โลหิตจาง หรือ ภาวะเลือดจาง (อังกฤษ: Anemia or Anaemia) เป็นการลดลงของจำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ หรือปริมาณฮีโมโกลบินในเลือดน้อยกว่าปกติ นอกจากนี้ยังรวมถึงภาวะที่ความสามารถในการจับออกซิเจนของโมเลกุลฮีโมโกลบินลดลง ทั้งจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือจำนวนฮีโมโกลบินที่สร้างขึ้นเช่นใน (hemoglobin deficiency) บางชนิด
โลหิตจาง (Anemia) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Anaemia |
ภาพเสมียร์เลือดของผู้ป่วยเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก แสดงให้เห็นเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีซีดกว่าปกติ | |
การออกเสียง | |
สาขาวิชา | โลหิตวิทยา |
อาการ | Feeling tired, , weakness, shortness of breath, feeling like passing out |
สาเหตุ | Bleeding, decreased red blood cell production, increased red blood cell breakdown |
วิธีวินิจฉัย | (การตรวจวัดความเข้มข้นฮีโมโกลบิน) |
ความชุก | 2.36 billion / 33% (2015) |
เนื่องจากฮีโมโกลบิน (โปรตีนที่พบภายในเม็ดเลือดแดง) ปกติทำหน้าที่ขนส่งออกซิเจนจากปอดไปยังเนื้อเยื่อ โลหิตจางจึงทำให้เกิดภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย (hypoxia) ที่อวัยวะ และเนื่องจากเซลล์ทุกเซลล์ในมนุษย์ต้องการออกซิเจนเพื่อดำรงชีวิต โลหิตจางในระดับต่างๆ จึงทำให้เกิดอาการทางคลินิกตามมาได้หลายรูปแบบ
โลหิตจางเป็นความผิดปกติของเลือดที่พบได้บ่อยที่สุด แบ่งออกได้เป็นหลายชนิดและมีหลายสาเหตุ การแบ่งประเภทของโลหิตจางแบ่งได้หลายแบบ ทั้งจากรูปลักษณ์ของเม็ดเลือดแดง กลไกสาเหตุที่นำให้เกิด และอาการทางคลินิกที่แสดงออก เป็นต้น โลหิตจางสามชนิดหลักๆ ได้แก่การเสียเลือดจำนวนมาก (เกิดเฉียบพลันเช่นการตกเลือด หรือเกิดเรื้อรังจากการเสียเลือดปริมาณน้อยๆ เป็นเวลานาน) การทำลายเม็ดเลือดจำนวนมาก ( (hemolysis)) หรือการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง (ไม่มีประสิทธิภาพ (ineffective hematopoiesis))
การวิเคราะห์สาเหตุโลหิตจางแบ่งออกเป็น 2 ทางใหญ่ๆ คือ วิเคราะห์จากกลไก ("kinetic" approach) ได้แก่ การประเมินการสร้าง การทำลาย และการสูญเสียเม็ดเลือด และวิเคราะห์จากรูปร่างเม็ดเลือด ("morphologic" approach) ซึ่งแบ่งโลหิตจางออกตามขนาดของเม็ดเลือดแดง การวิเคราะห์จากรูปร่างเม็ดเลือดนั้นระยะแรกอาศัยการทดสอบที่เร็วและราคาถูก (ปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (Mean corpuscular volume; MCV)) ในทางกลับกันการมองที่คำถามถึงการสร้างเม็ดเลือดก่อนจะทำให้เข้าถึงสาเหตุในผู้ป่วยที่มีหลายสาเหตุของโลหิตจางร่วมด้วยอย่างรวดเร็ว
อาการและอาการแสดง
ภาวะโลหิตจางในหลายคนอาจไม่มีอาการหรือมีอาการน้อยจนไม่ทราบว่าเป็น อาการและอาการแสดงอาจเกี่ยวกับตัวภาวะโลหิตจางเองหรือเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง
ส่วนใหญ่ผู้ที่มีภาวะโลหิตจางจะให้ประวัติอาการที่ไม่จำเพาะ เช่น รู้สึกเหนื่อย หรืออ่อนล้า รู้สึกไม่สบายทั่วตัว และบางครั้งระดับสมาธิลดลง นอกจากนี้ผู้ป่วยยังให้ประวัติหายใจลำบากขณะออกแรง ในผู้ป่วยโลหิตจางรุนแรงร่างกายอาจชดเชยความบกพร่องของการขนส่งออกซิเจนของเลือดด้วยการเพิ่มปริมาตรเลือดส่งออกจากหัวใจต่อนาที (cardiac output) ทำให้ผู้ป่วยมีอาการที่เกี่ยวข้องเช่นใจสั่น (หากมีโรคหัวใจอยู่เดิม) ปวดขาเป็นพักๆ และอาการของภาวะหัวใจวาย
การตรวจร่างกายพบอาการแสดง เช่น ภาวะซีด (ผิวหนัง เยื่อเมือก และซีด) แต่ก็ไม่ใช่อาการแสดงที่เชื่อถือได้ อาจพบอาการแสดงของสาเหตุจำเพาะของโลหิตจาง เช่น (koilonychia) ในผู้ป่วยโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก, ดีซ่านในโลหิตจางที่เป็นผลจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายผิดปกติ ในโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก, สภาพวิรูปของกระดูก พบในทาลัสซีเมีย เมเจอร์ หรือแผลเปื่อยที่ขาพบในโรคเม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว (sickle-cell disease)
ในโลหิตจางชนิดรุนแรง อาจมีอาการแสดงของระบบไหลเวียนผิดปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่ของหัวใจ (murmur) และหัวใจโต ซึ่งอาจเป็นอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย
ผู้ป่วยโรค (Pica) เช่นกินดิน กระดาษ ขี้ผึ่ง หญ้า น้ำแข็ง หรือผม ฯลฯ อาจมีอาการของการขาดธาตุเหล็ก แม้ว่าอาจเกิดได้ในผู้ที่มีระดับฮีโมโกลบินปกติ
ภาวะโลหิตจางเรื้อรังอาจทำให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในเด็ก และเป็นผลโดยตรงต่อความบกพร่องของพัฒนาการทางระบบประสาทในทารก และทำให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในวัยเข้าโรงเรียนลดลงได้
(Restless legs syndrome) พบได้บ่อยในผู้ป่วยโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
อาการที่พบได้ไม่บ่อยได้แก่แขนขาบวม เรื้อรัง มีฟกช้ำไม่ชัดเจน อาเจียน เหงื่อออกมาก และมีเลือดในอุจจาระ
การวินิจฉัย
โดยทั่วไป ในการตรวจเลือดครั้งแรกแพทย์จะสั่งการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ (CBC) เพื่อวินิจฉัยภาวะโลหิตจาง นอกเหนือจากรายงานจำนวนเม็ดเลือดแดงและระดับฮีโมโกลบินที่ได้แล้ว เครื่องตรวจนับเม็ดเลือดอัตโนมัติยังสามารถวัดขนาดของเม็ดเลือดแดงได้ด้วยวิธีการ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยแยกแยะสาเหตุของโลหิตจาง การตรวจสเมียร์เลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์ก็มีประโยชน์และในบางครั้งจำเป็นต้องทำในบางแห่งที่ไม่มีเครื่องตรวจนับเม็ดเลือดอัตโนมัติ
เครื่องตรวจนับเม็ดเลือดอัตโนมัติรุ่นใหม่สามารถวัดค่าพารามิเตอร์ได้ 4 อย่าง คือ นับจำนวนเม็ดเลือดแดง, ความเข้มขันของฮีโมโกลบิน, ปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (Mean corpuscular hemoglobin; MCH) และความกว้างการกระจายของเม็ดเลือดแดง (Red blood cell distribution width; RDW) ซึ่งทำให้สามารถคำนวณค่าอื่นๆ ได้แก่ ฮีมาโทคริต (Hematocrit), ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดเฉลี่ย (Mean corpuscular hemoglobin; MCH) และความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดเฉลี่ย (Mean corpuscular hemoglobin concentration; MCHC) จากนั้นนำค่ามาเปรียบเทียบกับค่าปกติของอายุและเพศต่างๆ การตรวจนับบางครั้งอาจประมาณค่าฮีมาโทคริตจากการวัดโดยตรง
กลุ่มอายุหรือเพศ | ฮีโมโกลบิน (กรัม/เดซิลิตร) | ฮีโมโกลบิน (มิลลิโมล/ลิตร) |
---|---|---|
เด็ก (0.5–5.0 ปี) | 11.0 | 6.8 |
เด็ก (5–12 ปี) | 11.5 | 7.1 |
เด็ก (12–15 ปี) | 12.0 | 7.4 |
หญิง ไม่ได้ตั้งครรภ์ (>15 ปี) | 12.0 | 7.4 |
หญิงมีครรภ์ | 11.0 | 6.8 |
ชาย (>15 ปี) | 13.0 | 8.1 |
การนับจำนวน (Reticulocyte counts) และการวิเคราะห์โรคจากกลไก ("kinetic" approach) เป็นที่นิยมมากขึ้นกว่าในอดีตในศูนย์การแพทย์ขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศเพราะเครื่องนับอัตโนมัติปัจจุบันสามารถนับจำนวนเรติคิวโลไซต์ได้ การนับจำนวนเรติคิวโลไซต์เป็นการวัดปริมาณของการสร้างเม็ดเลือดแดงใหม่โดยไขกระดูก (reticulocyte production index; RPI) เป็นการคำนวณอัตราส่วนระหว่างระดับของโลหิตจางกับจำนวนเรติคิวโลไซต์ที่เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองต่อภาวะโลหิตจาง เพราะเมื่อเกิดภาวะโลหิตจางไขกระดูกจะต้องทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงใหม่ๆ ออกมาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงานใกล้เคียงสภาวะปกติ ดังนั้นหากระดับของโลหิตจางนั้นสูงมากแม้จะมีจำนวนเรติคิวโลไซต์ในเกณฑ์ "ปกติ" ก็อาจแปลผลได้ว่าไขกระดูกตอบสนองต่อภาวะโลหิตจางไม่เพียงพอ
หากไม่มีเครื่องนับเม็ดเลือดอัตโนมัติ การนับจำนวนเรติคิวโลไซต์ก็สามารถทำได้ด้วยการย้อมฟิล์มเลือดพิเศษ ในการตรวจด้วยมือนั้น การวัดความสามารถในการสร้างเม็ดเลือดของไขกระดูกสามารถวัดเชิงปริมาณได้โดยการสังเกตเปลี่ยนแปลงจำนวนและรูปร่างของเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนภายใต้กล้องจุลทรรศน์ เม็ดเลือดแดงที่สร้างใหม่จากไขกระดูกมักมีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดงอายุมากและมักย้อมติดสีต่างกัน (polychromasia) และแม้ว่าจะพบจุดที่เสียเลือดได้อย่างชัดเจนก็ตาม การประเมินการสร้างเม็ดเลือดแดง (erythropoiesis) สามารถช่วยประเมินว่าไขกระดูกจะสามารถชดเชยการเสียเลือดได้หรือไม่ และที่อัตราเท่าไร
หากไม่สามารถหาสาเหตุของโลหิตจางได้ แพทย์อาจใช้การทดสอบอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (ESR), เฟอร์ริติน (ferritin), (serum iron), (transferrin), ระดับโฟเลตในเม็ดเลือดแดง (RBC folate level), วิตามินบี12 ในซีรัม (serum vitamin B12), ฮีโมโกลบิน อิเล็กโตรโฟรีซิส (hemoglobin electrophoresis), (renal function tests) เช่น
หากยังไม่สามารถวินิจฉัยได้หรือทำได้ยาก การตรวจไขกระดูกช่วยในการตรวจเซลล์ต้นกำเนิดของเม็ดเลือดแดงได้โดยตรง
ประเภทของโลหิตจาง
การสร้างเม็ดเลือด เทียบกับ การทำลายหรือการเสียเลือด
การวิเคราะห์โรคโลหิตจางจากกลไก ("kinetic" approach) ให้ผลซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการจัดประเภทที่สัมพันธ์ทางคลินิกมากที่สุด การจัดประเภทแบบนี้ขึ้นกับการประเมินค่าพารามิเตอร์ทางโลหิตวิทยาหลายตัว โดยเฉพาะจำนวน (reticulocyte; ต้นกำเนิดของเม็ดเลือดแดงตัวเต็มวัย) ในเลือด การวิเคราะห์แบบนี้จะแบ่งประเภทของโลหิตจางโดยอาศัยการลดการสร้างเม็ดเลือดแดงเทียบกับการเพิ่มการทำลายหรือการสูญเสียเม็ดเลือดแดง อาการแสดงทางคลินิกของการสูญเสียหรือทำลายเม็ดเลือดแดง เช่น ฟิล์มเลือดผิดปกติร่วมกับอาการแสดงของการสลายของเม็ดเลือดแดง (hemolysis), ระดับสูงขึ้นแสดงถึงการทำลายเซลล์, หรืออาการแสดงของเลือดออก เช่น มีเลือดปนในอุจจาระ พบการตกเลือดจากภาพรังสี หรือการเห็นว่ามีเลือดออกชัดเจน
ด้านล่างเป็นแผนภาพอย่างง่ายๆ ของการวิเคราะห์โรคโลหิตจางจากกลไก
โลหิตจาง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
(RPI) แสดงการสร้างเม็ดเลือดตอบสนองต่อโลหิตจางได้ไม่เพียงพอ | (RPI) แสดงการสร้างเม็ดเลือดตอบสนองต่อโลหิตจางได้เพียงพอ = กำลังมีการสลายของเม็ดเลือดแดงหรือการเสียเลือดโดยไม่มีปัญหาในการสร้างเม็ดเลือดแดง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
ไม่มีสิ่งตรวจพบทางคลินิกเข้ากับการสลายของเม็ดเลือดแดงหรือการเสียเลือด: ความผิดปกติเฉพาะการสร้างเม็ดเลือด | มีสิ่งตรวจพบทางคลินิกและปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (MCV) ผิดปกติ: การสลายของเม็ดเลือดแดงหรือเสียเลือดและการสร้างเม็ดเลือดผิดปกติเรื้อรัง* | มีสิ่งตรวจพบทางคลินิกและปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (MCV) ปกติ = การสลายของเม็ดเลือดแดงหรือเสียเลือดเฉียบพลันโดยไขกระดูกไม่มีเวลาสร้างเม็ดเลือดชดเชยเพียงพอได้ทัน** | |||||||||||||||||||||||||||||||||
(Macrocytic anemia) (MCV>100) | (Normocytic anemia) (80<MCV<100) | (Microcytic anemia) (MCV<80) | |||||||||||||||||||||||||||||||||
- * ตัวอย่างเช่น ความผิดปกติที่เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว (sickle cell anemia) ร่วมกับเกิดการขาดธาตุเหล็กเพิ่มเติม, เลือดออกในกระเพาะอาหารเรื้อรังร่วมกับการขาดวิตามินบี12 และโฟเลต, และโลหิตจางที่มีสาเหตุมากกว่า 1 อย่างอื่นๆ
- ** ยืนยันโดยการนับจำนวนเรติคิวโลไซต์ซ้ำ: โลหิตจางที่มีดัชนีการสร้างเรติคิวโลไซต์ (RPI) ต่ำ, ปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (MCV) ปกติ และการสลายของเม็ดเลือดแดงหรือเสียเลือดร่วมกันอาจพบได้ในภาวะไขกระดูกล้มเหลวหรือโลหิตจางในโรคเรื้อรังที่มีการสลายของเม็ดเลือดแดงหรือเสียเลือดเกิดเพิ่มเติม
ขนาดของเม็ดเลือดแดง
ในการวิเคราะห์โรคโลหิตจางจากรูปร่างเม็ดเลือด (morphological approach) จะจัดแบ่งโลหิตจางออกตามขนาดของเม็ดเลือดแดงซึ่งสามารถตรวจโดยใช้เครื่องนับอัตโนมัติหรือการดูสเมียร์เลือดจากกล้องจุลทรรศน์ก็ได้ ขนาดของเม็ดเลือดแดงแสดงออกมาเป็นค่าที่เรียกว่า ปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย (mean corpuscular volume; MCV) หากเซลล์มีขนาดเล็กกว่าปกติ คือน้อยกว่า 80 เฟมโตลิตร จะเรียกว่า (Microcytic anemia) หากเซลล์มีขนาดปกติ คือระหว่าง 80–100 เฟมโตลิตร จะเรียกว่า (Normocytic anemia) และทำนองเดียวกันหากเซลล์ขนาดใหญ่กว่าปกติ คือมากกว่า 100 เฟมโตลิตร จะเรียกว่า (Macrocytic anemia) การแบ่งแบบนี้ช่วยทำให้ถึงสาเหตุของโลหิตจางที่พบได้บ่อยได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น โลหิตจางชนิดเม็ดเลือดขนาดเล็กมักเป็นผลของการขาดธาตุเหล็ก ในการสืบค้นทางคลินิกนั้นปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ยนับเป็นข้อมูลลำดับแรกๆ ที่ได้มา ดังนั้นแม้แพทย์จะเชื่อถือปรัชญาการวิเคราะห์โรคโลหิตจางจากกลไกว่ามีประโยชน์มากกว่าเพียงใดแต่ลักษณะของเม็ดเลือดแดงก็ยังเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดประเภทและการวินิจฉัย
ด้านล่างเป็นแผนภาพแสดงการวิเคราะห์โรคโลหิตจางโดยเริ่มต้นที่ปริมาตรเม็ดเลือดเฉลี่ย
โลหิตจาง | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(Macrocytic anemia) (MCV>100) | (Normocytic anemia) (MCV 80–100) | (Microcytic anemia) (MCV<80) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
จำนวนสูง | จำนวนต่ำ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะอื่นๆ ที่เห็นได้ในสเมียร์เลือดอาจช่วยบ่งถึงการวินิจฉัยเฉพาะโรค ตัวอย่างเช่น เม็ดเลือดขาวผิดปกติอาจบอกถึงสาเหตุจากไขกระดูก
อ้างอิง
- Janz TG, Johnson RL, Rubenstein SD (November 2013). "Anemia in the emergency department: evaluation and treatment". Emergency Medicine Practice. 15 (11): 1–15, quiz 15–16. PMID 24716235. สืบค้นเมื่อ 28 June 2021.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015Pre
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ปรับปรุงเมื่อ 6 ส.ค. 2544
- MedicineNet.com --> Definition of Anemia 2014-01-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Last Editorial Review: 12/9/2000 8:31:00 AM
- merriam-webster dictionary --> anemia Retrieved on May 25, 2009
- "eMedicine – Anemia, Chronic : Article by Fredrick M Abrahamian, DO, FACEP". Emedicine.com. 2009-12-07. สืบค้นเมื่อ 2010-08-24.
- eMedicineHealth > anemia article Author: Saimak T. Nabili, MD, MPH. Editor: Melissa Conrad Stöppler, MD. Last Editorial Review: 12/9/2008. Retrieved on 4 April 2009
- World Health Organization (2008). Worldwide prevalence of anaemia 1993–2005 (PDF). Geneva: World Health Organization. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2009-03-25.
แหล่งข้อมูลอื่น
- National Anemia Action Council (USA)
- Hemoglobin Calculator for Diagnosis of Anemia
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
olhitcang hrux phawaeluxdcang xngkvs Anemia or Anaemia epnkarldlngkhxngcanwnemdeluxdaedngnxykwapkti hruxprimanhiomoklbinineluxdnxykwapkti nxkcakniyngrwmthungphawathikhwamsamarthinkarcbxxksiecnkhxngomelkulhiomoklbinldlng thngcakkhwamphidpktikhxngokhrngsranghruxcanwnhiomoklbinthisrangkhunechnin hemoglobin deficiency bangchnidolhitcang Anemia chuxxunAnaemiaphaphesmiyreluxdkhxngphupwyeluxdcangcakkarkhadthatuehlk aesdngihehnemdeluxdaedngmikhnadelkaelatidsisidkwapktikarxxkesiyng e ˈ n iː m i e sakhawichaolhitwithyaxakarFeeling tired weakness shortness of breath feeling like passing outsaehtuBleeding decreased red blood cell production increased red blood cell breakdownwithiwinicchykartrwcwdkhwamekhmkhnhiomoklbinkhwamchuk2 36 billion 33 2015 enuxngcakhiomoklbin oprtinthiphbphayinemdeluxdaedng pktithahnathikhnsngxxksiecncakpxdipyngenuxeyux olhitcangcungthaihekidphawaeluxdmixxksiecnnxy hypoxia thixwywa aelaenuxngcakesllthukesllinmnusytxngkarxxksiecnephuxdarngchiwit olhitcanginradbtang cungthaihekidxakarthangkhliniktammaidhlayrupaebb olhitcangepnkhwamphidpktikhxngeluxdthiphbidbxythisud aebngxxkidepnhlaychnidaelamihlaysaehtu karaebngpraephthkhxngolhitcangaebngidhlayaebb thngcakruplksnkhxngemdeluxdaedng kliksaehtuthinaihekid aelaxakarthangkhlinikthiaesdngxxk epntn olhitcangsamchnidhlk idaekkaresiyeluxdcanwnmak ekidechiybphlnechnkartkeluxd hruxekideruxrngcakkaresiyeluxdprimannxy epnewlanan karthalayemdeluxdcanwnmak hemolysis hruxkarsrangemdeluxdaedngldlng immiprasiththiphaph ineffective hematopoiesis karwiekhraahsaehtuolhitcangaebngxxkepn 2 thangihy khux wiekhraahcakklik kinetic approach idaek karpraeminkarsrang karthalay aelakarsuyesiyemdeluxd aelawiekhraahcakruprangemdeluxd morphologic approach sungaebngolhitcangxxktamkhnadkhxngemdeluxdaedng karwiekhraahcakruprangemdeluxdnnrayaaerkxasykarthdsxbthierwaelarakhathuk primatremdeluxdechliy Mean corpuscular volume MCV inthangklbknkarmxngthikhathamthungkarsrangemdeluxdkxncathaihekhathungsaehtuinphupwythimihlaysaehtukhxngolhitcangrwmdwyxyangrwderwxakaraelaxakaraesdngxakarhlkthixacekidinphawaolhitcang phawaolhitcanginhlaykhnxacimmixakarhruxmixakarnxycnimthrabwaepn xakaraelaxakaraesdngxacekiywkbtwphawaolhitcangexnghruxekiywkbsaehtuthithaihekidphawaolhitcang swnihyphuthimiphawaolhitcangcaihprawtixakarthiimcaephaa echn rusukehnuxy hruxxxnla rusukimsbaythwtw aelabangkhrngradbsmathildlng nxkcakniphupwyyngihprawtihayiclabakkhnaxxkaerng inphupwyolhitcangrunaerngrangkayxacchdechykhwambkphrxngkhxngkarkhnsngxxksiecnkhxngeluxddwykarephimprimatreluxdsngxxkcakhwictxnathi cardiac output thaihphupwymixakarthiekiywkhxngechnicsn hakmiorkhhwicxyuedim pwdkhaepnphk aelaxakarkhxngphawahwicway kartrwcrangkayphbxakaraesdng echn phawasid phiwhnng eyuxemuxk aelasid aetkimichxakaraesdngthiechuxthuxid xacphbxakaraesdngkhxngsaehtucaephaakhxngolhitcang echn koilonychia inphupwyolhitcangcakkarkhadthatuehlk disaninolhitcangthiepnphlcakemdeluxdaedngthukthalayphidpkti inolhitcangcakemdeluxdaedngaetk sphaphwirupkhxngkraduk phbinthalssiemiy emecxr hruxaephlepuxythikhaphbinorkhemdeluxdaedngepnrupekhiyw sickle cell disease inolhitcangchnidrunaerng xacmixakaraesdngkhxngrabbihlewiynphidpkti echn hwicetnerw miesiyngfukhxnghwic murmur aelahwicot sungxacepnxakaraesdngkhxngphawahwicway phupwyorkh Pica echnkindin kradas khiphung hya naaekhng hruxphm l xacmixakarkhxngkarkhadthatuehlk aemwaxacekididinphuthimiradbhiomoklbinpkti phawaolhitcangeruxrngxacthaihmiphvtikrrmepliynaeplnginedk aelaepnphlodytrngtxkhwambkphrxngkhxngphthnakarthangrabbprasathinthark aelathaihprasiththiphaphinkareriynruinwyekhaorngeriynldlngid Restless legs syndrome phbidbxyinphupwyolhitcangcakkarkhadthatuehlk xakarthiphbidimbxyidaekaekhnkhabwm eruxrng mifkchaimchdecn xaeciyn ehnguxxxkmak aelamieluxdinxuccarakarwinicchyphaphculthrrsnkhxngsemiyreluxdkhxngphupwythiepnolhitcangcakkarkhadthatuehlk odythwip inkartrwceluxdkhrngaerkaephthycasngkartrwcnbemdeluxdxyangsmburn CBC ephuxwinicchyphawaolhitcang nxkehnuxcakrayngancanwnemdeluxdaedngaelaradbhiomoklbinthiidaelw ekhruxngtrwcnbemdeluxdxtonmtiyngsamarthwdkhnadkhxngemdeluxdaedngiddwywithikar sungepnekhruxngmuxsakhythichwyaeykaeyasaehtukhxngolhitcang kartrwcsemiyreluxddwyklxngculthrrsnkmipraoychnaelainbangkhrngcaepntxngthainbangaehngthiimmiekhruxngtrwcnbemdeluxdxtonmti ekhruxngtrwcnbemdeluxdxtonmtirunihmsamarthwdkhapharamietxrid 4 xyang khux nbcanwnemdeluxdaedng khwamekhmkhnkhxnghiomoklbin primatremdeluxdechliy Mean corpuscular hemoglobin MCH aelakhwamkwangkarkracaykhxngemdeluxdaedng Red blood cell distribution width RDW sungthaihsamarthkhanwnkhaxun idaek himaothkhrit Hematocrit hiomoklbininemdeluxdechliy Mean corpuscular hemoglobin MCH aelakhwamekhmkhnkhxnghiomoklbininemdeluxdechliy Mean corpuscular hemoglobin concentration MCHC caknnnakhamaepriybethiybkbkhapktikhxngxayuaelaephstang kartrwcnbbangkhrngxacpramankhahimaothkhritcakkarwdodytrng radbhiomoklbinthiwinicchyphawaolhitcangodyxngkhkarxnamyolk WHO s Hemoglobin thresholds used to define anemia 1 krm edsilitr 0 6206 millioml litr klumxayuhruxephs hiomoklbin krm edsilitr hiomoklbin millioml litr edk 0 5 5 0 pi 11 0 6 8edk 5 12 pi 11 5 7 1edk 12 15 pi 12 0 7 4hying imidtngkhrrph gt 15 pi 12 0 7 4hyingmikhrrph 11 0 6 8chay gt 15 pi 13 0 8 1 karnbcanwn Reticulocyte counts aelakarwiekhraahorkhcakklik kinetic approach epnthiniymmakkhunkwainxditinsunykaraephthykhnadihyinshrthxemrikaaelahlaypraethsephraaekhruxngnbxtonmtipccubnsamarthnbcanwnertikhiwolistid karnbcanwnertikhiwolistepnkarwdprimankhxngkarsrangemdeluxdaedngihmodyikhkraduk reticulocyte production index RPI epnkarkhanwnxtraswnrahwangradbkhxngolhitcangkbcanwnertikhiwolistthiephimkhunephuxtxbsnxngtxphawaolhitcang ephraaemuxekidphawaolhitcangikhkradukcatxngthahnathisrangemdeluxdaedngihm xxkmaephimkhunephuxihrabbihlewiynolhitthanganiklekhiyngsphawapkti dngnnhakradbkhxngolhitcangnnsungmakaemcamicanwnertikhiwolistineknth pkti kxacaeplphlidwaikhkraduktxbsnxngtxphawaolhitcangimephiyngphx hakimmiekhruxngnbemdeluxdxtonmti karnbcanwnertikhiwolistksamarththaiddwykaryxmfilmeluxdphiess inkartrwcdwymuxnn karwdkhwamsamarthinkarsrangemdeluxdkhxngikhkraduksamarthwdechingprimanidodykarsngektepliynaeplngcanwnaelaruprangkhxngemdeluxdaedngtwxxnphayitklxngculthrrsn emdeluxdaedngthisrangihmcakikhkradukmkmikhnadihykwaemdeluxdaedngxayumakaelamkyxmtidsitangkn polychromasia aelaaemwacaphbcudthiesiyeluxdidxyangchdecnktam karpraeminkarsrangemdeluxdaedng erythropoiesis samarthchwypraeminwaikhkradukcasamarthchdechykaresiyeluxdidhruxim aelathixtraethair hakimsamarthhasaehtukhxngolhitcangid aephthyxacichkarthdsxbxun ephimetim echn xtrakartktakxnkhxngemdeluxdaedng ESR efxrritin ferritin serum iron transferrin radbofeltinemdeluxdaedng RBC folate level witaminbi12 insirm serum vitamin B12 hiomoklbin xielkotrofrisis hemoglobin electrophoresis renal function tests echn hakyngimsamarthwinicchyidhruxthaidyak kartrwcikhkradukchwyinkartrwceslltnkaenidkhxngemdeluxdaedngidodytrngpraephthkhxngolhitcangkarsrangemdeluxd ethiybkb karthalayhruxkaresiyeluxd karwiekhraahorkholhitcangcakklik kinetic approach ihphlsungepnthiyxmrbwaepnkarcdpraephththismphnththangkhlinikmakthisud karcdpraephthaebbnikhunkbkarpraeminkhapharamietxrthangolhitwithyahlaytw odyechphaacanwn reticulocyte tnkaenidkhxngemdeluxdaedngtwetmwy ineluxd karwiekhraahaebbnicaaebngpraephthkhxngolhitcangodyxasykarldkarsrangemdeluxdaedngethiybkbkarephimkarthalayhruxkarsuyesiyemdeluxdaedng xakaraesdngthangkhlinikkhxngkarsuyesiyhruxthalayemdeluxdaedng echn filmeluxdphidpktirwmkbxakaraesdngkhxngkarslaykhxngemdeluxdaedng hemolysis radbsungkhunaesdngthungkarthalayesll hruxxakaraesdngkhxngeluxdxxk echn mieluxdpninxuccara phbkartkeluxdcakphaphrngsi hruxkarehnwamieluxdxxkchdecn danlangepnaephnphaphxyangngay khxngkarwiekhraahorkholhitcangcakklik olhitcang RPI aesdngkarsrangemdeluxdtxbsnxngtxolhitcangidimephiyngphx RPI aesdngkarsrangemdeluxdtxbsnxngtxolhitcangidephiyngphx kalngmikarslaykhxngemdeluxdaednghruxkaresiyeluxdodyimmipyhainkarsrangemdeluxdaedng immisingtrwcphbthangkhlinikekhakbkarslaykhxngemdeluxdaednghruxkaresiyeluxd khwamphidpktiechphaakarsrangemdeluxd misingtrwcphbthangkhlinikaelaprimatremdeluxdechliy MCV phidpkti karslaykhxngemdeluxdaednghruxesiyeluxdaelakarsrangemdeluxdphidpktieruxrng misingtrwcphbthangkhlinikaelaprimatremdeluxdechliy MCV pkti karslaykhxngemdeluxdaednghruxesiyeluxdechiybphlnodyikhkradukimmiewlasrangemdeluxdchdechyephiyngphxidthn Macrocytic anemia MCV gt 100 Normocytic anemia 80 lt MCV lt 100 Microcytic