เซอร์ ไอแซก นิวตัน (อังกฤษ: Sir Isaac Newton; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1726/27 ตามปฏิทินจูเลียน)1 นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญาธรรมชาติ นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยาชาวอังกฤษ เเละต่อมาปลายชีวิตเป็นชาวบริเตน
เซอร์ ไอแซก นิวตัน | |
---|---|
ภาพเขียนของไอแซกนิวตันขณะอายุ 46 ปี | |
เกิด | 4 มกราคม ค.ศ. 1643 (ปฏิทินกริกอเรียน) 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (ปฏิทินจูเลียน)1 ราชอาณาจักรอังกฤษ |
เสียชีวิต | 31 มีนาคม ค.ศ. 1727 (ปฏิทินกริกอเรียน) 21 มีนาคม ค.ศ. 1726 (ปฏิทินจูเลียน)1 มิดเดิลเซกซ์ เเค้วนอังกฤษ ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ |
มีชื่อเสียงจาก | กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ความโน้มถ่วงสากล แคลคูลัส ทัศนศาสตร์ |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | |
สถาบันที่ทำงาน | |
สมาชิกรัฐสภา จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ | |
ดำรงตำแหน่ง 1689–1690 | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ดำรงตำแหน่ง 1701–1702 | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ประธานราชสมาคม คนที่ 12 | |
ดำรงตำแหน่ง 1703–1727 | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ศาสตราจารย์ลูคาเซียนแห่งคณิตศาสตร์ คนที่ 2 | |
ดำรงตำแหน่ง 1669–1702 | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
พรรคการเมือง | |
ลายมือชื่อ | |
ตราอาร์ม |
ศาสตร์นิพนธ์ของนิวตันในปี ค.ศ. 1687 เรื่อง หลักการทางคณิตศาสตร์ของปรัชญาธรรมชาติ (Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica) (เรียกกันโดยทั่วไปว่า Principia) ถือเป็นหนึ่งในหนังสือที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นรากฐานของวิชากลศาสตร์ดั้งเดิม ในงานเขียนชิ้นนี้ นิวตันพรรณนาถึง กฎแรงโน้มถ่วงสากล และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ซึ่งเป็นกฎทางวิทยาศาสตร์อันเป็นเสาหลักของการศึกษาจักรวาลทางกายภาพตลอดช่วง 3 ศตวรรษถัดมา นิวตันแสดงให้เห็นว่า การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ บนโลกและวัตถุท้องฟ้าล้วนอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติชนิดเดียวกัน โดยแสดงให้เห็นความสอดคล้องระหว่างกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร์กับทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของตน ซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล และช่วยให้การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
นิวตันสร้างกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงที่สามารถใช้งานจริงได้เป็นเครื่องแรก และพัฒนาทฤษฎีสีโดยอ้างอิงจากผลสังเกตการณ์ว่า ปริซึมสามเหลี่ยมสามารถแยกแสงสีขาวออกมาเป็นหลายๆ สีได้ ซึ่งเป็นที่มาของสเปกตรัมแสงที่มองเห็น เขายังคิดค้น และศึกษาความเร็วของเสียง
ในทางคณิตศาสตร์ นิวตันกับก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ ได้ร่วมกันพัฒนาทฤษฎี เขายังสาธิตทฤษฎีบททวินาม และพัฒนากระบวนวิธีของนิวตันขึ้นเพื่อการประมาณค่ารากของฟังก์ชัน รวมถึงมีส่วนร่วมในการศึกษา
นิวตันไม่เชื่อเรื่องศาสนา เขาเป็นคริสเตียนนอกนิกายออร์โธดอกซ์ และยังเขียนงานตีความคัมภีร์ไบเบิลกับงานศึกษาด้านไสยศาสตร์มากกว่างานด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เสียอีก เขาต่อต้านแนวคิดตรีเอกภาพอย่างลับๆ และเกรงกลัวในการถูกกล่าวหาเนื่องจากปฏิเสธการถือบวช
ไอแซก นิวตัน ได้รับยกย่องจากปราชญ์และสมาชิกสมาคมต่างๆ ว่าเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
ประวัติ
วัยเด็ก
ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1642 (หรือ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2185 ตามปฏิทินจูเลียน)1 ที่วูลส์ธอร์พแมนเนอร์ ท้องถิ่นชนบทแห่งหนึ่งใน ตอนที่นิวตันเกิดนั้นประเทศอังกฤษยังไม่ยอมรับปฏิทินกริกอเรียน ดังนั้นวันเกิดของเขาจึงบันทึกเอาไว้ว่าเป็นวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 บิดาของนิวตัน ซึ่งเป็นชาวนาผู้มั่งคั่งเสียชีวิตก่อนเขาเกิด 3 เดือน เมื่อแรกเกิดนิวตันตัวเล็กมาก เขาเป็นทารกคลอดก่อนกำหนดที่ไม่มีผู้ใดคาดว่าจะรอดชีวิตได้ มารดาของเขาคือ นางฮานนาห์ อายสคัฟ บอกว่าเอานิวตันใส่ในเหยือกควอร์ทยังได้ (ขนาดประมาณ 1.1 ลิตร) เมื่อนิวตันอายุได้ 3 ขวบ มารดาของเขาแต่งงานใหม่กับสาธุคุณบาร์นาบัส สมิธ และได้ทิ้งนิวตันไว้ให้มาร์เกรี อายส์คัฟ ยายของนิวตันเลี้ยง นิวตันไม่ชอบพ่อเลี้ยง และเป็นอริกับมารดาไปด้วยฐานแต่งงานกับเขา ความรู้สึกนี้ปรากฏในงานเขียนสารภาพบาปที่เขาเขียนเมื่ออายุ 19: "ขอให้พ่อกับแม่สมิธรวมทั้งบ้านของพวกเขาถูกไฟผลาญ" นิวตันเคยหมั้นครั้งหนึ่งในช่วงปลายวัยรุ่น แต่เขาไม่เคยแต่งงานเลย เพราะอุทิศเวลาทั้งหมดให้กับการศึกษาและการทำงาน
นับแต่อายุ 12 จนถึง 17 นิวตันเข้าเรียนที่ ต่อมาในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1659 เขากลับไปบ้านเกิดเมื่อมารดาที่เป็นหม้ายครั้งที่ 2 พยายามบังคับให้เขาเป็นชาวนา แต่เขาเกลียดการทำนา ครูใหญ่ที่คิงส์สกูล เฮนรี สโตกส์ พยายามโน้มน้าวให้มารดาของเขายอมส่งเขากลับมาเรียนให้จบ จากแรงผลักดันในการแก้แค้นครั้งนี้ นิวตันจึงเป็นนักเรียนที่มีผลการเรียนสูงที่สุด
เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1661 นิวตันได้เข้าเรียนที่ ในฐานะซิซาร์ (sizar; คือทุนชนิดหนึ่งซึ่งนักศึกษาต้องทำงานเพื่อแลกกับที่พัก อาหาร และค่าธรรมเนียม) ในยุคนั้นการเรียนการสอนในวิทยาลัยตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิดของอริสโตเติล แต่นิวตันชอบศึกษาแนวคิดของนักปรัชญายุคใหม่คนอื่นๆ ที่ทันสมัยกว่า เช่น เดส์การ์ตส์ และนักดาราศาสตร์ เช่น โคเปอร์นิคัส, กาลิเลโอ และเคปเลอร์ เป็นต้น ปี ค.ศ. 1665 เขาค้นพบทฤษฎีบททวินามและเริ่มพัฒนาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ซึ่งต่อมากลายเป็น (infinitesimal calculus) นิวตันได้รับปริญญาในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1665 หลังจากนั้นไม่นาน มหาวิทยาลัยต้องปิดลงชั่วคราวเนื่องจากเกิดโรคระบาดครั้งใหญ่ แม้เมื่อศึกษาในเคมบริดจ์เขาจะไม่มีอะไรโดดเด่น แต่การศึกษาด้วยตนเองที่บ้านในวูลส์ธอร์พตลอดช่วง 2 ปีต่อมาได้สร้างพัฒนาการแก่ทฤษฎีเกี่ยวกับแคลคูลัส ธรรมชาติของแสงสว่าง และกฎแรงโน้มถ่วงของเขาอย่างมาก นิวตันได้ทำการทดลองเกี่ยวกับแสงอาทิตย์อย่างหลากหลายด้วยแท่งแก้วปริซึมและสรุปว่ารังสีต่างๆ ของแสงซึ่งนอกจากจะมีสีแตกต่างกันแล้วยังมีภาวะการหักเหต่างกันด้วย การค้นพบที่เป็นการอธิบายว่าเหตุที่ภาพที่เห็นภายในกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้เลนส์แก้วไม่ชัดเจน ก็เนื่องมาจากมุมในการหักเหของลำแสงที่ผ่านแก้วเลนส์แตกต่างกัน ทำให้ระยะโฟกัสต่างกันด้วย จึงเป็นไม่ได้ที่จะได้ภาพที่ชัดด้วยเลนส์แก้ว การค้นพบนี้กลายเป็นพื้นฐานในการพัฒนากล้องโทรทรรศน์แบบกระจกเงาสะท้อนแสงที่สมบูรณ์โดยวิลเลียม เฮอร์เชล และ ในเวลาต่อมา ในเวลาเดียวกับการทดลองเรื่องแสงสว่าง นิวตันก็ได้เริ่มงานเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องการโคจรของดาวเคราะห์
ในปี ค.ศ. 1667 เขากลับไปเคมบริดจ์อีกครั้งหนึ่งในฐานะภาคีสมาชิกของทรินิตี้ ซึ่งมีกฎเกณฑ์อยู่ว่าผู้เป็นภาคีสมาชิกต้องอุทิศตนถือบวช อันเป็นสิ่งที่ นิวตันพยายามหลีกเลี่ยงเนื่องจากมุมมองของเขาที่ไม่เห็นด้วยกับศาสนา โชคดีที่ไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอนว่าภาคีสมาชิกต้องบวชเมื่อไร จึงอาจเลื่อนไปตลอดกาลก็ได้ แต่ก็เกิดปัญหาขึ้นในเวลาต่อมาเมื่อนิวตันได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งอันทรงเกียรติ ซึ่งไม่อาจหลบเลี่ยงการบวชไปได้อีก ถึงกระนั้นนิวตันก็ยังหาทางหลบหลีกได้โดยอาศัยพระบรมราชานุญาตจากพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2
ชีวิตการงาน
การหล่นของแอปเปิลทำให้เกิดคำถามอยู่ในใจของนิวตันว่าแรงของโลกที่ทำให้ผลแอปเปิลหล่นน่าจะเป็นแรงเดียวกันกับแรงที่ “ดึง” ดวงจันทร์เอาไว้ไม่ไปที่อื่นและทำให้เกิดโคจรรอบโลกเป็นวงรี ผลการคำนวณเป็นสิ่งยืนยันความคิดนี้แต่ก็ยังไม่แน่ชัดจนกระทั่งการการเขียนจดหมายโต้ตอบระหว่างนิวตันและรอเบิร์ต ฮุก ที่ทำให้นิวตันมีความมั่นใจและยืนยันหลักการกลศาสตร์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ได้เต็มที่ ในปีเดียวกันนั้น เอ็ดมันด์ แฮลลีย์ได้มาเยี่ยมนิวตันเพื่อถกเถียงเกี่ยวกับคำถามเรื่องดาวเคราะห์ ฮัลลเลย์ต้องประหลาดใจที่นิวตันกล่าวว่าแรงกระทำระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ที่ทำให้การวงโคจรรูปวงรีได้นั้นเป็นไปตามกฎกำลังสองที่นิวตันได้พิสูจน์ไว้แล้วนั่นเอง ซึ่งนิวตันได้ส่งเอกสารในเรื่องนี้ไปให้ฮัลเลย์ดูในภายหลังและฮัลเลย์ก็ได้ชักชวนขอให้นิวตันเขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้น และหลังการเป็นศัตรูคู่ปรปักษ์ระหว่างนิวตันและฮุกมาเป็นเวลานานเกี่ยวกับการอ้างสิทธิ์ในการเป็นผู้ค้นพบ “กฎกำลังสอง” แห่งการดึงดูด หนังสือเรื่อง "หลักการคณิตศาสตร์ว่าด้วยปรัชญาธรรมชาติ” (Philosophiae naturalist principia mathematica หรือ The Mathematical Principles of Natural Philosophy) ก็ได้รับการตีพิมพ์ เนื้อหาในเล่มอธิบายเรื่องความโน้มถ่วงสากล และเป็นการวางรากฐานของกลศาสตร์ดั้งเดิม (กลศาสตร์คลาสสิก) ผ่านกฎการเคลื่อนที่ ซึ่งนิวตันตั้งขึ้น นอกจากนี้ นิวตันยังมีชื่อเสียงร่วมกับ ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ไลบ์นิทซ์ ในฐานะที่ต่างเป็นผู้พัฒนาแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์อีกด้วย
งานสำคัญชิ้นนี้ซึ่งถูกหยุดไม่ได้พิมพ์อยู่หลายปีได้ทำให้นิวตันได้รับการยอมรับว่าเป็นนักฟิสิกส์กายภาพที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ผลกระทบมีสูงมาก นิวตันได้เปลี่ยนโฉมวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าที่มีมาแต่เดิมโดยสิ้นเชิง นิวตันได้ทำให้งานที่เริ่มมาตั้งแต่สมัยกลางและได้รับการเสริมต่อโดยความพยายามของกาลิเลโอเป็นผลสำเร็จลง และ “กฎการเคลื่อนที่” นี้ได้กลายเป็นพื้นฐานของงานสำคัญทั้งหมดในสมัยต่อๆ มา
ในขณะเดียวกัน การมีส่วนในการต่อสู้การบุกรุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัยอย่างผิดกฎหมายจากพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทำให้นิวตันได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภาในปี พ.ศ. 2232-33 ต่อมาปี พ.ศ. 2239 นิวตันได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ดูแลโรงผลิตเหรียญกษาปณ์เนื่องจากรัฐบาลต้องการบุคคลที่ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเฉลียวฉลาดเพื่อต่อสู้กับการปลอมแปลงที่ดาษดื่นมากขึ้นในขณะนั้นซึ่งต่อมา นิวตันก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการในปี พ.ศ. 2242 หลังจากได้แสดงความสามารถเป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นผู้บริหารที่ยอดเยี่ยม และในปี พ.ศ. 2244 นิวตันได้รับเลือกเข้าสู้รัฐสภาอีกครั้งหนึ่งในฐานะผู้แทนของมหาวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2247 นิวตันได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง “ทัศนศาสตร์” หรือ Optics ฉบับภาษาอังกฤษ (สมัยนั้นตำรามักพิมพ์เป็นภาษาละติน) ซึ่งนิวตันไม่ยอมตีพิมพ์จนกระทั่งฮุก คู่ปรับเก่าถึงแก่กรรมไปแล้ว
ชีวิตครอบครัว
นิวตันไม่เคยแต่งงาน และไม่มีหลักฐานใดที่บ่งบอกว่าเขาเคยมีความสัมพันธ์เชิงชู้สาวกับผู้ใด[] แม้จะไม่สามารถระบุได้แน่ชัด แต่ก็เชื่อกันโดยทั่วไปว่าเขาถึงแก่กรรมไปโดยที่ยังบริสุทธิ์ ดังที่บุคคลสำคัญหลายคนกล่าวถึง เช่นนักคณิตศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ และนักฟิสิกส์ คาร์ล เซแกน
วอลแตร์ นักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสซึ่งพำนักในลอนดอนในช่วงเวลาที่ฝังศพของนิวตัน อ้างว่าเขาได้ค้นพบข้อเท็จจริงนี้ เขาเขียนไว้ว่า "ผมได้รับการยืนยันจากหมอและศัลยแพทย์ที่อยู่กับเขาตอนที่เขาตาย" (เรื่องที่อ้างกล่าวว่า ขณะที่เขานอนบนเตียงและกำลังจะตาย ก็สารภาพออกมาว่าเขายังบริสุทธิ์อยู่) ในปี 1733 วอลแตร์ระบุโดยเปิดเผยว่านิวตัน "ไม่มีทั้งความหลงใหลหรือความอ่อนแอ เขาไม่เคยเข้าใกล้หญิงใดเลย"
นิวตันมีมิตรภาพอันสนิทสนมกับนักคณิตศาสตร์ชาวสวิส นีกอลา ฟาซีโย เดอ ดุยเย ซึ่งเขาพบในลอนดอนราวปี 1690 แต่มิตรภาพนี้กลับสิ้นสุดลงเสียเฉย ๆ ในปี 1693 จดหมายติดต่อระหว่างทั้งคู่บางส่วนยังคงเหลือรอดมาถึงปัจจุบัน
บั้นปลายของชีวิต
ชีวิตส่วนใหญ่ของนิวตันอยู่กับความขัดแย้งกับบรรดานักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆ โดยเฉพาะฮุก, ไลบ์นิทซ์ และแฟลมสตีด ซึ่งนิวตันแก้เผ็ดโดยวิธีลบเรื่องหรือข้อความที่เป็นจินตนาการหรือไม่ค่อยเป็นจริงที่ได้อ้างอิงว่าเป็นการช่วยเหลือของพวกเหล่านั้นออกจากงานของนิวตันเอง นิวตันตอบโต้การวิพากษ์วิจารณ์งานของตนอย่างดุเดือดเสมอ และมักมีความปริวิตกอยู่เป็นนิจจนเชื่อกันว่าเกิดจากการถูกมารดาทอดทิ้งในสมัยที่เป็นเด็ก และความบ้าคลั่งดังกล่าวแสดงนี้มีให้เห็นตลอดการมีชีวิต อาการสติแตกของนิวตันในปี พ.ศ. 2236 ถือเป็นการป่าวประกาศยุติการทำงานด้านวิทยาศาสตร์ของนิวตัน หลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นขุนนางระดับเซอร์ในปี พ.ศ. 2248 นิวตันใช้ชีวิตในบั้นปลายภายใต้การดูแลของหลานสาว นิวตันไม่ได้แต่งงาน แต่ก็มีความสุขเป็นอย่างมากในการอุปการะนักวิทยาศาสตร์รุ่นหลัง ๆ และนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2246 เป็นต้นมาจนถึงวาระสุดท้ายแห่งชีวิต นิวตันดำรงตำแหน่งเป็นนายกราชสมาคมแห่งลอนดอนที่ได้รับสมญา “นายกสภาผู้กดขี่”
เมื่อนิวตันเสียชีวิตลง พิธีศพของเขาจัดอย่างยิ่งใหญ่เทียบเท่ากษัตริย์ ศพของเขาฝังอยู่ที่มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ เช่นเดียวกับกษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูงของอังกฤษ
เซอร์ไอแซก นิวตันมีชีวิตอยู่ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือพระเจ้าท้ายสระแห่งสมัยกรุงศรีอยุธยา
ผลงาน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ด้านคณิตศาสตร์
กล่าวกันว่า ผลงานของนิวตันเป็น "ความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในทุกสาขาของคณิตศาสตร์ในยุคนั้น ผลงานที่เขาเรียกว่า Fluxion หรือแคลคูลัส ซึ่งปรากฏอยู่ในงานเขียนชุดหนึ่งเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1666 ในปัจจุบันได้รับการตีพิมพ์อยู่รวมกับงานด้านคณิตศาสตร์อื่นๆ ของนิวตัน ในจดหมายที่ ส่งไปให้เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1669 กล่าวถึงผู้เขียนต้นฉบับ ที่เขาส่งไปให้คอลลินส์เมื่อเดือนมิถุนายนปีเดียวกันนั้นว่า
Mr Newton, a fellow of our College, and very young ... but of an extraordinary genius and proficiency in these things.
