บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
การสร้างเม็ดเลือดแดง (อังกฤษ: erythropoiesis) คือ การผลิตเม็ดเลือดแดง สามารถถูกกระตุ้นได้ในภาวะ O2 ลดต่ำลงในกระแสเลือด ซึ่งจะถูกตรวจสอบโดยไตและจะหลั่งฮอร์โมน erythropoietin ออกมาก ฮอร์โมนตัวนี้จะไปกระตุ้นการเพิ่มจำนวน (proliferation) และการเปลี่ยนสภาพ (differentiation) ของเซลล์เม็ดเลือดแดงต้นกำเนิด ซึ่งจะมีผลให้เกิดการกระตุ้นการเพิ่มกระบวนการสร้างเม็ดเลือดแดงในเนื้อเยื่อที่เกี่ยวกับการสร้างเม็ดเลือดแดง (hemopoietic tissues) ในนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม รวมถึง มนุษย์ กระบวนการนี้มักจะเกิดขึ้นที่ (red bone marrow) สำหรับทารกในครรภ์ในช่วงแรก ๆ นั้น การสร้างเม็ดเลือดแดงจะเกิดขึ้นที่ mesodermal cell ของ (yolk sac) เมื่ออายุครรภ์ได้ 3-4 เดือน การสร้างเม็ดเลือดแดงจะเปลี่ยนไปอยู่ที่ม้ามและตับ และหลังจาก 7 เดือนไปแล้ว การสร้างเม็ดเลือดแดงจะเปลี่ยนไปอยู่ที่ไขกระดูกแทน กิจกรรมทางกายภาพที่ลดลงสามารถทำให้เกิดการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม ในคนที่เป็นโรคบางอย่างและในสัตว์บางชนิด การสร้างเม็ดเลือดแดงสามารถเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นนอกเหนือจากไขกระดูกได้ เช่น ม้ามและตับ เรียกว่า
ไขกระดูกของกระดูกทั้งหมดจะผลิตเม็ดเลือดแดงจนกระทั่งเด็กอายุได้ 5 ขวบ หลังจากนั้น กระดูกแข้งและกระดูกต้นขาจะเป็นแหล่งหลักในการผลิตเม็ดเลือดแดงจนกระทั่งอายุได้ 25 ปี กระดูกสันหลัง กระดูกสันอก เชิงกรานกระดูกซี่โครง และกระดูกหุ้มสมอง จะทำหน้าที่ผลิตเม็ดเลือดแดงไปตลอดชีวิต
การเปลี่ยนสภาพของเม็ดเลือดแดง
สำหรับกระบวนการการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดแดง เซลล์จะเข้าสู่ (cellular differentiation) ขั้นตอนการพัฒนาในขั้นตอนที่ 1-7 เกิดขึ้นภายในไขกระดูก
- เป็น pluripotent hematopoietic stem cell
- multipotent stem cell
- เรียกโดยทั่วไปว่า proerythroblast หรือ rubriblast
- /early normoblast เรียกโดยทั่วไปว่า erythroblast
- /intermediate normoblast
- /late normoblast - นิวเคลียสจะถูกไล่ออกก่อนที่จะกลายเป็น reticulocyte
- reticulocyte
เซลล์จะถูกปล่อยจากไขกระดูกเข้าสู่กระแสเลือดหลังจากขั้นตอนที่ 7 โดยจะมี reticulocyte 1% หลังจาก 1-2 วัน เซลล์จะกลายเป็นเม็ดเลือดแดงเต็มวัย (erythrocytes หรือ mature red blood cells) เซลล์ในระยะนี้จะมีลักษณะที่จำเพาะเมื่อย้อมด้วย แล้วส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
ในการพัฒนาของ basophilic pronormoblast ซึ่งเป็นระยะที่เซลล์มีนิวเคลียสขนาดใหญ่และมีปริมาตรถึง 900 fL ไปเป็นเซลล์ที่ปราศจากนิวเคลียสและมีปริมาตรเพียง 95 fL ตามระยะ reticulocyte เซลล์ก็ยังมีความสามารถในการผลิตฮีโมโกลบินอยู่
สิ่งสำคัญสำหรับเม็ดเลือดแดงเต็มวัย คือ วิตามินบี 12 และ ถ้าหากขาดแล้วจะทำให้การสร้างเม็ดเลือดล้มเหลวและสามารถแสดงอาการทางคลินิกได้ เช่น ซึ่งเป็นภาวะที่เซลล์ reticulocyte มีจำนวนน้อยผิดปกติ
ลักษณะของเม็ดเลือดแดงระหว่างการสร้างเม็ดเลือดแดง
เราสามารถเห็นลักษณะการเปลี่ยนแปลงระหว่างการพัฒนาของเม็ดเลือดแดงได้ ดังนี้
- ขนาดของเซลล์จะลดลง
- ปริมาณ cytoplasmic matrix เพิ่มมากขึ้น
- ปฏิกิริยาจากการย้อมสีของไซโตพลาสซึม จะเปลี่ยนจาก basophilic ไปเป็น acidophilic (เนื่องจากการลดลงของ RNA และ DNA)
- ในระยะแรกนั้น นิวเคลียสจะใหญ่และโครมาตินจะหลวม แต่หลังจากการพัฒนาของเซลล์เม็ดเลือดแล้วขนาดของนิวเคลียสจะเล็กลงและจะหายไปพร้อมกับโครมาติน
การควบคุมการสร้างเม็ดเลือดแดง
ฮอร์โมน erythropoietin จะช่วยในการควบคุมการสร้างเม็ดเลือดแดง ดังนั้น ในภาวะปกติการสร้างเม็ดเลือดแดงจะสมดุลกับการทำลายเม็ดเลือดแดง และจำนวนเม็ดเลือดแดงก็มีปริมาณเพียงพอกับระดับความต้องการออกซิเจนของเนื้อเยื่อ แต่ไม่มากเหมือนกับที่เกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดเลือดแดง (sludging) และโรคหลอดเลือดสมอง ฮอร์โมน Erythropoietin ถูกสร้างขึ้นที่ไตและตับเพื่อตอบสนองต่อภาวะระดับออกซิเจนต่ำ รวมทั้ง Erythropoietin สามารถจับกับเม็ดเลือดแดงที่อยู่ในกระแสเลือดได้ ดังนั้น ถ้าปริมาณเม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดต่ำจะทำให้Erythropoietin ที่ไม่สามารถจับได้กับเม็ดเลือดแดงได้มีระดับที่สูงขึ้น ซึ่งจะไปกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
จากการศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ พบว่า ฮอร์โมน อาจจะมีบทบาทในการควบคุมการสร้างฮีโมโกลบินและอาจส่งผลกระทบต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง ฮอร์โมน hepcidin ถูกผลิตขึ้นที่ตับ โดยทำหน้าที่ควบคุมการดูดซึมธาตุเหล็กในระบบทางเดินอาหารและปลดปล่อยธาตุเหล็กจาก reticuloendothelial tissue ธาตุเหล็กสามารถถูกปลดปล่อยออกมาจาก macrophages ในไขกระดูกและจับกับฮีมของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดเแดง
การสูญเสียหน้าที่ของ erythropoietin receptor หรือ JAK2 ในเซลล์หนูนำไปสู่ความล้มเหลวของการสร้างเม็ดเลือดแดง ดังนั้น การสร้างเม็ดเลือดแดงในเอ็มบริโอและการเจริญเติมโตจะได้รับผลกระทบด้วย นอกจากนี้ ถ้าหากไม่มีกระบวนการ feedback inhibition เช่น SOCS (Suppressors of Cytokine Signaling) จะนำไปสู่ภาวะ giantism ในหนู
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Le, Tao; Bhushan, Vikas; Vasan, Neil (2010). . USA: p. 123. ISBN .
- Sherwood, L, Klandorf, H, Yancey, P: Animal Physiology, Brooks/Cole, Cengage Learning, 2005.
- Palis J, Segel GB (June 1998). "Developmental biology of erythropoiesis". Blood Rev. 12 (2): 106–14. doi:10.1016/S0268-960X(98)90022-4. PMID 9661799.
- Le, Tao; Bhushan, Vikas; Vasan, Neil (2010). . USA: pp. 124. ISBN .
- Textbook of Physiology by Dr. A. K. Jain reprint 2006-2007 3rd edition.
- Nicolas G, Bennoun M, Porteu A, Mativet S, Beaumont C, Grandchamp B, Sirito M, Sawadogo M, Kahn A, Vaulont S (April 2002). "Severe iron deficiency anemia in transgenic mice expressing liver hepcidin". Proc. Natl. Acad. Sci. U.S.A. 99 (7): 4596–601. Bibcode:2002PNAS...99.4596N. doi:10.1073/pnas.072632499. PMC 123693. PMID 11930010.
- Michael Föller; Stephan M. Huber; Florian Lang (August 2008). "Erythrocyte programmed cell death". IUBMB Life. 60 (10): 661–668. doi:10.1002/iub.106. PMID 18720418. S2CID 41603762.[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid karsrangemdeluxdaedng xngkvs erythropoiesis khux karphlitemdeluxdaedng samarththukkratunidinphawa O2 ldtalnginkraaeseluxd sungcathuktrwcsxbodyitaelacahlnghxromn erythropoietin xxkmak hxromntwnicaipkratunkarephimcanwn proliferation aelakarepliynsphaph differentiation khxngesllemdeluxdaedngtnkaenid sungcamiphlihekidkarkratunkarephimkrabwnkarsrangemdeluxdaednginenuxeyuxthiekiywkbkarsrangemdeluxdaedng hemopoietic tissues innkaelastweliynglukdwynm rwmthung mnusy krabwnkarnimkcaekidkhunthi red bone marrow sahrbtharkinkhrrphinchwngaerk nn karsrangemdeluxdaedngcaekidkhunthi mesodermal cell khxng yolk sac emuxxayukhrrphid 3 4 eduxn karsrangemdeluxdaedngcaepliynipxyuthimamaelatb aelahlngcak 7 eduxnipaelw karsrangemdeluxdaedngcaepliynipxyuthiikhkradukaethn kickrrmthangkayphaphthildlngsamarththaihekidkarsrangemdeluxdaedngephimkhunid xyangirktam inkhnthiepnorkhbangxyangaelainstwbangchnid karsrangemdeluxdaedngsamarthekidkhunthixwywaxunnxkehnuxcakikhkradukid echn mamaelatb eriykwasaykhxngesllemdeluxd ikhkradukkhxngkradukthnghmdcaphlitemdeluxdaedngcnkrathngedkxayuid 5 khwb hlngcaknn kradukaekhngaelakraduktnkhacaepnaehlnghlkinkarphlitemdeluxdaedngcnkrathngxayuid 25 pi kraduksnhlng kraduksnxk echingkrankraduksiokhrng aelakradukhumsmxng cathahnathiphlitemdeluxdaedngiptlxdchiwitkarepliynsphaphkhxngemdeluxdaedngsahrbkrabwnkarkarecriyetibotkhxngemdeluxdaedng esllcaekhasu cellular differentiation khntxnkarphthnainkhntxnthi 1 7 ekidkhunphayinikhkraduk epn pluripotent hematopoietic stem cell multipotent stem cell eriykodythwipwa proerythroblast hrux rubriblast early normoblast eriykodythwipwa erythroblast intermediate normoblast late normoblast niwekhliyscathukilxxkkxnthicaklayepn reticulocyte reticulocyte esllcathukplxycakikhkradukekhasukraaeseluxdhlngcakkhntxnthi 7 odycami reticulocyte 1 hlngcak 1 2 wn esllcaklayepnemdeluxdaedngetmwy erythrocytes hrux mature red blood cells esllinrayanicamilksnathicaephaaemuxyxmdwy aelwsxngdwyklxngculthrrsn inkarphthnakhxng basophilic pronormoblast sungepnrayathiesllminiwekhliyskhnadihyaelamiprimatrthung 900 fL ipepnesllthiprascakniwekhliysaelamiprimatrephiyng 95 fL tamraya reticulocyte esllkyngmikhwamsamarthinkarphlithiomoklbinxyu singsakhysahrbemdeluxdaedngetmwy khux witaminbi 12 aela thahakkhadaelwcathaihkarsrangemdeluxdlmehlwaelasamarthaesdngxakarthangkhlinikid echn sungepnphawathiesll reticulocyte micanwnnxyphidpktilksnakhxngemdeluxdaedngrahwangkarsrangemdeluxdaedngerasamarthehnlksnakarepliynaeplngrahwangkarphthnakhxngemdeluxdaedngid dngni khnadkhxngesllcaldlng priman cytoplasmic matrix ephimmakkhun ptikiriyacakkaryxmsikhxngisotphlassum caepliyncak basophilic ipepn acidophilic enuxngcakkarldlngkhxng RNA aela DNA inrayaaerknn niwekhliyscaihyaelaokhrmatincahlwm aethlngcakkarphthnakhxngesllemdeluxdaelwkhnadkhxngniwekhliyscaelklngaelacahayipphrxmkbokhrmatinkarkhwbkhumkarsrangemdeluxdaednghxromn erythropoietin cachwyinkarkhwbkhumkarsrangemdeluxdaedng dngnn inphawapktikarsrangemdeluxdaedngcasmdulkbkarthalayemdeluxdaedng aelacanwnemdeluxdaedngkmiprimanephiyngphxkbradbkhwamtxngkarxxksiecnkhxngenuxeyux aetimmakehmuxnkbthiekidcakkarrwmtwknkhxngemdeluxdaedng sludging aelaorkhhlxdeluxdsmxng hxromn Erythropoietin thuksrangkhunthiitaelatbephuxtxbsnxngtxphawaradbxxksiecnta rwmthng Erythropoietin samarthcbkbemdeluxdaedngthixyuinkraaeseluxdid dngnn thaprimanemdeluxdaednginkraaeseluxdtacathaihErythropoietin thiimsamarthcbidkbemdeluxdaedngidmiradbthisungkhun sungcaipkratunkarsrangemdeluxdaednginikhkraduk cakkarsuksaemuxerw ni phbwa hxromn xaccamibthbathinkarkhwbkhumkarsranghiomoklbinaelaxacsngphlkrathbtxkarsrangemdeluxdaedng hxromn hepcidin thukphlitkhunthitb odythahnathikhwbkhumkardudsumthatuehlkinrabbthangedinxaharaelapldplxythatuehlkcak reticuloendothelial tissue thatuehlksamarththukpldplxyxxkmacak macrophages inikhkradukaelacbkbhimkhxnghiomoklbininemdeluxdeaedng karsuyesiyhnathikhxng erythropoietin receptor hrux JAK2 inesllhnunaipsukhwamlmehlwkhxngkarsrangemdeluxdaedng dngnn karsrangemdeluxdaednginexmbrioxaelakarecriyetimotcaidrbphlkrathbdwy nxkcakni thahakimmikrabwnkar feedback inhibition echn SOCS Suppressors of Cytokine Signaling canaipsuphawa giantism inhnuduephimAnemia PolycythemiaxangxingLe Tao Bhushan Vikas Vasan Neil 2010 USA p 123 ISBN 978 0 07 163340 6 Sherwood L Klandorf H Yancey P Animal Physiology Brooks Cole Cengage Learning 2005 Palis J Segel GB June 1998 Developmental biology of erythropoiesis Blood Rev 12 2 106 14 doi 10 1016 S0268 960X 98 90022 4 PMID 9661799 Le Tao Bhushan Vikas Vasan Neil 2010 USA pp 124 ISBN 978 0 07 163340 6 Textbook of Physiology by Dr A K Jain reprint 2006 2007 3rd edition Nicolas G Bennoun M Porteu A Mativet S Beaumont C Grandchamp B Sirito M Sawadogo M Kahn A Vaulont S April 2002 Severe iron deficiency anemia in transgenic mice expressing liver hepcidin Proc Natl Acad Sci U S A 99 7 4596 601 Bibcode 2002PNAS 99 4596N doi 10 1073 pnas 072632499 PMC 123693 PMID 11930010 Michael Foller Stephan M Huber Florian Lang August 2008 Erythrocyte programmed cell death IUBMB Life 60 10 661 668 doi 10 1002 iub 106 PMID 18720418 S2CID 41603762 lingkesiy