วิสุทธิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด ในศาสนาพุทธกล่าวถึง วิสุทธิ 7 ซึ่งหมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการชำระให้บริสุทธิ์ ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่าไตรสิกขา ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือนิพพาน มี 7 ขั้น คือ
- ศีลวิสุทธิ หรือ ความหมดจดแห่งศีล คือ การถือศีลอย่างไม่งมงาย ละสีลัพพตปรามาส ด้วยการมีศรัทธาพละสมดุลกับปัญญาพละ ไม่ศรัทธาจนถืออย่างไม่เข้าใจ หรือมีปัญญามาก เกิดความลังเลสงสัย ได้แต่ถือแต่ใจกลับไม่มีศรัทธา เพราะสติสมบูรณ์ด้วย 4 จึงทำให้ศรัทธาพละและปัญญาพละสมดุลกัน ด้วยการประพฤติศีลและวัตร เพราะพิจารณาก่อนทำเห็นว่าเป็นประโยชน์ ไม่มีโทษ (สาตถกสัมปชัญญะ), พิจารณาประเมินหลังทำเสร็จว่าเหมาะสม ควรทำต่อไป (สัปปายสัมปชัญญะ) ,ใส่ใจจดจ่อขณะทำว่าเป็นกิจหน้าที่ ที่ต้องรักษา (โคจรสัมปชัญญะ) และไม่หลงลืมพลั้งเผลอ จดจำลำดับขั้นตอนในสิ่งที่ต้องทำได้ไม่ผิดพลาด (อสัมโมหสัมปชัญญะ)
เพราะการรักษาศีลให้บริสุทธิ์ ตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ สมาธิกับวิปัสสนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงปาริสุทธิศีล 4 ซึ่งหมายถึง ความประพฤติบริสุทธิ์ที่จัดเป็นศีล มีสี่ข้อ ได้แก่
- ปาฏิโมกขสังวรศีล หมายถึง ศีลคือความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม และทำตามข้ออนุญาต ตลอดจนประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบท (คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ในพระไตรปิฎกนั่นเอง)
- อินทรียสังวรศีล หมายถึง ศีลคือความสำรวมอินทรีย์6 ระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นได้ ในขณะที่รับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
- อาชีวปาริสุทธิศีล หมายถึง ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีพในทางที่ชอบธรรม
- ปัจจัยสันนิสิตศีล หมายถึง ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอยปัจจัย ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วยตัณหา เช่น ไม่บริโภคด้วยความอยากรับประทาน ไม่บริโภคด้วยความอยากใช้สอย
- จิตตวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งจิต คือ จิตที่สมดุล เพราะวิริยะพละเสมอกับสมาธิพละ ทำให้วิริยะก็สมดุล สมาธิก็สมดุล เป็นปัจจัยให้สติกำหนดรู้อยู่ในปัจจุบันขณะได้อย่างพอดี รู้จักอิริยาบถที่ปิดบังทุกขลักษณะ ไม่ไปในอนาคตเพราะวิริยะมีมาก ไม่อยู่ในอดีตเพราะสมาธิมีกำลังมากไป เป็นการฝึกอบรมจิตจนบังเกิดอัปปนาสมาธิ(หรือฌาน)ที่ปราศจากนิวรณ์ เพราะสติต่อเนื่องจนนิวรณ์ไม่สามารถเข้าแทรกในจิตได้ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญ ทำให้เจริญวิปัสสนาได้ง่าย
- ทิฏฐิวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งทิฏฐิ คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็นนามรูปตามสภาวะที่เป็นจริง เห็นรูปธาตุและนามธาตุเป็นคนละธาตุกันอย่างชัดเจน แม้กระทั่งทางกาย เช่น เจ็บ ปวด เมื่อย ชา คัน ที่ปกติจะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ก็ยังสามารถจะรู้ได้ว่านี่คือเวทนา นี่คือโผฏฐัพพะหรือผัสสะทางกาย จนเห็นว่าขันธ์ 5 นี่ทั้งของเราและผู้อื่นล้วนเสมอกันเป็นแต่เพียงแค่รูปนามมาประชุมกันขึ้นหาได้มีตัวตนไม่ สักแต่ว่าเป็นธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น รู้จักฆนะสัญญาที่ปิดบังอนัตตลักษณะ คือเป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าขันธ์นี้เป็นตัวตนของเรา( )ลงเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
- กังขาวิตรณวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย( )ว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัยทั้งสิ้น รู้จักสันตติที่ปิดบังอนิจจลักษณะ เห็นลำดับขั้นการเกิดทุกข์ของจิต เห็นปฏิจจสมุปบาทสายเกิดหรืออนุโลม
- มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง จิตรับรู้ถึงกระแสแห่งไตรลักษณ์ได้
- ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน (วิปัสสนาญาณ 9) รู้ทุกขอริยสัจจ์ รู้สมุทัยอริยสัจจ์ รู้นิโรธอริยสัจจ์ รู้มรรคอริยสัจจ์ทั้ง๘ และพิจารณาทั้งสิ้นพร้อมกัน (สามัคคีธรรม) เมื่อถึงสัจจานุโลมิกญาณ คือหมุนธรรมจักรทั้ง๘ และพิจารณาดุจผู้พิพากษาพิจารณาเหตุทั้งสิ้น
- ญาณทัสสนวิสุทธิ หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือการปฏิบัติบริบูรณ์จนก้าวผ่านภูมิจิตเดิมคือโคตรภูญาณและวิทานะญาณ ได้ความรู้แจ้งในอริยมรรค หรือมรรคญาณ ความบรรลุเป็นอริยบุคคลหรือผลญาณ พิจารณาธรรมที่ได้บรรลุแล้วคือปัจจเวกขณะญาณ ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
วิสุทธิ 7 กับ วิปัสสนาญาณ
วิสุทธิ 7 เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพาน เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา ดังบรรยายในรถวินีตสูตร (พระสูตรหนึ่งในพระไตรปิฎกภาษาบาลี) เปรียบวิสุทธิ 7 ว่าเสมือนรถเจ็ดผลัด ส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมาย สามารถเปรียบเทียบ ไตรสิกขา, วิสุทธิ 7, ญาณ 16 , ปาริสุทธิศีล 4 และสมาธิ ได้ดังนี้
- อธิศีลสิกขา
ศีลวิสุทธิ
- 1.ปาฏิโมกขสังวรศีล
- 2.อินทรียสังวรศีล
- 3.อาชีวปาริสุทธิศีล
- 4.ปัจจัยสันนิสิตศีล
- อธิจิตตสิกขา
จิตตวิสุทธิ
- -อุปจารสมาธิ
- -อัปปนาสมาธิ ในฌานสมาบัติ
- อธิปัญญาสิกขา
ทิฏฐิวิสุทธิ
- 1.นามรูปปริจเฉทญาณ
กังขาวิตรณวิสุทธิ
- 2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ
มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
- 3.สัมมสนญาณ
ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
- 4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ
- 5.ภังคานุปัสสนาญาณ
- 6.ภยตูปัฏฐานญาณ
- 7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ
- 8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ
- 9.มุจจิตุกัมยตาญาณ
- 10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
- 11.สังขารุเบกขาญาณ
- 12.สัจจานุโลมิกญาณ
ญาณทัสสนวิสุทธิ
- 13.โคตรภูญาณ
- 14.มัคคญาณ
- 15.ผลญาณ
- 16.ปัจจเวกขณญาณ
อ้างอิง
- รถวินีตสูตร จากพระไตรปิฎก (ภาษาไทย)
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม".
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wisuththi hmaythung khwambrisuththi khwamhmdcd insasnaphuththklawthung wisuththi 7 sunghmaythung khwambrisuththithisungkhuniptamladb epnkarcharaihbrisuththi dwykarfukfntnexngthieriykwaitrsikkha ipodyladb cnbrrlucudmunghmaykhuxniphphan mi 7 khn khux silwisuththi hrux khwamhmdcdaehngsil khux karthuxsilxyangimngmngay lasilphphtpramas dwykarmisrththaphlasmdulkbpyyaphla imsrththacnthuxxyangimekhaic hruxmipyyamak ekidkhwamlngelsngsy idaetthuxaeticklbimmisrththa ephraastismburndwy 4 cungthaihsrththaphlaaelapyyaphlasmdulkn dwykarpraphvtisilaelawtr ephraaphicarnakxnthaehnwaepnpraoychn immioths satthksmpchyya phicarnapraeminhlngthaesrcwaehmaasm khwrthatxip sppaysmpchyya isiccdcxkhnathawaepnkichnathi thitxngrksa okhcrsmpchyya aelaimhlnglumphlngephlx cdcaladbkhntxninsingthitxngthaidimphidphlad xsmomhsmpchyya ephraakarrksasilihbrisuththi tngicrksa thaihsamarthptibti smathikbwipssnaidxyangmiprasiththiphaph inkhmphirwisuththimrrkh idklawthungparisuththisil 4 sunghmaythung khwampraphvtibrisuththithicdepnsil misikhx idaek patiomkkhsngwrsil hmaythung silkhuxkhwamsarwminphrapatiomkkh ewncakkhxham aelathatamkhxxnuyat tlxdcnpraphvtiekhrngkhrdinsikkhabth khux silaelamaryaththimixyuinphraitrpidknnexng xinthriysngwrsil hmaythung silkhuxkhwamsarwmxinthriy6 rawngimihbapekidkhunid inkhnathirbruxinthriythnghk khux ta hu cmuk lin kay aelaic xachiwparisuththisil hmaythung silkhuxkhwambrisuththiaehngxachiwa eliyngchiphinthangthichxbthrrm pccysnnisitsil hmaythung silthiekiywkbpccysi khux karphicarnaichsxypccy