ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ในทางคณิตศาสตร์นั้น จำนวนอดิศัย (อังกฤษ: transcendental number) คือ จำนวนอตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเชิงพีชคณิต ซึ่งหมายถึงจำนวนที่ไม่ใช่ราก (คำตอบ) ของ
โดย n ≥ 1 และสัมประสิทธิ์ เป็นจำนวนเต็ม (หรือจำนวนตรรกยะ ซึ่งให้ความหมายเดียวกัน เนื่องจากเราสามารถคูณสัมประสิทธิ์ทั้งหมดด้วยตัวคูณร่วมน้อย เพื่อให้สัมประสิทธิ์ทั้งหมดกลายเป็นจำนวนเต็ม) ซึ่งไม่เท่ากับศูนย์อย่างน้อยหนึ่งตัว
สมบัติ
จำนวนอดิศัยไม่สามารถนับได้
ตามหลักทฤษฎีเซต เซตของจำนวนเชิงพีชคณิตทั้งหมดนั้น (สามารถสร้างฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง ระหว่างเซตของจำนวนนับและจำนวนเชิงพีชคณิตได้) ในขณะที่เซตของจำนวนจริงทั้งหมด (ไม่สามารถสร้างฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง จากเซตของจำนวนนับไปยังจำนวนจริงได้) ดังนั้นเซตของจำนวนอดิศัยทั้งหมดนั้นจึง ไม่สามารถนับได้
ในมุมมองดังกล่าว เราสามารถกล่าวได้ว่า "จำนวนอดิศัยทั้งหมดมีมากกว่าจำนวนเชิงพีชคณิต" อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันนั้นมีจำนวนอดิศัยเพียงไม่กี่กลุ่มเท่านั้นที่เรารู้จัก (ในทำนองเดียวกันกับในทฤษฎีการคำนวณได้) โดยทั่วไป ว่าจำนวนหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนอดิศัยนั้น ยากอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามคุณสมบัติของอาจจะช่วยในการระบุจำนวนอดิศัยจากจำนวนอื่นๆ ได้
ประวัติการค้นพบจำนวนอดิศัย
จำนวนอดิศัยตัวแรกถูกค้นพบโดย ในปี ค.ศ. 1844 จึงมีชื่อเรียกว่า
จำนวนอดิศัยที่สำคัญ
จำนวนอดิศัยอื่น ๆ ที่เรารู้จักมีดังต่อไปนี้:
- ea ในกรณีที่ a เป็นจำนวนเชิงพีชคณิตที่ไม่เท่ากับศูนย์ (สังเกตว่า e เป็นจำนวนอดิศัย) (พิสูจน์โดยทฤษฎี Lindemann–Weierstrass )
- π (พิสูจน์โดยทฤษฎี Lindemann–Weierstrass )
- eπ (พิสูจน์โดยทฤษฎี Gelfond–Schneider)
- หรือในรูปแบบทั่วไป โดย a ≠ 0,1 และเป็นจำนวนเชิงพีชคณิต และ b เป็นจำนวนอตรรกยะเชิงพีชคณิต ซึ่งเป็นคำตอบสำหรับ ในกรณีขยายของปัญหาข้อที่เจ็ดของฮิลเบิร์ต ที่ต้องการให้พิจารณาว่า ab เป็นจำนวนอดิศัยหรือไม่เมื่อ a ≠ 0,1 และเป็นจำนวนเชิงพีชคณิต และ b เป็นจำนวนอตรรกยะใด ๆ นั้นยังคงไม่มีใครสามารถให้คำตอบได้
- sin (1)
- ln (a) ถ้า a เป็นจำนวนตรรกยะบวกและ a ≠ 1
- Γ (1/3) (ดู ฟังก์ชันแกมมา) Γ(1/4), and Γ(1/6).
- Ω
- โดย เป็นฟังก์ชันพื้น (floor function) เช่น ถ้า β = 2 ตัวเลขนี้คือ 0.11010001000000010000000000000001000…
- .
- 0.64341054629..., .
ความสำคัญของจำนวนอดิศัย
การค้นพบจำนวนอดิศัย สามารถนำไปใช้พิสูจน์ความ เป็นไปไม่ได้ ในการแก้ปัญหาของคณิตศาสตร์กรีกโบราณหลายข้อที่เกี่ยวกับ เช่น ซึ่งเป็นไปไม่ได้เนื่องจาก π เป็นจำนวนอดิศัย. ในขณะที่การสร้างรูปด้วยไม้บรรทัดและวงเวียน สามารถสร้างได้แต่รูปที่มีความยาวในขอบเขตของจำนวนเชิงพีชคณิตเท่านั้น
อ้างอิง
- Le Lionnais, F. Les nombres remarquables (ISBN ). Paris: Hermann, p. 46, 1979. via Wolfram Mathworld, Transcendental Number
- Chudnovsky, G. V. (1984). Contributions to the Theory of Transcendental Numbers. Providence, RI: . ISBN . via Wolfram Mathworld, Transcendental Number
- Calude, Cristian S. (2002). Information and Randomness: An Algorithmic Perspective. Texts in Theoretical Computer Science (2nd rev. and ext. ed.). . p. 239. ISBN . 1055.68058.
- (1929). "Arithmetische Eigenschaften der Lösungen einer Klasse von Funktionalgleichungen". . 101: 342–366. doi:10.1007/bf01454845. 55.0115.01.
- Allouche & Shallit (2003) p.387
- Davison & Shallit 1991
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud inthangkhnitsastrnn canwnxdisy xngkvs transcendental number khux canwnxtrrkyathiimichcanwnechingphichkhnit sunghmaythungcanwnthiimichrak khatxb khxng anxn an 1xn 1 a1x1 a0 0 displaystyle a n x n a n 1 x n 1 cdots a 1 x 1 a 0 0 dd ody n 1 aelasmprasiththi aj displaystyle a j epncanwnetm hruxcanwntrrkya sungihkhwamhmayediywkn enuxngcakerasamarthkhunsmprasiththithnghmddwytwkhunrwmnxy ephuxihsmprasiththithnghmdklayepncanwnetm sungimethakbsunyxyangnxyhnungtw phay p epncanwnxdisythiruckkndismbticanwnxdisyimsamarthnbid tamhlkthvsdiest estkhxngcanwnechingphichkhnitthnghmdnn samarthsrangfngkchnhnungtxhnungthwthung rahwangestkhxngcanwnnbaelacanwnechingphichkhnitid inkhnathiestkhxngcanwncringthnghmd imsamarthsrangfngkchnhnungtxhnungthwthung cakestkhxngcanwnnbipyngcanwncringid dngnnestkhxngcanwnxdisythnghmdnncung imsamarthnbid inmummxngdngklaw erasamarthklawidwa canwnxdisythnghmdmimakkwacanwnechingphichkhnit xyangirktam inpccubnnnmicanwnxdisyephiyngimkiklumethannthieraruck inthanxngediywknkbinthvsdikarkhanwnid odythwip wacanwnhnung epncanwnxdisynn yakxyangying xyangirktamkhunsmbtikhxngxaccachwyinkarrabucanwnxdisycakcanwnxun idprawtikarkhnphbcanwnxdisycanwnxdisytwaerkthukkhnphbody inpi kh s 1844 cungmichuxeriykwacanwnxdisythisakhycanwnxdisyxun thieraruckmidngtxipni ea inkrnithi a epncanwnechingphichkhnitthiimethakbsuny sngektwa e epncanwnxdisy phisucnodythvsdi Lindemann Weierstrass p phisucnodythvsdi Lindemann Weierstrass ep phisucnodythvsdi Gelfond Schneider hruxinrupaebbthwip ody a 0 1 aelaepncanwnechingphichkhnit aela b epncanwnxtrrkyaechingphichkhnit sungepnkhatxbsahrb inkrnikhyaykhxngpyhakhxthiecdkhxnghilebirt thitxngkarihphicarnawa ab epncanwnxdisyhruximemux a 0 1 aelaepncanwnechingphichkhnit aela b epncanwnxtrrkyaid nnyngkhngimmiikhrsamarthihkhatxbidsin 1 ln a tha a epncanwntrrkyabwkaela a 1G 1 3 du fngkchnaekmma G 1 4 and G 1 6 W k 0 10 bk b gt 1 displaystyle sum k 0 infty 10 lfloor beta k rfloor quad beta gt 1 ody b b displaystyle beta mapsto lfloor beta rfloor epnfngkchnphun floor function echn tha b 2 twelkhnikhux 0 11010001000000010000000000000001000 0 64341054629 khwamsakhykhxngcanwnxdisykarkhnphbcanwnxdisy samarthnaipichphisucnkhwam epnipimid inkaraekpyhakhxngkhnitsastrkrikobranhlaykhxthiekiywkb echn sungepnipimidenuxngcak p epncanwnxdisy inkhnathikarsrangrupdwyimbrrthdaelawngewiyn samarthsrangidaetrupthimikhwamyawinkhxbekhtkhxngcanwnechingphichkhnitethannxangxingLe Lionnais F Les nombres remarquables ISBN 2 7056 1407 9 Paris Hermann p 46 1979 via Wolfram Mathworld Transcendental Number Chudnovsky G V 1984 Contributions to the Theory of Transcendental Numbers Providence RI ISBN 978 0 8218 1500 7 via Wolfram Mathworld Transcendental Number Calude Cristian S 2002 Information and Randomness An Algorithmic Perspective Texts in Theoretical Computer Science 2nd rev and ext ed p 239 ISBN 978 3 540 43466 5 1055 68058 1929 Arithmetische Eigenschaften der Losungen einer Klasse von Funktionalgleichungen 101 342 366 doi 10 1007 bf01454845 55 0115 01 Allouche amp Shallit 2003 p 387 Davison amp Shallit 1991harvnb error no target CITEREFDavisonShallit1991