anemia MCV lt 80 twxyangechn khwamphidpktithiemdeluxdaedngepnrupekhiyw sickle cell anemia rwmkbekidkarkhadthatuehlkephimetim eluxdxxkinkraephaaxahareruxrngrwmkbkarkhadwitaminbi12 aelaofelt aelaolhitcangthimisaehtumakkwa 1 xyangxun yunynodykarnbcanwnertikhiwolistsa olhitcangthimidchnikarsrangertikhiwolist RPI ta primatremdeluxdechliy MCV pkti aelakarslaykhxngemdeluxdaednghruxesiyeluxdrwmknxacphbidinphawaikhkraduklmehlwhruxolhitcanginorkheruxrngthimikarslaykhxngemdeluxdaednghruxesiyeluxdekidephimetimkhnadkhxngemdeluxdaedng inkarwiekhraahorkholhitcangcakruprangemdeluxd morphological approach cacdaebngolhitcangxxktamkhnadkhxngemdeluxdaedngsungsamarthtrwcodyichekhruxngnbxtonmtihruxkardusemiyreluxdcakklxngculthrrsnkid khnadkhxngemdeluxdaedngaesdngxxkmaepnkhathieriykwa primatremdeluxdechliy mean corpuscular volume MCV hakesllmikhnadelkkwapkti khuxnxykwa 80 efmotlitr caeriykwa Microcytic anemia hakesllmikhnadpkti khuxrahwang 80 100 efmotlitr caeriykwa Normocytic anemia aelathanxngediywknhakesllkhnadihykwapkti khuxmakkwa 100 efmotlitr caeriykwa Macrocytic anemia karaebngaebbnichwythaihthungsaehtukhxngolhitcangthiphbidbxyidxyangrwderw twxyangechn olhitcangchnidemdeluxdkhnadelkmkepnphlkhxngkarkhadthatuehlk inkarsubkhnthangkhliniknnprimatremdeluxdechliynbepnkhxmulladbaerk thiidma dngnnaemaephthycaechuxthuxprchyakarwiekhraahorkholhitcangcakklikwamipraoychnmakkwaephiyngidaetlksnakhxngemdeluxdaedngkyngepnkhxmulsakhyinkarcdpraephthaelakarwinicchy danlangepnaephnphaphaesdngkarwiekhraahorkholhitcangodyerimtnthiprimatremdeluxdechliy olhitcang Macrocytic anemia MCV gt 100 Normocytic anemia MCV 80 100 Microcytic anemia MCV lt 80 canwnsung canwnta lksnaxun thiehnidinsemiyreluxdxacchwybngthungkarwinicchyechphaaorkh twxyangechn emdeluxdkhawphidpktixacbxkthungsaehtucakikhkradukxangxingJanz TG Johnson RL Rubenstein SD November 2013 Anemia in the emergency department evaluation and treatment Emergency Medicine Practice 15 11 1 15 quiz 15 16 PMID 24716235 subkhnemux 28 June 2021 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GBD2015Pre sphthbyytirachbnthitysthan 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin prbprungemux 6 s kh 2544 MedicineNet com gt Definition of Anemia 2014 01 23 thi ewyaebkaemchchin Last Editorial Review 12 9 2000 8 31 00 AM merriam webster dictionary gt anemia Retrieved on May 25 2009 eMedicine Anemia Chronic Article by Fredrick M Abrahamian DO FACEP Emedicine com 2009 12 07 subkhnemux 2010 08 24 eMedicineHealth gt anemia article Author Saimak T Nabili MD MPH Editor Melissa Conrad Stoppler MD Last Editorial Review 12 9 2008 Retrieved on 4 April 2009 World Health Organization 2008 Worldwide prevalence of anaemia 1993 2005 PDF Geneva World Health Organization ISBN 9789241596657 subkhnemux 2009 03 25 aehlngkhxmulxunNational Anemia Action Council USA Hemoglobin Calculator for Diagnosis of AnemiakarcaaenkorkhDICD 10 D50 D64ICD 280 285MeSH D000740 663 271737000thrphyakrphaynxk 000560 med 132 emerg 808 emerg 734