ihepniptampraoychnthiaethkhxngsingnn imbriophkhdwytnha echn imbriophkhdwykhwamxyakrbprathan imbriophkhdwykhwamxyakichsxycittwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngcit khux citthismdul ephraawiriyaphlaesmxkbsmathiphla thaihwiriyaksmdul smathiksmdul epnpccyihstikahndruxyuinpccubnkhnaidxyangphxdi ruckxiriyabththipidbngthukkhlksna imipinxnakhtephraawiriyamimak imxyuinxditephraasmathimikalngmakip epnkarfukxbrmcitcnbngekidxppnasmathi hruxchan thiprascakniwrn ephraastitxenuxngcnniwrnimsamarthekhaaethrkincitid xnepnpthtthanthisakhy thaihecriywipssnaidngay thitthiwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngthitthi khux khwamruekhaic mxngehnnamruptamsphawathiepncring ehnrupthatuaelanamthatuepnkhnlathatuknxyangchdecn aemkrathngthangkay echn ecb pwd emuxy cha khn thipkticaimsamarthaeykxxkcakknid kyngsamarthcaruidwanikhuxewthna nikhuxophtthphphahruxphssathangkay cnehnwakhnth 5 nithngkhxngeraaelaphuxunlwnesmxknepnaetephiyngaekhrupnammaprachumknkhunhaidmitwtnim skaetwaepnthatutamthrrmchatiethann ruckkhnasyyathipidbngxnttlksna khuxepnehtukhmkhwamekhaicphidwakhnthniepntwtnkhxngera lngesiyid erimdarnginphumiaehngkhwamimhlngphid kngkhawitrnwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngyanepnekhruxngkhamphnkhwamsngsy khwambrisuththikhnthithaihkacdkhwamsngsyid khux kahndrupccyaehngnamrupidaelwcungsinsngsy wasingthnghlaythngpwnglwnekidaetehtupccythngsin rucksnttithipidbngxnicclksna ehnladbkhnkarekidthukkhkhxngcit ehnpticcsmupbathsayekidhruxxnuolm mkhkhamkhkhyanthssnwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngyanepnekhruxngruehnwathanghruxmiichthang citrbruthungkraaesaehngitrlksnid ptipthayanthssnwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngyanxnruehnthangdaenin wipssnayan 9 ruthukkhxriyscc rusmuthyxriyscc runiorthxriyscc rumrrkhxriysccthng8 aelaphicarnathngsinphrxmkn samkhkhithrrm emuxthungsccanuolmikyan khuxhmunthrrmckrthng8 aelaphicarnaducphuphiphaksaphicarnaehtuthngsin yanthssnwisuththi hmaythung khwamhmdcdaehngyanthssna khuxkarptibtibriburncnkawphanphumicitedimkhuxokhtrphuyanaelawithanayan idkhwamruaecnginxriymrrkh hruxmrrkhyan khwambrrluepnxriybukhkhlhruxphlyan phicarnathrrmthiidbrrluaelwkhuxpccewkkhnayan yxmekidkhuninwisuththikhxni epnxnbrrluphlthihmaysungsudaehngwisuththi hruxitrsikkha hruxkarptibtithrrminphraphuththsasnathngsinwisuththi 7 kb wipssnayanwisuththi 7 epnpccysngtxknkhunipephuxbrrluniphphan epnphraxriybukhkhlinphraphuththsasna dngbrryayinrthwinitsutr phrasutrhnunginphraitrpidkphasabali epriybwisuththi 7 waesmuxnrthecdphld sngtxknihbukhkhlthungthihmay samarthepriybethiyb itrsikkha wisuththi 7 yan 16 parisuththisil 4 aelasmathi iddngni xthisilsikkha silwisuththi 1 patiomkkhsngwrsil 2 xinthriysngwrsil 3 xachiwparisuththisil 4 pccysnnisitsil dd xthicittsikkha cittwisuththi xupcarsmathi xppnasmathi inchansmabti dd xthipyyasikkha thitthiwisuththi 1 namruppricechthyan dd kngkhawitrnwisuththi 2 namruppccyprikhkhhyan dd mkhkhamkhkhyanthssnwisuththi 3 smmsnyan dd ptipthayanthssnwisuththi 4 xuthyphphyanupssnayan 5 phngkhanupssnayan 6 phytuptthanyan 7 xathinwanupssnayan 8 niphphithanupssnayan 9 muccitukmytayan 10 ptisngkhanupssnayan 11 sngkharuebkkhayan 12 sccanuolmikyan dd yanthssnwisuththi 13 okhtrphuyan 14 mkhkhyan 15 phlyan 16 pccewkkhnyan dd xangxingrthwinitsutr cakphraitrpidk phasaithy phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phuthththrrm bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk