนเหรียญ 21 ครั้งที่ได้ผลหัวก้อยอย่างอื่น ๆ ทั้งหมด (มีผลที่เป็นไปได้ 2,097,152 รูปแบบ) จากข้อสังเกตเช่นนี้ ไม่มีเหตุผลที่จะเชื่อว่า โชค (หรือความน่าจะเป็น) จะเปลี่ยนไปเนื่องจากผลที่เกิดขึ้นในครั้งก่อน ๆ เพราะว่า ไม่ว่าเราจะเห็นผลที่เกิดขึ้นในอดีตก็ดี ไม่เห็นก็ดี ความน่าจะเป็นของการออกหัวก้อยครั้งต่อไปก็ยังเท่า ๆ กันอยู่ ถ้าเป็นเหรียญสมดุล ดังนั้น เหมือนกับที่ Bayes' theorem แสดงให้เห็นแล้ว ผลของการโยนเหรียญแต่ละครั้งก็คือค่าความน่าจะเป็นพื้นฐานของการโยนเหรียญสมดุล ซึ่งก็คือ 12 นั่นเอง
ตัวอย่างอื่น ๆ
ในประเทศที่ผู้เล่นลอตเตอรี่สามารถเลือกเบอร์เองได้ ผู้เล่นบางท่านจะเลือกเลขเดียวกันทุก ๆ ครั้ง หรือว่า จงใจเลือกเบอร์ใดเบอร์หนึ่ง แต่ความจริงแล้ว เลขทั้งสองมีโอกาสเท่ากันในการถูกรางวัลของการจับรางวัลแต่ละครั้ง นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีการเลือกเอาเบอร์ที่ถูกมาก่อนแล้ว ซึ่งจริง ๆ ก็ยังมีโอกาสถูกเท่ากับเบอร์อื่น ๆ อีกเหมือนกัน ฉะนั้น ถ้าจะเลือกเบอร์ให้สมเหตุผลแล้ว ควรจะเลือกเบอร์ที่ไม่ตรงกับที่ผู้อื่นเลือก เช่นเบอร์ที่ต่ำ (ต่ำกว่า 31 หรือยิ่งกว่านั้นต่ำกว่า 12) มักจะเป็นที่นิยมเพราะคนมักจะเลือกวันเกิดเป็น "เลขนำโชค" ของตน ดังนั้น ถ้าเลขเหล่านั้นถูกรางวัลจริง ๆ คนที่เลือกเลขเดียวกันก็จะต้องแบ่งรางวัลโดยได้เท่า ๆ กัน
มีเรื่องตลกที่นักคณิตศาสตร์เล่าเพื่อแสดงเหตุผลวิบัตินี้ คือ มีชายคนหนึ่งขึ้นเครื่องบินโดยพกระเบิดมาด้วยทุกครั้ง เขาคิดว่า "โอกาสที่จะมีคนเอาระเบิดมาขึ้นเครื่องบินมีน้อยมาก ดังนั้น โอกาสที่จะมีคน 2 คนเอาระเบิดมาขึ้นเครื่องบินแทบจะไม่มีเลย" มีหนังสือนิยายเรื่องหนึ่งที่พระเอกในเรื่องตัดสินใจจะซื้อบ้านหลังจากมีเครื่องบินลำเล็กตกลงใส่บ้าน โดยคิดว่า โอกาสที่จะมีเครื่องบินอีกลำหนึ่งตกใส่บ้านหลังนั้นลดลงแทบจะเกือบศูนย์
เหตุผลวิบัติในด้านตรงข้าม
ถ้าเกิดการออกก้อยบ่อย ๆ นักการพนันอาจจะคิดว่า มีเรื่องเหนือธรรมชาติอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นโชคหรือพรหมลิขิต ที่ทำให้ออกก้อยบ่อย ๆ จึงไม่เห็นเหตุผลที่จะไปแทงหัว นี่เป็นเหตุผลวิบัติเพราะเชื่อว่า โลกเหมือนกับจะเก็บความจำอะไรบางอย่าง เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดในอดีต ที่สามารถเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ที่จะเกิดในอนาคต แต่ว่า จะไม่เป็นเหตุผลวิบัติถ้าคิดเป็นเหตุผลว่า ความโน้มน้าวไปทางใดทางหนึ่ง (เช่นในการออกก้อย) เป็นหลักฐานว่า เหรียญนี้ไม่สมดุล
เหตุผลวิบัติอีกอย่างหนึ่งที่มีบัญญัติชื่อว่า inverse gambler's fallacy (เหตุผลวิบัติผกผันของนักการพนัน) หมายถึงเหตุการณ์ที่นักการพนันเห็นคนโยนลูกเต๋า 2 ลูกได้ 6 แต้มทั้งสองลูก แล้วสรุปอย่างผิด ๆ ว่า คน ๆ นี้ต้องโยนลูกเต๋ามาเป็นเวลานานแล้ว เพราะว่า มีโอกาสน้อยที่จะโยนได้ 6 แต้มทั้งสองลูก ในการโยนครั้งแรก ๆ
ข้อควรระวัง
ในการกล่าวถึงเหตุผลวิบัติของนักการพนัน จะต้องสมมุติว่าเหรียญนั้นสมดุล แต่ในโลกจริง ๆ ข้อสมมุตินี้อาจจะไม่ตรงกับความจริง
ดังนั้น ถ้าเราโยนเหรียญสมดุล 21 ครั้ง ความน่าจะเป็นของการออกหัวต่อกับ 21 ครั้งก็จะเป็น 1 ใน 2,097,152 (ดังที่กล่าวมาก่อนแล้ว) และถ้าเหรียญนั้นสมดุลจริง ๆ ความน่าจะเป็นของการออกหัวในการโยนครั้งต่อไปก็จะเป็น 1/2 แต่ว่า ถ้าเราไม่รู้ความน่าจะเป็นจริง ๆ ของการออกหัวก้อย ก็อาจเป็นไปได้ว่า มีอิทธิพลอะไรบางอย่างที่ทำให้เหรียญออกหัวต่อ ๆ กัน เช่นอาจจะมีการบังคับด้วยแม่เหล็กเป็นต้น ในกรณีนี้ หลักฐานแสดงว่า มีความเอนเอียงที่เหรียญนี้จะออกหัว คัดค้านข้อสมมุติทั่ว ๆ ไปว่าเหรียญมีความสมดุล ดังนั้น การแทงหัวก็จะเป็นสิ่งที่สมควร
การคลอดลูก
ตัวอย่างของเหตุผลวิบัติของนักการพนันในเรื่องของการคลอดลูก เห็นได้เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1796 คือปีแยร์-ซีมง ลาปลัสได้เขียนวิธีที่คุณพ่อคำนวณความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชายไว้ว่า
ผมได้เห็นชายที่อยากจะได้ลูกชายมาก ผู้จะรับข่าวอย่างวิตกกังวลเกี่ยวกับการเกิดของเด็กชายในเดือนที่ตนเองคาดว่า จะเป็นคุณพ่อ โดยจินตนาการว่า อัตราส่วนการเกิดของเด็กผู้ชาย ควรจะเท่ากับของเด็กผู้หญิงโดยสิ้นเดือน (คือ) ได้ตัดสินว่า เด็กชายที่เกิดแล้ว จะทำให้ความน่าจะเป็นของการเกิดของเด็กหญิงต่อ ๆ ไปเพิ่มขึ้น
— จาก A Philosophical Essay on Probabilities
ซึ่งโดยย่อก็คือ คุณพ่อในอนาคตกลัวว่า ถ้ามีทารกชายเกิดขึ้นในชุมชนรอบ ๆ ก็จะทำให้ตนมีโอกาสที่จะได้ลูกสาวเพิ่มขึ้น
ส่วนอนาคตคุณพ่อคุณแม่บางพวกเชื่อว่า หลังจากที่มีลูกเพศเดียวกันมาหลายคนแล้ว ก็จะถึงกำหนดที่จะมีลูกเพศตรงกันข้ามบ้าง แม้ว่าจะมีทฤษฎี (Trivers-Willard hypothesis) ที่พยากรณ์ว่า เพศของเด็กที่เกิด ขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นอยู่ (คือเด็กชายจะเกิดในสภาพความเป็นอยู่ที่ดีมากกว่า และเด็กหญิงจะเกิดในสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ดีมากกว่า) แต่นักวิทยาศาสตร์โดยทั่ว ๆ ไปยังพิจารณาความน่าจะเป็นของเพศเด็กที่เกิดว่า เกือบจะเท่ากัน
ตัวอย่างที่มอนตีคาร์โล
ตัวอย่างที่มีชื่อเสียงที่สุดของเหตุผลวิบัตินักการพนัน เกิดขึ้นในการเล่นรูเล็ตต์ ที่กาสิโนมอนตีคาร์โลในประเทศโมนาโก เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2456 เมื่อลูกรูเล็ตต์ตกลงในช่องดำถึง 26 ครั้งต่อ ๆ กัน ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ "ไม่สามัญอย่างยิ่ง" แม้ว่า จริง ๆ แล้ว ก็สามัญเท่ากับลำดับการตกลงช่องต่าง ๆ กัน 26 ครั้งที่มีถึง 67,108,863 รูปแบบอื่น ๆ ในเหตุการณ์นี้ นักการพนันเสียทรัพย์เป็นล้าน ๆ ฟรังก์ (รูปแบบเงินของประเทศฝรั่งเศสในเวลานั้น) โดยแทงตรงข้ามกับสีดำ โดยมีเหตุผลที่ผิดพลาดว่า ลำดับตกช่องดำที่เกิดต่อ ๆ กันแล้วนั้นก่อ "ความไม่สมดุล" ให้กับล้อรูเล็ตต์ เพราะฉะนั้น จะต้องมีลำดับตกช่องแดงต่อ ๆ มา
ตัวอย่างเทียม
มีสถานการณ์หลายรูปแบบที่เหตุผลวิบัติของนักการพนันดูเหมือนจะเป็นเรื่องตรงประเด็น แต่ว่าจริง ๆ แล้วไม่ตรง ตัวอย่างแรกก็คือ ในการตรวจดูกระแสข้อมูลบิตสุ่ม การพบบิต 110 จะเร็วกว่าการพบ 111
เพื่อที่จะทำความเข้าใจ ดูแผนภาพสถานะสองแผนตามไปด้วย (ซ้ายสำหรับบิต-111 ขวาสำหรับบิต-110) ถ้าพบ 11 แล้ว (วงที่สาม) การได้ 1 หรือ 0 ต่อจากนั้นมีความน่าจะเป็นเท่า ๆ กัน แต่ถ้า 0 เป็นบิตต่อมา บิต-111 จะต้องรอ 1 อีก 3 ตัวจึงจะจบ แต่ถ้า 1 เป็นบิตต่อมา บิต-110 จะต้องรอ 0 อีกตัวเดียวจึงจะจบ
ดังนั้น แม้ว่าเหตุการณ์สุ่มในอดีตจะไม่สามารถกำหนดเหตุการณ์สุ่มในอนาคต ลำดับการเกิดขึ้นบางอย่างอาจจะพบได้เร็วกว่าลำดับอื่น ๆ ตัวอย่างนี้ให้ความเข้าใจว่า ทำไมลำดับที่มีรูปแบบยิ่งกว่า (เช่น 111) มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยกว่าในสายอักขระที่ยาวแต่มีกำหนด (คือไม่ใช่สายที่ไม่มีที่สิ้นสุด) และทำไมในเหรียญสมดุลที่ออกหัว (ห) และก้อย (ก) เท่า ๆ กัน "โดยตรงกับประสบการณ์ของเรา การเกิดขึ้นของ หหหก มีความน่าจะเป็นมากกว่า หหหห (แต่ว่าจะไม่มากกว่าถ้าเห็น หหห แล้ว)"
นอกจากนั้นแล้ว เหตุผลวิบัติของนักการพนันประยุกต์ใช้ไม่ได้เมื่อความน่าจะเป็นของเหตุการณ์แต่ละอย่างไม่มีความอิสระทางสถิติจากกันและกัน ซึ่งก็คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ในอนาคตอาจเปลี่ยนไปได้ขึ้นอยู่กับว่ามีอะไรเกิดขึ้นในอดีต (ดู การเรียงสับเปลี่ยน) โดยรูปนัยแล้ว จะมีการบ่งระบบเช่นนี้ว่า "มีความจำ" ตัวอย่างง่าย ๆ อย่างหนึ่งก็คือ ไพ่ที่จั่วออกจากสำรับไพ่โดยไม่ได้เติมแทนให้เต็ม เช่น ถ้ามีการจั่วเอซออกจากสำรับโดยไม่ได้คืน การจั่วครั้งต่อไปมีโอกาสที่จะได้เอซน้อยกว่าที่จะได้ไพ่เบอร์อื่น ๆ คือ ถ้าสมมติว่า เป็นไพ่ใบแรกที่จั่ว และไม่มีไพ่โจ๊ก ความน่าจะเป็นที่จะจั่วได้เอซ จะลดลงจาก 452 (7.69%) ไปยัง 351 (5.88%) ในขณะที่ความน่าจะเป็นในการจั่วได้ไพ่เบอร์อื่น ๆ จะเพิ่มจาก 452 (7.69%) เป็น 451 (7.84%) นี่เป็นปรากฏการณ์ที่สามารถทำให้นับไพ่ (เพื่อใช้ในการคำนวณความน่าจะเป็น) ในการเล่นไพ่บางอย่างได้ (เช่น )
ตัวอย่างเทียม: เมื่อไม่ทราบความน่าจะเป็น
ถ้าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำกันเป็นเรื่องที่ไม่ทราบ ผลที่เป็นไปได้ทุก ๆ อย่างอาจมีโอกาสเกิดขึ้นไม่เท่ากัน เช่นในกรณีที่โยนเหรียญ ถ้าการออกหัวยิ่งติดต่อกันนานเท่าไร ความเป็นไปได้ว่าเหรียญนั้นมีความเอนเอียงที่จะออกหัวก็เพิ่มขึ้นเท่านั้น ถ้าเราโยนเหรียญ 21 ครั้งแล้วออกหัวทั้ง 21 ครั้ง เราก็สามารถจะสรุปได้อย่างสมเหตุสมผลว่า มีความน่าจะเป็นระดับสูงที่เหรียญนี้เอนเอียงไปในการออกหัว และดังนั้นก็จะสรุปได้ว่า การโยนเหรียญครั้ง ๆ ต่อไปมีโอกาสสูงที่จะออกหัวอีกเช่นกัน จริงอย่างนั้น เมื่อไม่รู้อัตราส่วนของผลที่จะเกิดขึ้น ในลำดับเหตุการณ์ (เช่นการโยนเหรียญ) ในระยะยาว แต่ถ้าสามารถอนุมานใช้ Bayesian inference โดยแสดงว่า ความเอนเอียงที่จะเกิดขึ้นมีโอกาสเท่า ๆ กันที่จะเป็นไปทางด้านไหนก็ได้ และแสดงว่า ผลที่ปรากฏในเหตุการณ์ครั้งก่อน ๆ ได้แสดงด้านที่น่าจะมีความเอนเอียง ดังนั้น ผลที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นมากที่สุดก็คือค่าสังเกตในข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วบ่อยที่สุด
การทำงานของจิตที่เป็นฐานของเหตุผลวิบัติ
แหล่งกำเนิด
เหตุผลวิบัติเกิดขึ้นจากการวางนัยทั่วไปเร็วเกินไป ซึ่งก็คือความเชื่อที่ผิดพลาดว่า ตัวอย่างที่มีน้อยสามารถเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มที่ใหญ่กว่าได้ คือ ตามเหตุผลวิบัตินี้ ลำดับการเกิดเหตุการณ์ที่เกิดช้ำต่อ ๆ กันจะต้องเปลี่ยนไปอีกด้าน เพื่อที่จะมีลักษณะเป็นตัวแทนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยรวม ๆ ได้ ในปี ค.ศ. 1971 และแดเนียล คาฮ์นะมัน เสนอเป็นครั้งแรกว่า เหตุผลวิบัติของนักการพนันเป็นความเอนเอียงทางประชานที่เกิดขึ้นจากฮิวริสติกที่เรียกว่า representativeness heuristic (ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทน) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่เสนอว่า เราประเมินความน่าจะเป็นของเหตุการณ์บางอย่างโดยประเมินว่าเหมือนกับเหตุการณ์ที่เคยประสบมาก่อนแค่ไหน
โดยมุมมองนี้ "หลังจากที่ลูกรูเล็ตต์ตกลงในช่องแดงในล้อรูเล็ตต์ต่อ ๆ กันเป็นลำดับยาว... คนโดยมากเชื่ออย่างผิด ๆ ว่า การตกลงในหลุมดำต่อไปจะทำให้เป็นลำดับที่เป็นตัวแทน (ของเหตุการณ์สุ่ม) ที่ดีกว่าการตกลงในหลุมแดง" ดังนั้น มนุษย์จะหวังว่า ผลสุ่มในลำดับที่สั้น ๆ ควรจะมีลักษณะที่คล้าย ๆ กันกับลำดับที่ยาว ๆ ซึ่งก็คือ ความต่างออกไปจากลักษณะเฉลี่ย ควรที่จะมีการปรับให้สมดุล
เมื่อมีการให้ผู้ร่วมการทดลองสร้างลำดับที่คล้ายกับลำดับสุ่มของการโยนเหรียญ ผู้ร่วมการทดลองมักจะทำลำดับที่อัตราส่วนของการออกหัวและก้อยใกล้กับค่า 0.5 ในลำดับสั้น ๆ กว่าที่จะปรากฏในลำดับสุ่มจริง ๆ (ซึ่งเป็นความเอนเอียงที่เรียกว่า ความด้านต่อขนาดตัวอย่าง หรือ insensitivity to sample size) คาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้ตีความปรากฏการณ์เช่นนี้ว่า เราเชื่อว่าลำดับสั้น ๆ ของเหตุการณ์สุ่มควรจะเหมือนกับลำดับยาว ๆ มีการใช้ฮิวริสติกโดยความเป็นตัวแทนเป็นคำอธิบายต่อปรากฏการณ์ที่คล้าย ๆ กันคือ การแปลการจับกลุ่มผิด (clustering illusion) ที่เราเห็นลำดับต่อ ๆ กันของเหตุการณ์สุ่มว่าไม่ใช่เกิดจากความสุ่ม ทั้ง ๆ ที่ความจริงแล้ว ลำดับที่มีลักษณะอย่างนั้น มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีขนาดตัวอย่างที่น้อย มากกว่าที่เราคาดคิด
ความเอนเอียงของนักการพนันอาจจะเป็นเหตุของความเชื่อผิด ๆ ว่า การพนัน (หรือแม้แต่ความสุ่มเอง) เป็นกระบวนการที่ยุติธรรมสม่ำเสมอ ที่จะเกิดการปรับคืนเมื่อมีลำดับซ้ำต่อ ๆ กัน ซึ่งเป็นความเชื่อที่เรียกว่า สมมุติฐานโลกยุติธรรม (just-world hypothesis) มีนักวิชาการอื่น ๆ ที่เชื่อว่า บุคคลที่มีโลคัสควบคุมภายใน (internal locus of control) ซึ่งก็คือผู้ที่เชื่อว่าผลการพนันเป็นผลจากทักษะความสามารถของตน จะมีโอกาสเสี่ยงต่อความเอนเอียงของนักการพนันมากกว่า เพราะว่า คนเหล่านั้นจะปฏิเสธไอเดียว่า การเกิดโดยสุ่มสามารถเอาชัยต่อทักษะความสามารถหรือพรสวรรค์ได้
แบบอื่น ๆ
นักวิชาการบางพวกเชื่อว่า ความเอนเอียงนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบ 1 และ แบบ 2 แบบหนึ่งเป็นแบบคลาสสิก เมื่อบุคคลเชื่อว่า ผลบางอย่างถึงกำหนดที่จะเกิดขึ้นหลังจากมีลำดับการเกิดซ้ำ ๆ ต่อ ๆ กันของผลอย่างอื่น แบบที่สองได้รับการกำหนดจากนักวิชาการอีกลุ่มหนึ่ง (Gideon Keren and Charles Lewis) ที่เกิดขึ้นเมื่อนักการพนันประเมินจำนวนการสังเกตการณ์ที่จำเป็นต้องมี เพื่อที่จะตรวจจับผลที่มีอัตราการเกิดสูงกว่าได้ (เช่น การสังเกตล้อรูเล็ตต์เป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วตัดสินเบอร์หลุมที่ลูกรูเล็ตต์ตกลงบ่อยที่สุด) คือ การจะตรวจจับความเอนเอียงที่ทำให้เกิดผลที่มีอัตราเกิดสูงกว่าได้จริง ๆ จะต้องอาศัยการสังเกตเหตุการณ์เป็นจำนวนมากกว่าที่ปกติจะทำกันได้ เป็นเรื่องที่ทำได้ยากถ้าจะทำได้จริง ๆ ดังนั้น เราจึงตกเป็นเหยื่อของความเอนเอียงประเภทที่ 2 ความแตกต่างระหว่างสองแบบของความเอนเอียงก็คือ แบบแรกมีข้อสมมุติที่ผิด ๆ ว่า สถานการณ์และกระบวนการต่าง ๆ เป็นไปอย่างยุติธรรมและสมบูรณ์ ในขณะที่แบบสองมีข้อสมมุติว่า ถ้ามีผลที่มีความเอนเอียง ความเอนเอียงนี้จะสามารถตรวจจับได้ภายในชั่วระยะเวลา (สั้นเกินความจริง) หนึ่ง
ในอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า เหตุผลวิบัติย้อนหลังของนักการพนัน (retrospective gambler's fallacy) เกิดขึ้น เมื่อเราตัดสินว่า เหตุการณ์หนึ่งที่ดูเหมือนกับจะเกิดไม่บ่อย ต้องเกิดขึ้นในลำดับเหตุการณ์ที่ยาวนานกว่าเหตุการณ์ที่ดูเหมือนจะสามัญกว่า ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเห็นการโยนลูกเต๋า 3 ลูกได้ 6 แต้มทั้งสามลูก เราจะเชื่อว่า การโยนลูกเต๋าต่อ ๆ กันต้องเป็นไปแล้วยาวนานถึง 3 เท่ากว่าถ้าเห็นลูกเต๋าโยนได้ 6 แต้มสองลูก ปรากฏการณ์นี้จะพบได้ทั้งเมื่อมีการสังเกตการณ์เป็นครั้ง ๆ หรือแม้เป็นลำดับ ตัวอย่างจริง ๆ ก็คือว่า เมื่อเด็กวัยรุ่นเกิดตั้งครรภ์เพราะมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน เรามักจะมีข้อสมมติว่า เธอได้มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน มายาวนานกว่าผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันแต่ยังไม่ตั้งครรภ์
ความสัมพันธ์กับ hot-hand fallacy
ส่วนอีกมุมมองหนึ่งทางจิตวิทยาเสนอว่า เหตุผลวิบัตินี้สามารถเห็นเป็นคู่ของความเห็นวิบัติโดยมือขึ้น (hot-hand fallacy) ที่พบในกีฬาบาสเกตบอล ที่ผู้ชมมักจะพยากรณ์ผลตามเหตุการณ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น (positive recency) คือ นักกีฬาหรือทีมที่พึ่งได้แต้ม ก็จะได้แต้มต่อไป แต่ในเหตุผลวิบัติของนักการพนัน เราพยากรณ์ผลตรงข้ามกับเหตุการณ์สุดท้าย (negative recency) เช่น เพราะลูกรูเล็ตต์ได้ตกลงในช่องดำ 6 ครั้งสุดท้าย มันถึงกำหนดที่จะตกลงในช่องแดงต่อ ๆ ไป นักวิชาการกลุ่มหนึ่งตั้งสมมติฐานว่า เราพยากรณ์ผลบวกตามเหตุการณ์สุดท้ายเนื่องกับเหตุผลวิบัติโดยมือขึ้น ก็เพราะว่า เป็นเรื่องเกี่ยวกับสมรรถภาพของมนุษย์ ในขณะเดียวกัน เราไม่เชื่อว่าสิ่งไม่มีชีวิตจะเกิดความ "ขึ้น" ได้ ดังนั้นจึงพยากรณ์ผลตรงข้ามเหตุการณ์สุดท้ายเนื่องกับเหตุผลวิบัติของนักการพนัน คือ เราไม่รู้สึกว่า สมรรถภาพมนุษย์เป็นเรื่องสุ่ม ดังนั้น เราจึงคิดว่า มนุษย์จะทำให้เกิดลำดับซ้ำ ๆ เพราะเราเชื่อว่า กระบวนการที่ทำให้เกิดผลไม่ใช่เป็นเรื่องสุ่ม แต่ว่า นักวิชาการพบว่า เมื่อเรามีเหตุผลวิบัติของนักการพนัน ปรากฏกว่า เรามีโอกาสมากกว่าที่จะมีเหตุผลวิบัติโดยมือขึ้นด้วย ซึ่งบอกเป็นนัยว่า กระบวนการจิตวิทยาอันเดียวกัน เป็นแหล่งกำเนิดของเหตุผลวิบัติทั้งสองอย่าง
ความแตกต่างระหว่างเหตุผลวิบัติทั้งสองก็พบด้วยในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ มีงานวิจัยในปี ค.ศ. 2010 ที่ตรวจสอบเหตุผลวิบัติทั้งสองโดยออกแบบการทดลองเลียนแบบตลาดการเงิน มีการให้ผู้ร่วมการทดลองทางเลือกสามทาง คือให้แทงผลของการโยนเหรียญตามลำดับเอง ให้แทงโดยใช้ความเห็นของ "ผู้เชี่ยวชาญ" ที่มีประวัติสุ่ม หรือให้เลือกเอาการลงทุนที่ไร้ความเสี่ยงแต่ได้ผลกำไรที่น้อยกว่า มีผู้ร่วมการทดลอง 24% ที่เลือกใช้ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ โดยเลือกผู้เชี่ยวชาญที่มีประวัติความสำเร็จที่มือกำลังขึ้น ถ้าผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำถูก 78% ของผู้ร่วมการทดลองจะเลือกใช้ความเห็นผู้เชี่ยวชาญอีก เทียบกับ 57% ถ้าผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำผิด ในการทดลองนี้ ผู้ร่วมการทดลองปรากฏเหตุผลวิบัติของนักการพนันด้วย คือการเลือกไม่ว่าจะเป็นหัวหรือก้อย จะลดลง ถ้าสังเกตเห็นการเกิดซ้ำ ๆ กันของผลเช่นนั้น ผลการทดลองนี้สนับสนุนทฤษฎีว่า มนุษย์ให้น้ำหนักกับสมรรถภาพมนุษย์ มากกว่าให้กับกระบวนการที่เป็นไปโดยสุ่ม (ทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วได้ผลสุ่มเหมือนกัน)
สรีรภาพทางประสาท
แม้ว่า นักจิตวิทยาจะถือเอาว่า representativeness heuristic และความเอนเอียงทางประชานประเภทอื่น ๆ เป็นเหตุของเหตุผลวิบัติของนักการพนันบ่อยครั้งที่สุด แต่ก็มีงานวิจัยที่เสนอว่า มีองค์ประกอบทางประสาทที่เป็นเหตุด้วย คือมีการพบโดยใช้การสร้างภาพสมองโดย fMRI ว่า หลังจากเสียการพนัน เครือข่ายประสาทในกลีบขมับด้านหน้า (frontoparietal network) จะเกิดการทำงาน ซึ่งทำให้เกิดพฤติกรรมที่เสี่ยงยิ่งขึ้น และมีการทำงานที่ลดระดับลงในอะมิกดะลา, caudate nucleus และ ventral striatum (ซึ่งเป็นส่วนของ ) แต่การทำงานของอะมิกดะลานั้นมีสหสัมพันธ์เชิงลบกับเหตุผลวิบัติของนักการพนัน คือยิ่งมีการทำงานเพิ่มขึ้นเท่าไร บุคคลนั้นมีโอกาสที่จะตกเป็นเหยื่อของเหตุผลวิบัติน้อยลงเท่านั้น ผลการทดลองบอกเป็นนัยว่า เหตุผลวิบัตินี้อาศัยการทำงานของคอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า (prefrontal cortex) มากกว่า เป็นเขตซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับ executive functions และกระบวนการมีจุดมุ่งหมาย (goal-directed processes) และอาศัยเขตสมองที่ควบคุมการตัดสินใจทางอารมณ์ (มีอะมิกดะลาเป็นต้น) น้อยกว่า
ความต้องการที่จะเล่นพนันต่อไปมีการควบคุมโดยเขตสมอง striatum (ซึ่งเป็นส่วนของ basal ganglia) ซึ่งมีหน้าที่อุปถัมภ์การเรียนรู้แบบขึ้นอยู่กับการเลือกกระทำและผลที่ได้ (choice-outcome contingency learning) คือ striatum จะประมวลความผิดพลาดของการพยากรณ์ และจะทำให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรม หลังจากการชนะ พฤติกรรมจะเกิดการเสริมกำลัง และหลังจากการแพ้ พฤติกรรมจะมีการปรับภาวะให้มีการหลีกเลี่ยง ในบุคคลที่ปรากฏเหตุผลวิบัติของนักการพนัน ระบบการเรียนรู้แบบนี้จะมีความเสียหาย และผู้เล่นจะมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อ ๆ ไปแม้ว่าจะแพ้ต่อ ๆ กันมาเป็นลำดับแล้ว
การแก้ปัญหา
เนื่องจากเหตุผลวิบัตินี้เป็นความเอนเอียงทางประชานที่ฝังแน่น ดังนั้นการกำจัดจึงเป็นเรื่องยากมาก โดยทั่วไปแล้ว การให้ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของเหตุการณ์สุ่ม ไม่มีผลต่อการลดกำลังหรือกำจัดความเอนเอียงนี้ ในงานวิจัยยุคต้น ๆ ในปี ค.ศ. 1967 มีการใช้ไพ่สับที่แสดงรูปร่างเพื่อให้ผู้ร่วมการทดลองเดาว่า จะจั่วได้รูปไหนในลำดับต่อไป มีการให้ข้อมูลกับกลุ่มทดลองเกี่ยวกับธรรมชาติและความเกิดขึ้นของเหตุผลวิบัติของนักการพนัน และมีการบอกไม่ให้พึ่งลำดับที่ผ่านมาแล้ว ในการเดารูปร่างที่จะจั่วได้ ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับข้อมูลนี้ ถึงกระนั้น สไตล์การเดาของกลุ่มทั้งสองนั้นคล้ายกัน ซึ่งบ่งว่ากลุ่มทดลองก็ยังเลือกอาศัยลำดับที่ผ่านมาแล้ว จึงปรากฏชัดว่า การให้ข้อมูลเรื่องเหตุการณ์สุ่ม ไม่เพียงพอในการลดระดับเหตุผลวิบัติของนักการพนัน
ความเสี่ยงต่อเหตุผลวิบัติของนักการพนันดูเหมือนจะลดลงตามอายุ ในปี ค.ศ. 1997 มีการให้คน 5 กลุ่มตอบคำถาม คือนักเรียน ป.5 ม.1 ม.3 ม.5 และนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ศึกษาเพื่อเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ ผู้ร่วมการทดลองทั้ง 5 กลุ่มไม่เคยเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องความน่าจะเป็นมาก่อน คำถามคือ "รอนนี่โยนเหรียญ 3 ครั้งและออกหัวทั้ง 3 ครั้ง รอนนี่ตั้งใจจะโยนเหรียญอีก มีโอกาสเท่าไรที่จะออกหัวเป็นครั้งที่ 4" ผลแสดงว่า เมื่อนักเรียนเจริญวัยขึ้น มีโอกาสน้อยลงที่จะให้คำตอบว่า "น้อยกว่าโอกาสที่จะออกก้อย" ซึ่งเป็นคำตอบผิดที่แสดงความเอนเอียงนี้ 35% ของนักเรียน ป.5, 35% ของนักเรียน ม.1, และ 20% ของนักเรียน ม.3 ให้คำตอบที่ผิด แต่มี 10% ของนักเรียน ม.5 เท่านั้นที่ให้คำตอบที่ผิด และนักศึกษามหาวิทยาลัยก็ไม่แสดงปรากฏการณ์นี้เลย ดังนั้นนักวิจัยจึงตั้งสมมติฐานว่า แนวโน้มของบุคคลที่จะพึ่ง representativeness heuristic และความเอนเอียงทางประชานอื่น ๆ อาจจะข้ามได้เมื่อเจริญวัยขึ้น
วิธีแก้ปัญหาที่เป็นการป้องกันล่วงหน้าอย่างหนึ่งมาจากแนวคิดของนักจิตวิทยาเกสทอลต์ ผู้เสนอว่า เหตุผลวิบัติอาจจะกำจัดได้โดยการจัดกลุ่ม คือ เมื่อเหตุการณ์หนึ่งในอนาคต (เช่นการโยนเหรียญ) ปรากฏเป็นส่วนหนึ่งตามลำดับ ไม่ว่าจะมีความสุ่มแค่ไหน เราจะพิจารณาเหตุการณ์นั้นว่ามีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ในอดีตโดยอัตโนมัติ ทำให้เกิดเหตุผลวิบัติของนักการพนัน แต่เมื่อเราพิจารณาว่า เหตุการณ์ทุกเหตุการณ์ เป็นอิสระต่อกันและกัน เหตุผลวิบัตินี้จะมีการลดระดับไป ในงานทดลองแนวเกสทอลต์นี้ มีการบอกผู้ร่วมการทดลองว่า จะให้พนันการโยนเหรียญที่แบ่งออกเป็นสองชุด แต่ละชุดมีการโยน 6 ครั้ง หรือมีการโยน 7 ครั้ง การโยนเหรียญครั้งที่ 4 5 และ 6 ล้วนแต่เกิดผลเช่นกัน คือ หัว 3 ครั้ง หรือก้อย 3 ครั้ง ส่วนการโยนเหรียญครั้งที่ 7 มีการจัดกลุ่มเป็นท้ายสุดร่วมกับการโยนเหรียญชุดแรก (สำหรับกลุ่มที่พนันชุดที่มีการโยน 7 ครั้ง) หรือเป็นต้นสุดร่วมกับการโยนเหรียญชุดที่สอง (สำหรับกลุ่มที่พนันชุดที่มีการโยน 6 ครั้ง) ผู้ร่วมการทดลองมีเหตุผลวิบัตินี้ในระดับสูงสุดถ้าการโยนเหรียญครั้งที่ 7 จัดให้อยู่ท้ายสุดของชุดแรก ทันทีหลังจากลำดับของการออกหัวหรือก้อย 3 ครั้งต่อ ๆ กัน นอกจากนั้นแล้ว ยังมีการชี้ให้ผู้ร่วมการทดลองเข้าใจว่า เหตุผลวิบัตินี้ฝังลึกได้ขนาดไหน ผู้ร่วมการทดลองที่ไม่แสดงความเอนเอียงนี้ก็จะมีความมั่นใจน้อยลงในการแทง และทำการแทงน้อยครั้งกว่าผู้ร่วมการทดลองที่ปรากฏเหตุผลวิบัตินี้ แต่ว่า เมื่อการโยนเหรียญครั้งที่ 7 มีการจัดให้อยู่ร่วมกับชุดที่สอง (และดังนั้นผู้ร่วมการทดลองจึงไม่รู้สึกว่า เป็นส่วนของเหตุการณ์ที่เกิดต่อซ้ำ ๆ กัน) เหตุผลวิบัตินี้จะไม่เกิดขึ้น
นักวิจัยจึงเสนอว่า การแก้ปัญหานี้ก็คือ แทนที่จะสอนคนแต่ละคนเกี่ยวกับธรรมชาติของเหตุการณ์สุ่ม ควรจะสอนให้ปฏิบัติต่อเหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ว่าเป็นการเริ่มใหม่ ไม่ใช่เป็นการสืบต่อจากเหตุการณ์ก่อน ๆ นี้จะป้องกันไม่ให้ทำการพนันในเวลาที่กำลังเสียพนัน โดยมีความหวังลม ๆ แล้ง ๆ ว่า โอกาสที่จะชนะของตนใกล้ถึงกำหนดที่จะเพิ่มขึ้น
ดู
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 11th Edition. Springfield, Massachusetts, USA: Merriam-Webster, Inc. 2003.
ˌmän-tē-'kär- (ˌ)lō
- "How random is random on your music player?". BBC News. 2015-02-19.
- "What happened at Monte Carlo in 1913". Fallacy Files Blog.
- Gardner, Martin (1986). Entertaining Mathematical Puzzles. Courier Dover Publications. pp. 69–70. ISBN .
- Barron, Greg; Leider, Stephen (2010). "The role of experience in the Gambler's Fallacy". Journal of Behavioral Decision Making. 23 (1): 117–129. doi:10.1002/bdm.676. ISSN 0894-3257.
- Darling, David (2004). "Roulette". The Universal Book of Mathematics: From Abracadabra to Zeno's Paradoxes. John Wiley & Sons. p. 278. ISBN .
- Hahn, Ulrike; Warren, Paul A. (2009). "Perceptions of Randomness: Why Three Heads Are Better Than Four" (PDF). Psychological Review. American Psychological Association. 116 (2): 454–461. doi:10.1037/a0015241. สืบค้นเมื่อ 2014-08-16.
- O'Neill, B.; Puza, B.D. (2004). "Dice have no memories but I do: A defence of the reverse gambler's belief". Reprinted in abridged form as: O'Neill, B.; Puza, B.D. (2005). "In defence of the reverse gambler's belief". The Mathematical Scientist. 30 (1): 13–16. ISSN 0312-3685.
- Burns, Bruce D.; Corpus, Bryan (2004). "Randomness and inductions from streaks: "Gambler's fallacy" versus "hot hand"". Psychonomic Bulletin & Review. 11 (1): 179–184. doi:10.3758/BF03206480. ISSN 1069-9384.
- Tversky, Amos; Daniel Kahneman (1974). "Judgment under uncertainty: Heuristics and biases". Science. 185 (4157): 1124–1131. doi:10.1126/science.185.4157.1124. PMID 17835457.
- Tversky, Amos; Daniel Kahneman (1971). "Belief in the law of small numbers". Psychological Bulletin. 76 (2): 105–110. doi:10.1037/h0031322.
- Tune, G. S. (1964). "Response preferences: A review of some relevant literature". Psychological Bulletin. 61 (4): 286–302. doi:10.1037/h0048618. PMID 14140335.
- Gilovich, Thomas (1991). How we know what isn't so. New York: The Free Press. pp. 16–19. ISBN .
- Rogers, Paul (1998). "The cognitive psychology of lottery gambling: A theoretical review". Journal of Gambling Studies. 14 (2): 111–134. doi:10.1023/A:1023042708217. ISSN 1050-5350.
- Sundali, J.; Croson, R. (2006). "Biases in casino betting: The hot hand and the gambler's fallacy". Judgment and Decision Making. 1: 1–12.
- Keren, Gideon; Lewis, Charles (1994). "The Two Fallacies of Gamblers: Type I and Type II". Organizational Behavior and Human Decision Processes. 60 (1): 75–89. doi:10.1006/obhd.1994.1075. ISSN 0749-5978.
- Oppenheimer, D. M.; Monin, B. (2009). "The retrospective gambler's fallacy: Unlikely events, constructing the past, and multiple universes". Judgment and Decision Making. 4: 326–334.
- Ayton, P.; Fischer, I. (2004). "The hot-hand fallacy and the gambler's fallacy: Two faces of subjective randomness?". Memory and Cognition. 32: 1369–1378. doi:10.3758/bf03206327.
- Huber, J.; Kirchler, M.; Stockl, T. (2010). "The hot hand belief and the gambler's fallacy in investment decisions under risk". Theory and Decision. 68: 445–462. doi:10.1007/s11238-008-9106-2.
- Xue, G.; Lu, Z.; Levin, I. P.; Bechara, A. (2011). "An fMRI study of risk-taking following wins and losses: Implications for the gambler's fallacy". Human Brain Mapping. 32: 271–281. doi:10.1002/hbm.21015.
- Beach, L. R.; Swensson, R. G. (1967). "Instructions about randomness and run dependency in two-choice learning". Journal of Experimental Psychology. 75: 279–282. doi:10.1037/h0024979.
- Fischbein, E.; Schnarch, D. (1997). "The evolution with age of probabilistic, intuitively based misconceptions". Journal for Research in Mathematics Education. 28: 96–105. doi:10.2307/749665.
- Roney, C. J.; Trick, L. M. (2003). "Grouping and gambling: A gestalt approach to understanding the gambler's fallacy". Canadian Journal of Experimental Psychology. 57: 69–75. doi:10.1037/h0087414.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ehtuphlwibtikhxngnkkarphnn xngkvs gambler s fallacy hruxeriykxikxyanghnungwa ehtuphlwibtimxntikharol xngkvs Monte Carlo fallacy epnkhwamechuxphid wa thaehtukarnhnungekidkhunbxykwapktiinchwngewlahnung ehtukarnnnkcaekidkhunbxykhrngnxylnginxnakht hruxwa thaehtukarnhnungekidkhunnxykwapktiinchwngewlahnung ehtukarnnnkcaekidbxykhuninxnakht ephuxthicaihekidkarsmdulkn aetwathasingthiekidkhunepnehtukarnsum khuxepnkarlxngtamladbthiepnxisrathangsthiti statistical independent trial khxngkrabwnkarsum aemwakhwamechuxnicadungdudic aetkcaimepnkhwamcring ehtuphlwibtiniekidkhunidinsthankarncring makmay aetmkcamikarklawthungineruxngkhxngkarelnkarphnn ephraaepnehtuphlwibtithikhnelnkarphnnmiodysamy swnkhabyytiwa ehtuphlwibtimxntikharol mikaenidmacaktwxyangthimichuxesiyngkhxngehtuphlwibtini sungekidkhuninbxnkasionmxntikharolinpi kh s 1913karoynehriyykarcalxngkaroynehriyy inaetlaefrm camikaroynehriyythixxkaednghruxnaengin odycaephimkhaaennthibnthukiwinaetlakhang swnaephnphumirupwngklmcaaesdngxtraswnkhxngsiaedngethiybkbsinaengin thiekhaipikl 50 50 tamkdelkhcanwnmak hrux Law of Large Numbers aetwa canwnsiaedngaelasinaenginthnghmdcaimethakn 100 ehtuphlwibtikhxngnkkarphnncaehnidinkaroynehriyythismdul thiphlthixxkaetlakhrngcaepnxisrathangsthiticakknaelakn aelakhakhwamnacaepnkhxngkarxxkhwinaetlakhrngcaepn 1 2 khuxhnunginsxng phxdi dngnn khwamnacaepnkhxngkarxxkhwsxngkhrngtxknkcaepn 1 4 1 in 4 aelakhxngkarxxkhwsamkhrngtxknkcaepn 1 8 1 in 8 channthasmmutiwa Ai epnehtukarnthikaroynehriyykhrngthi i xxkhw erakcaid Pr i 1nAi i 1nPr Ai 12n displaystyle Pr left bigcap i 1 n A i right prod i 1 n Pr A i 1 over 2 n thatxnnierasmmutiwa ehriyyidxxkhwsikhrngtxknaelw aelakaroynehriyykhrngtxipkcaxxkhwechnkn kcaepnkarxxkhwtxknthung 5 khrng enuxngcakwa khwamnacaepnkhxngkarxxkhw 5 khrngtxknmikhaaekh 1 32 1 in 32 phuesiyngtxehtuphlwibtikhxngnkkarphnnxaccaechuxwa karoynehriyykhrngtxipmioxkascaxxkhwnxykwaxxkkxy aetcring aelw khwamkhidniimthuk aelaepnlksnapraktkhxngehtuphlwibtini khuxkhwamcringaelw karxxkhw 5 khrngtxkn hruxwakarxxkhw 4 khrngaelaxxkkxytxma mikhwamnacaepnetha kn khuxmikhathi 1 32 thaxxkhwmaaelw 4 khrng khwamnacaepnkhxngkarxxkhwinkhrngtxipkkhux Pr A5 A1 A2 A3 A4 Pr A5 12 displaystyle Pr left A 5 A 1 cap A 2 cap A 3 cap A 4 right Pr left A 5 right frac 1 2 aemwa karxxkhw 5 khrngtxknmikhwamnacaepnephiyng 1 32 0 03125 aetwa nnepnkhakhwamnacaepnkxnthicamikaroynehriyykhrngaerk aethlngcakthimikaroynehriyyma 4 khrngaelw phlthiidkepnsingthiruaelwekidkhunaelw cungmikhwamnacaepnkhux 1 ihsngektwa karkhidodyehtuphlthiimtrngkbkhwamcringwa mioxkasthikaroynehriyykhrngtxipcaxxkkxymakkwacaxxkhwodyxasyehtukarnthiekidkhunaelw ethakbbngwa ehtukarnthiekidkhunaelwinxditcamixiththiphltxkhwamnacaepnkhxngxnakht nnaehlakhuxehtuphlwibtikhxngnkkarphnnkhaxthibayxikxyanghnungerasamarthehncakwithikarkhangbnwa thaeraoynehriyy 21 khrng khwamnacaepnkhxngkarxxkhwthukkhrngcaepn 1 in 2 097 152 aetcring aelw khwamnacaepnkhxngkarxxkhw hlngcakkaroynehriyythixxkhwtx knthung 20 khrng kyngepnephiyngaekh 1 2 niepnkarprayuktich Bayes theorem khwamcringnisamarthehnidodyimtxngruwa mikarxxkhw 20 khrngtx kncring khuximtxngprayuktich Bayes theorem lxngphicarnathungkhwamnacaepnsxngxyangnikhux khwamnacaepnkhxngkarxxkhw 20 khrng aelwxxkkxy 0 520 0 5 0 521 khwamnacaepnkhxngkarxxkhw 20 khrng aelwxxkhw 0 520 0 5 0 521 sungkkhux khwamnacaepnthngsxngmikhaethaknthi 1 in 2 097 152 dngnn cungepnipidetha knthicaxxkhw 21 khrng hruxxxkhw 20 khrngaelwxxkkxy 1 khrng inkaroynehriyysmdul 21 khrng yingipkwann niepnkhakhwamnacaepnkhxngkaroynehriyy 21 khrngthiidphlhwkxyxyangxun thnghmd miphlthiepnipid 2 097 152 rupaebb cakkhxsngektechnni immiehtuphlthicaechuxwa ochkh hruxkhwamnacaepn caepliynipenuxngcakphlthiekidkhuninkhrngkxn ephraawa imwaeracaehnphlthiekidkhuninxditkdi imehnkdi khwamnacaepnkhxngkarxxkhwkxykhrngtxipkyngetha knxyu thaepnehriyysmdul dngnn ehmuxnkbthi Bayes theorem aesdngihehnaelw phlkhxngkaroynehriyyaetlakhrngkkhuxkhakhwamnacaepnphunthankhxngkaroynehriyysmdul sungkkhux 1 2 nnexngtwxyangxun inpraethsthiphuelnlxtetxrisamartheluxkebxrexngid phuelnbangthancaeluxkelkhediywknthuk khrng hruxwa cngiceluxkebxridebxrhnung aetkhwamcringaelw elkhthngsxngmioxkasethakninkarthukrangwlkhxngkarcbrangwlaetlakhrng nxkcaknnaelwkyngmikareluxkexaebxrthithukmakxnaelw sungcring kyngmioxkasthukethakbebxrxun xikehmuxnkn chann thacaeluxkebxrihsmehtuphlaelw khwrcaeluxkebxrthiimtrngkbthiphuxuneluxk echnebxrthita takwa 31 hruxyingkwanntakwa 12 mkcaepnthiniymephraakhnmkcaeluxkwnekidepn elkhnaochkh khxngtn dngnn thaelkhehlannthukrangwlcring khnthieluxkelkhediywknkcatxngaebngrangwlodyidetha kn mieruxngtlkthinkkhnitsastrelaephuxaesdngehtuphlwibtini khux michaykhnhnungkhunekhruxngbinodyphkraebidmadwythukkhrng ekhakhidwa oxkasthicamikhnexaraebidmakhunekhruxngbinminxymak dngnn oxkasthicamikhn 2 khnexaraebidmakhunekhruxngbinaethbcaimmiely mihnngsuxniyayeruxnghnungthiphraexkineruxngtdsiniccasuxbanhlngcakmiekhruxngbinlaelktklngisban odykhidwa oxkasthicamiekhruxngbinxiklahnungtkisbanhlngnnldlngaethbcaekuxbsunyehtuphlwibtiindantrngkhamthaekidkarxxkkxybxy nkkarphnnxaccakhidwa mieruxngehnuxthrrmchatixairxyangidxyanghnungechnochkhhruxphrhmlikhit thithaihxxkkxybxy cungimehnehtuphlthicaipaethnghw niepnehtuphlwibtiephraaechuxwa olkehmuxnkbcaekbkhwamcaxairbangxyang ekiywkbsingthiekidinxdit thisamarthepliynaeplngehtukarnthicaekidinxnakht aetwa caimepnehtuphlwibtithakhidepnehtuphlwa khwamonmnawipthangidthanghnung echninkarxxkkxy epnhlkthanwa ehriyyniimsmdul ehtuphlwibtixikxyanghnungthimibyytichuxwa inverse gambler s fallacy ehtuphlwibtiphkphnkhxngnkkarphnn hmaythungehtukarnthinkkarphnnehnkhnoynluketa 2 lukid 6 aetmthngsxngluk aelwsrupxyangphid wa khn nitxngoynluketamaepnewlananaelw ephraawa mioxkasnxythicaoynid 6 aetmthngsxngluk inkaroynkhrngaerk khxkhwrrawnginkarklawthungehtuphlwibtikhxngnkkarphnn catxngsmmutiwaehriyynnsmdul aetinolkcring khxsmmutinixaccaimtrngkbkhwamcring dngnn thaeraoynehriyysmdul 21 khrng khwamnacaepnkhxngkarxxkhwtxkb 21 khrngkcaepn 1 in 2 097 152 dngthiklawmakxnaelw aelathaehriyynnsmdulcring khwamnacaepnkhxngkarxxkhwinkaroynkhrngtxipkcaepn 1 2 aetwa thaeraimrukhwamnacaepncring khxngkarxxkhwkxy kxacepnipidwa mixiththiphlxairbangxyangthithaihehriyyxxkhwtx kn echnxaccamikarbngkhbdwyaemehlkepntn inkrnini hlkthanaesdngwa mikhwamexnexiyngthiehriyynicaxxkhw khdkhankhxsmmutithw ipwaehriyymikhwamsmdul dngnn karaethnghwkcaepnsingthismkhwrkarkhlxdluktwxyangkhxngehtuphlwibtikhxngnkkarphnnineruxngkhxngkarkhlxdluk ehniderimtngaet kh s 1796 khuxpiaeyr simng laplsidekhiynwithithikhunphxkhanwnkhwamnacaepnthicaidlukchayiwwa phmidehnchaythixyakcaidlukchaymak phucarbkhawxyangwitkkngwlekiywkbkarekidkhxngedkchayineduxnthitnexngkhadwa caepnkhunphx odycintnakarwa xtraswnkarekidkhxngedkphuchay khwrcaethakbkhxngedkphuhyingodysineduxn khux idtdsinwa edkchaythiekidaelw cathaihkhwamnacaepnkhxngkarekidkhxngedkhyingtx ipephimkhun cak A Philosophical Essay on Probabilities sungodyyxkkhux khunphxinxnakhtklwwa thamitharkchayekidkhuninchumchnrxb kcathaihtnmioxkasthicaidluksawephimkhun swnxnakhtkhunphxkhunaembangphwkechuxwa hlngcakthimilukephsediywknmahlaykhnaelw kcathungkahndthicamilukephstrngknkhambang aemwacamithvsdi Trivers Willard hypothesis thiphyakrnwa ephskhxngedkthiekid khunxyukbsphaphkhwamepnxyu khuxedkchaycaekidinsphaphkhwamepnxyuthidimakkwa aelaedkhyingcaekidinsphaphkhwamepnxyuthiimdimakkwa aetnkwithyasastrodythw ipyngphicarnakhwamnacaepnkhxngephsedkthiekidwa ekuxbcaethakntwxyangthimxntikharoltwxyangthimichuxesiyngthisudkhxngehtuphlwibtinkkarphnn ekidkhuninkarelnrueltt thikasionmxntikharolinpraethsomnaok emuxwnthi 18 singhakhm ph s 2456 emuxlukrueltttklnginchxngdathung 26 khrngtx kn sungepnehtukarnthi imsamyxyangying aemwa cring aelw ksamyethakbladbkartklngchxngtang kn 26 khrngthimithung 67 108 863 rupaebbxun inehtukarnni nkkarphnnesiythrphyepnlan frngk rupaebbenginkhxngpraethsfrngessinewlann odyaethngtrngkhamkbsida odymiehtuphlthiphidphladwa ladbtkchxngdathiekidtx knaelwnnkx khwamimsmdul ihkblxrueltt ephraachann catxngmiladbtkchxngaedngtx matwxyangethiymmisthankarnhlayrupaebbthiehtuphlwibtikhxngnkkarphnnduehmuxncaepneruxngtrngpraedn aetwacring aelwimtrng twxyangaerkkkhux inkartrwcdukraaeskhxmulbitsum karphbbit 110 caerwkwakarphb 111 ephuxthicathakhwamekhaic duaephnphaphsthanasxngaephntamipdwy saysahrbbit 111 khwasahrbbit 110 thaphb 11 aelw wngthisam karid 1 hrux 0 txcaknnmikhwamnacaepnetha kn aettha 0 epnbittxma bit 111 catxngrx 1 xik 3 twcungcacb aettha 1 epnbittxma bit 110 catxngrx 0 xiktwediywcungcacb dngnn aemwaehtukarnsuminxditcaimsamarthkahndehtukarnsuminxnakht ladbkarekidkhunbangxyangxaccaphbiderwkwaladbxun twxyangniihkhwamekhaicwa thaimladbthimirupaebbyingkwa echn 111 mioxkasekidkhunnxykwainsayxkkhrathiyawaetmikahnd khuximichsaythiimmithisinsud aelathaiminehriyysmdulthixxkhw h aelakxy k etha kn odytrngkbprasbkarnkhxngera karekidkhunkhxng hhhk mikhwamnacaepnmakkwa hhhh aetwacaimmakkwathaehn hhh aelw nxkcaknnaelw ehtuphlwibtikhxngnkkarphnnprayuktichimidemuxkhwamnacaepnkhxngehtukarnaetlaxyangimmikhwamxisrathangsthiticakknaelakn sungkkhux khwamnacaepnkhxngehtukarninxnakhtxacepliynipidkhunxyukbwamixairekidkhuninxdit du kareriyngsbepliyn odyrupnyaelw camikarbngrabbechnniwa mikhwamca twxyangngay xyanghnungkkhux iphthicwxxkcaksarbiphodyimidetimaethnihetm echn thamikarcwexsxxkcaksarbodyimidkhun karcwkhrngtxipmioxkasthicaidexsnxykwathicaidiphebxrxun khux thasmmtiwa epniphibaerkthicw aelaimmiiphock khwamnacaepnthicacwidexs caldlngcak 4 52 7 69 ipyng 3 51 5 88 inkhnathikhwamnacaepninkarcwidiphebxrxun caephimcak 4 52 7 69 epn 4 51 7 84 niepnpraktkarnthisamarththaihnbiph ephuxichinkarkhanwnkhwamnacaepn inkarelniphbangxyangid echn twxyangethiym emuximthrabkhwamnacaepn thakhwamnacaepnkhxngehtukarnthiekidkhunsaknepneruxngthiimthrab phlthiepnipidthuk xyangxacmioxkasekidkhunimethakn echninkrnithioynehriyy thakarxxkhwyingtidtxknnanethair khwamepnipidwaehriyynnmikhwamexnexiyngthicaxxkhwkephimkhunethann thaeraoynehriyy 21 khrngaelwxxkhwthng 21 khrng eraksamarthcasrupidxyangsmehtusmphlwa mikhwamnacaepnradbsungthiehriyyniexnexiyngipinkarxxkhw aeladngnnkcasrupidwa karoynehriyykhrng txipmioxkassungthicaxxkhwxikechnkn cringxyangnn emuximruxtraswnkhxngphlthicaekidkhun inladbehtukarn echnkaroynehriyy inrayayaw aetthasamarthxnumanich Bayesian inference odyaesdngwa khwamexnexiyngthicaekidkhunmioxkasetha knthicaepnipthangdanihnkid aelaaesdngwa phlthipraktinehtukarnkhrngkxn idaesdngdanthinacamikhwamexnexiyng dngnn phlthimioxkascaekidkhunmakthisudkkhuxkhasngektinkhxmulthiekidkhunaelwbxythisudkarthangankhxngcitthiepnthankhxngehtuphlwibtiaehlngkaenid ehtuphlwibtiekidkhuncakkarwangnythwiperwekinip sungkkhuxkhwamechuxthiphidphladwa twxyangthiminxysamarthepntwaethnkhxngprachakrklumthiihykwaid khux tamehtuphlwibtini ladbkarekidehtukarnthiekidchatx kncatxngepliynipxikdan ephuxthicamilksnaepntwaethnehtukarnthiekidkhunodyrwm id inpi kh s 1971 aelaaedeniyl khahnamn esnxepnkhrngaerkwa ehtuphlwibtikhxngnkkarphnnepnkhwamexnexiyngthangprachanthiekidkhuncakhiwristikthieriykwa representativeness heuristic hiwristikodykhwamepntwaethn sungepnthvsdithiesnxwa erapraeminkhwamnacaepnkhxngehtukarnbangxyangodypraeminwaehmuxnkbehtukarnthiekhyprasbmakxnaekhihn odymummxngni hlngcakthilukrueltttklnginchxngaednginlxrueltttx knepnladbyaw khnodymakechuxxyangphid wa kartklnginhlumdatxipcathaihepnladbthiepntwaethn khxngehtukarnsum thidikwakartklnginhlumaedng dngnn mnusycahwngwa phlsuminladbthisn khwrcamilksnathikhlay knkbladbthiyaw sungkkhux khwamtangxxkipcaklksnaechliy khwrthicamikarprbihsmdul emuxmikarihphurwmkarthdlxngsrangladbthikhlaykbladbsumkhxngkaroynehriyy phurwmkarthdlxngmkcathaladbthixtraswnkhxngkarxxkhwaelakxyiklkbkha 0 5 inladbsn kwathicapraktinladbsumcring sungepnkhwamexnexiyngthieriykwa khwamdantxkhnadtwxyang hrux insensitivity to sample size khahnamnaelathewxrskitikhwampraktkarnechnniwa eraechuxwaladbsn khxngehtukarnsumkhwrcaehmuxnkbladbyaw mikarichhiwristikodykhwamepntwaethnepnkhaxthibaytxpraktkarnthikhlay knkhux karaeplkarcbklumphid clustering illusion thieraehnladbtx knkhxngehtukarnsumwaimichekidcakkhwamsum thng thikhwamcringaelw ladbthimilksnaxyangnn mioxkasthicaekidkhunemuxmikhnadtwxyangthinxy makkwathierakhadkhid khwamexnexiyngkhxngnkkarphnnxaccaepnehtukhxngkhwamechuxphid wa karphnn hruxaemaetkhwamsumexng epnkrabwnkarthiyutithrrmsmaesmx thicaekidkarprbkhunemuxmiladbsatx kn sungepnkhwamechuxthieriykwa smmutithanolkyutithrrm just world hypothesis minkwichakarxun thiechuxwa bukhkhlthimiolkhskhwbkhumphayin internal locus of control sungkkhuxphuthiechuxwaphlkarphnnepnphlcakthksakhwamsamarthkhxngtn camioxkasesiyngtxkhwamexnexiyngkhxngnkkarphnnmakkwa ephraawa khnehlanncaptiesthixediywa karekidodysumsamarthexachytxthksakhwamsamarthhruxphrswrrkhid aebbxun nkwichakarbangphwkechuxwa khwamexnexiyngniaebngxxkepn 2 praephth khux aebb 1 aela aebb 2 aebbhnungepnaebbkhlassik emuxbukhkhlechuxwa phlbangxyangthungkahndthicaekidkhunhlngcakmiladbkarekidsa tx knkhxngphlxyangxun aebbthisxngidrbkarkahndcaknkwichakarxiklumhnung Gideon Keren and Charles Lewis thiekidkhunemuxnkkarphnnpraemincanwnkarsngektkarnthicaepntxngmi ephuxthicatrwccbphlthimixtrakarekidsungkwaid echn karsngektlxruelttepnrayaewlahnung aelwtdsinebxrhlumthilukrueltttklngbxythisud khux karcatrwccbkhwamexnexiyngthithaihekidphlthimixtraekidsungkwaidcring catxngxasykarsngektehtukarnepncanwnmakkwathipkticathaknid epneruxngthithaidyakthacathaidcring dngnn eracungtkepnehyuxkhxngkhwamexnexiyngpraephththi 2 khwamaetktangrahwangsxngaebbkhxngkhwamexnexiyngkkhux aebbaerkmikhxsmmutithiphid wa sthankarnaelakrabwnkartang epnipxyangyutithrrmaelasmburn inkhnathiaebbsxngmikhxsmmutiwa thamiphlthimikhwamexnexiyng khwamexnexiyngnicasamarthtrwccbidphayinchwrayaewla snekinkhwamcring hnung inxikrupaebbhnungthieriykwa ehtuphlwibtiyxnhlngkhxngnkkarphnn retrospective gambler s fallacy ekidkhun emuxeratdsinwa ehtukarnhnungthiduehmuxnkbcaekidimbxy txngekidkhuninladbehtukarnthiyawnankwaehtukarnthiduehmuxncasamykwa yktwxyangechn thaehnkaroynluketa 3 lukid 6 aetmthngsamluk eracaechuxwa karoynluketatx kntxngepnipaelwyawnanthung 3 ethakwathaehnluketaoynid 6 aetmsxngluk praktkarnnicaphbidthngemuxmikarsngektkarnepnkhrng hruxaemepnladb twxyangcring kkhuxwa emuxedkwyrunekidtngkhrrphephraamiephssmphnththiimidpxngkn eramkcamikhxsmmtiwa ethxidmiephssmphnththiimidpxngkn mayawnankwaphuthimiephssmphnththiimidpxngknaetyngimtngkhrrph khwamsmphnthkb hot hand fallacy swnxikmummxnghnungthangcitwithyaesnxwa ehtuphlwibtinisamarthehnepnkhukhxngkhwamehnwibtiodymuxkhun hot hand fallacy thiphbinkilabasektbxl thiphuchmmkcaphyakrnphltamehtukarnsudthaythiekidkhun positive recency khux nkkilahruxthimthiphungidaetm kcaidaetmtxip aetinehtuphlwibtikhxngnkkarphnn eraphyakrnphltrngkhamkbehtukarnsudthay negative recency echn ephraalukruelttidtklnginchxngda 6 khrngsudthay mnthungkahndthicatklnginchxngaedngtx ip nkwichakarklumhnungtngsmmtithanwa eraphyakrnphlbwktamehtukarnsudthayenuxngkbehtuphlwibtiodymuxkhun kephraawa epneruxngekiywkbsmrrthphaphkhxngmnusy inkhnaediywkn eraimechuxwasingimmichiwitcaekidkhwam khun id dngnncungphyakrnphltrngkhamehtukarnsudthayenuxngkbehtuphlwibtikhxngnkkarphnn khux eraimrusukwa smrrthphaphmnusyepneruxngsum dngnn eracungkhidwa mnusycathaihekidladbsa ephraaeraechuxwa krabwnkarthithaihekidphlimichepneruxngsum aetwa nkwichakarphbwa emuxeramiehtuphlwibtikhxngnkkarphnn praktkwa eramioxkasmakkwathicamiehtuphlwibtiodymuxkhundwy sungbxkepnnywa krabwnkarcitwithyaxnediywkn epnaehlngkaenidkhxngehtuphlwibtithngsxngxyang khwamaetktangrahwangehtuphlwibtithngsxngkphbdwyinkartdsinicthangesrsthkic minganwicyinpi kh s 2010 thitrwcsxbehtuphlwibtithngsxngodyxxkaebbkarthdlxngeliynaebbtladkarengin mikarihphurwmkarthdlxngthangeluxksamthang khuxihaethngphlkhxngkaroynehriyytamladbexng ihaethngodyichkhwamehnkhxng phuechiywchay thimiprawtisum hruxiheluxkexakarlngthunthiirkhwamesiyngaetidphlkairthinxykwa miphurwmkarthdlxng 24 thieluxkichkhwamehnkhxngphuechiywchay odyeluxkphuechiywchaythimiprawtikhwamsaercthimuxkalngkhun thaphuechiywchayihkhaaenanathuk 78 khxngphurwmkarthdlxngcaeluxkichkhwamehnphuechiywchayxik ethiybkb 57 thaphuechiywchayihkhaaenanaphid inkarthdlxngni phurwmkarthdlxngpraktehtuphlwibtikhxngnkkarphnndwy khuxkareluxkimwacaepnhwhruxkxy caldlng thasngektehnkarekidsa knkhxngphlechnnn phlkarthdlxngnisnbsnunthvsdiwa mnusyihnahnkkbsmrrthphaphmnusy makkwaihkbkrabwnkarthiepnipodysum thng thicring aelwidphlsumehmuxnkn srirphaphthangprasath aemwa nkcitwithyacathuxexawa representativeness heuristic aelakhwamexnexiyngthangprachanpraephthxun epnehtukhxngehtuphlwibtikhxngnkkarphnnbxykhrngthisud aetkminganwicythiesnxwa mixngkhprakxbthangprasaththiepnehtudwy khuxmikarphbodyichkarsrangphaphsmxngody fMRI wa hlngcakesiykarphnn ekhruxkhayprasathinklibkhmbdanhna frontoparietal network caekidkarthangan sungthaihekidphvtikrrmthiesiyngyingkhun aelamikarthanganthildradblnginxamikdala caudate nucleus aela ventral striatum sungepnswnkhxng aetkarthangankhxngxamikdalannmishsmphnthechinglbkbehtuphlwibtikhxngnkkarphnn khuxyingmikarthanganephimkhunethair bukhkhlnnmioxkasthicatkepnehyuxkhxngehtuphlwibtinxylngethann phlkarthdlxngbxkepnnywa ehtuphlwibtinixasykarthangankhxngkhxrethksklibhnaphakswnhna prefrontal cortex makkwa epnekhtsungmihnathiekiywkb executive functions aelakrabwnkarmicudmunghmay goal directed processes aelaxasyekhtsmxngthikhwbkhumkartdsinicthangxarmn mixamikdalaepntn nxykwa khwamtxngkarthicaelnphnntxipmikarkhwbkhumodyekhtsmxng striatum sungepnswnkhxng basal ganglia sungmihnathixupthmphkareriynruaebbkhunxyukbkareluxkkrathaaelaphlthiid choice outcome contingency learning khux striatum capramwlkhwamphidphladkhxngkarphyakrn aelacathaihekidkarepliynphvtikrrm hlngcakkarchna phvtikrrmcaekidkaresrimkalng aelahlngcakkaraeph phvtikrrmcamikarprbphawaihmikarhlikeliyng inbukhkhlthipraktehtuphlwibtikhxngnkkarphnn rabbkareriynruaebbnicamikhwamesiyhay aelaphuelncamiphvtikrrmesiyngtx ipaemwacaaephtx knmaepnladbaelw karaekpyha enuxngcakehtuphlwibtiniepnkhwamexnexiyngthangprachanthifngaenn dngnnkarkacdcungepneruxngyakmak odythwipaelw karihkhxmulekiywkbthrrmchatikhxngehtukarnsum immiphltxkarldkalnghruxkacdkhwamexnexiyngni innganwicyyukhtn inpi kh s 1967 mikarichiphsbthiaesdngruprangephuxihphurwmkarthdlxngedawa cacwidrupihninladbtxip mikarihkhxmulkbklumthdlxngekiywkbthrrmchatiaelakhwamekidkhunkhxngehtuphlwibtikhxngnkkarphnn aelamikarbxkimihphungladbthiphanmaaelw inkaredaruprangthicacwid swnklumkhwbkhumimidrbkhxmulni thungkrann sitlkaredakhxngklumthngsxngnnkhlaykn sungbngwaklumthdlxngkyngeluxkxasyladbthiphanmaaelw cungpraktchdwa karihkhxmuleruxngehtukarnsum imephiyngphxinkarldradbehtuphlwibtikhxngnkkarphnn khwamesiyngtxehtuphlwibtikhxngnkkarphnnduehmuxncaldlngtamxayu inpi kh s 1997 mikarihkhn 5 klumtxbkhatham khuxnkeriyn p 5 m 1 m 3 m 5 aelanksuksamhawithyalythisuksaephuxepnkhrusxnkhnitsastr phurwmkarthdlxngthng 5 klumimekhyeriynruekiywkberuxngkhwamnacaepnmakxn khathamkhux rxnnioynehriyy 3 khrngaelaxxkhwthng 3 khrng rxnnitngiccaoynehriyyxik mioxkasethairthicaxxkhwepnkhrngthi 4 phlaesdngwa emuxnkeriynecriywykhun mioxkasnxylngthicaihkhatxbwa nxykwaoxkasthicaxxkkxy sungepnkhatxbphidthiaesdngkhwamexnexiyngni 35 khxngnkeriyn p 5 35 khxngnkeriyn m 1 aela 20 khxngnkeriyn m 3 ihkhatxbthiphid aetmi 10 khxngnkeriyn m 5 ethannthiihkhatxbthiphid aelanksuksamhawithyalykimaesdngpraktkarnniely dngnnnkwicycungtngsmmtithanwa aenwonmkhxngbukhkhlthicaphung representativeness heuristic aelakhwamexnexiyngthangprachanxun xaccakhamidemuxecriywykhun withiaekpyhathiepnkarpxngknlwnghnaxyanghnungmacakaenwkhidkhxngnkcitwithyaeksthxlt phuesnxwa ehtuphlwibtixaccakacdidodykarcdklum khux emuxehtukarnhnunginxnakht echnkaroynehriyy praktepnswnhnungtamladb imwacamikhwamsumaekhihn eracaphicarnaehtukarnnnwamikhwamsmphnthkbehtukarninxditodyxtonmti thaihekidehtuphlwibtikhxngnkkarphnn aetemuxeraphicarnawa ehtukarnthukehtukarn epnxisratxknaelakn ehtuphlwibtinicamikarldradbip innganthdlxngaenweksthxltni mikarbxkphurwmkarthdlxngwa caihphnnkaroynehriyythiaebngxxkepnsxngchud aetlachudmikaroyn 6 khrng hruxmikaroyn 7 khrng karoynehriyykhrngthi 4 5 aela 6 lwnaetekidphlechnkn khux hw 3 khrng hruxkxy 3 khrng swnkaroynehriyykhrngthi 7 mikarcdklumepnthaysudrwmkbkaroynehriyychudaerk sahrbklumthiphnnchudthimikaroyn 7 khrng hruxepntnsudrwmkbkaroynehriyychudthisxng sahrbklumthiphnnchudthimikaroyn 6 khrng phurwmkarthdlxngmiehtuphlwibtiniinradbsungsudthakaroynehriyykhrngthi 7 cdihxyuthaysudkhxngchudaerk thnthihlngcakladbkhxngkarxxkhwhruxkxy 3 khrngtx kn nxkcaknnaelw yngmikarchiihphurwmkarthdlxngekhaicwa ehtuphlwibtinifnglukidkhnadihn phurwmkarthdlxngthiimaesdngkhwamexnexiyngnikcamikhwammnicnxylnginkaraethng aelathakaraethngnxykhrngkwaphurwmkarthdlxngthipraktehtuphlwibtini aetwa emuxkaroynehriyykhrngthi 7 mikarcdihxyurwmkbchudthisxng aeladngnnphurwmkarthdlxngcungimrusukwa epnswnkhxngehtukarnthiekidtxsa kn ehtuphlwibtinicaimekidkhun nkwicycungesnxwa karaekpyhanikkhux aethnthicasxnkhnaetlakhnekiywkbthrrmchatikhxngehtukarnsum khwrcasxnihptibtitxehtukarnaetlaehtukarnwaepnkarerimihm imichepnkarsubtxcakehtukarnkxn nicapxngknimihthakarphnninewlathikalngesiyphnn odymikhwamhwnglm aelng wa oxkasthicachnakhxngtniklthungkahndthicaephimkhunduhiwristikodykhwamekhathungidngayechingxrrthaelaxangxingMerriam Webster Collegiate Dictionary 11th Edition Springfield Massachusetts USA Merriam Webster Inc 2003 ˌman te kar ˌ lō How random is random on your music player BBC News 2015 02 19 What happened at Monte Carlo in 1913 Fallacy Files Blog Gardner Martin 1986 Entertaining Mathematical Puzzles Courier Dover Publications pp 69 70 ISBN 978 0 486 25211 7 Barron Greg Leider Stephen 2010 The role of experience in the Gambler s Fallacy Journal of Behavioral Decision Making 23 1 117 129 doi 10 1002 bdm 676 ISSN 0894 3257 Darling David 2004 Roulette The Universal Book of Mathematics From Abracadabra to Zeno s Paradoxes John Wiley amp Sons p 278 ISBN 978 0 471 27047 8 Hahn Ulrike Warren Paul A 2009 Perceptions of Randomness Why Three Heads Are Better Than Four PDF Psychological Review American Psychological Association 116 2 454 461 doi 10 1037 a0015241 subkhnemux 2014 08 16 O Neill B Puza B D 2004 Dice have no memories but I do A defence of the reverse gambler s belief Reprinted in abridged form as O Neill B Puza B D 2005 In defence of the reverse gambler s belief The Mathematical Scientist 30 1 13 16 ISSN 0312 3685 Burns Bruce D Corpus Bryan 2004 Randomness and inductions from streaks Gambler s fallacy versus hot hand Psychonomic Bulletin amp Review 11 1 179 184 doi 10 3758 BF03206480 ISSN 1069 9384 Tversky Amos Daniel Kahneman 1974 Judgment under uncertainty Heuristics and biases Science 185 4157 1124 1131 doi 10 1126 science 185 4157 1124 PMID 17835457 Tversky Amos Daniel Kahneman 1971 Belief in the law of small numbers Psychological Bulletin 76 2 105 110 doi 10 1037 h0031322 Tune G S 1964 Response preferences A review of some relevant literature Psychological Bulletin 61 4 286 302 doi 10 1037 h0048618 PMID 14140335 Gilovich Thomas 1991 How we know what isn t so New York The Free Press pp 16 19 ISBN 0 02 911706 2 Rogers Paul 1998 The cognitive psychology of lottery gambling A theoretical review Journal of Gambling Studies 14 2 111 134 doi 10 1023 A 1023042708217 ISSN 1050 5350 Sundali J Croson R 2006 Biases in casino betting The hot hand and the gambler s fallacy Judgment and Decision Making 1 1 12 Keren Gideon Lewis Charles 1994 The Two Fallacies of Gamblers Type I and Type II Organizational Behavior and Human Decision Processes 60 1 75 89 doi 10 1006 obhd 1994 1075 ISSN 0749 5978 Oppenheimer D M Monin B 2009 The retrospective gambler s fallacy Unlikely events constructing the past and multiple universes Judgment and Decision Making 4 326 334 Ayton P Fischer I 2004 The hot hand fallacy and the gambler s fallacy Two faces of subjective randomness Memory and Cognition 32 1369 1378 doi 10 3758 bf03206327 Huber J Kirchler M Stockl T 2010 The hot hand belief and the gambler s fallacy in investment decisions under risk Theory and Decision 68 445 462 doi 10 1007 s11238 008 9106 2 Xue G Lu Z Levin I P Bechara A 2011 An fMRI study of risk taking following wins and losses Implications for the gambler s fallacy Human Brain Mapping 32 271 281 doi 10 1002 hbm 21015 Beach L R Swensson R G 1967 Instructions about randomness and run dependency in two choice learning Journal of Experimental Psychology 75 279 282 doi 10 1037 h0024979 Fischbein E Schnarch D 1997 The evolution with age of probabilistic intuitively based misconceptions Journal for Research in Mathematics Education 28 96 105 doi 10 2307 749665 Roney C J Trick L M 2003 Grouping and gambling A gestalt approach to understanding the gambler s fallacy Canadian Journal of Experimental Psychology 57 69 75 doi 10 1037 h0087414