ต่อมานิวตันมีข้อขัดแย้งกับไลบ์นิทซ์ในเรื่องที่ว่า ใครเป็นผู้คิดพัฒนาแคลคูลัสก่อนกัน นักประวัติศาสตร์ยุคใหม่เชื่อว่าทั้งนิวตันและไลบ์นิทซ์ต่างคนต่างก็พัฒนากันโดยอิสระ แม้ว่าจะมีบันทึกที่แตกต่างกันมากมาย ดูเหมือนว่า นิวตันจะไม่เคยตีพิมพ์อะไรเกี่ยวกับแคลคูลัสเลยก่อนปี พ.ศ. 2236 และไม่ได้เขียนบทความฉบับสมบูรณ์ในเรื่องนี้ตราบจนปี พ.ศ. 2247 ขณะที่ไลบ์นิทซ์เริ่มตีพิมพ์บทความฉบับเต็มเกี่ยวกับกระบวนวิธีคิดของเขาในปี พ.ศ. 2227 (บันทึกของไลบ์นิทซ์และ "กระบวนวิธีดิฟเฟอเรนเชียล" เป็นที่ยอมรับนำไปใช้โดยนักคณิตศาสตร์ในภาคพื้นยุโรป และต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษจึงค่อยรับไปใช้ในปี พ.ศ. 2363) แต่อย่างไรก็ดี แนวคิดนี้ไม่ได้ให้ข้อสังเกตในเนื้อหาของแคลคูลัส ซึ่งนักวิจารณ์ทั้งในยุคของนิวตันและยุคสมัยใหม่ต่างระบุว่า มีอยู่ในเล่มที่ 1 ของหนังสือชุด Principia ของนิวตัน (ตีพิมพ์ปี 2230) และในต้นฉบับลายมือเขียนที่มีมาก่อนหน้านี้ เช่น De motu corporum in gyrum ("การเคลื่อนที่ของวัตถุในวงโคจร") เมื่อปี 1684 Principia ไม่ได้เขียนในภาษาแคลคูลัสแบบที่เรารู้จัก แต่มีการใช้แคลคูลัสกณิกนันต์ในรูปแบบเรขาคณิต ว่าด้วยจำนวนที่ถูกจำกัดด้วยสัดส่วนของจำนวนที่เล็กลงไปเรื่อยๆ นิวตันสาธิตวิธีการนี้เอาไว้ใน Principia โดยเรียกชื่อมันว่า กระบวนวิธีสัดส่วนแรกและสัดส่วนสุดท้าย (method of first and last ratios) และอธิบายไว้ว่าเหตุใดเขาจึงแสดงความหมายของมันในรูปแบบเช่นนี้ โดยกล่าวด้วยว่า "นี้คือการแสดงวิธีแบบเดียวกันกับกระบวนการของการแบ่งแยกไม่ได้อีกต่อไป"
ด้วยเหตุนี้ในยุคปัจจุบัน Principia จึงถูกเรียกว่าเป็น "หนังสือที่อัดแน่นด้วยทฤษฏีและการประยุกต์ใช้แคลคูลัสกณิกนันต์" และ "lequel est presque tout de ce calcul" ("แทบทุกสิ่งอย่างเกี่ยวกับแคลคูลัส") ในยุคของนิวตัน การใช้กระบวนวิธีเช่นนี้ของเขาที่เกี่ยวข้องกับ "จำนวนกณิกนันต์หนึ่งอันดับหรือมากกว่านั้น" ได้แสดงไว้ในงานเขียน De motu corporum in gyrum ของเขาเมื่อปี 1684 และในงานเขียนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ที่เขียนขึ้น "ระหว่าง 2 ทศวรรษก่อนปี 1684"
นิวตันลังเลในการเผยแพร่แคลคูลัสของเขาก็เพราะเขากลัวข้อโต้แย้งและคำวิพากษ์วิจารณ์ เขาเคยสนิทสนมกับนักคณิตศาสตร์ชาวสวิส นีกอลา ฟาซีโย เดอ ดุยเย ครั้นปี 2234 ดุยเยเริ่มต้นเขียน Principia ของนิวตันขึ้นในรูปแบบใหม่ และติดต่อกับไลบ์นิทซ์ มิตรภาพระหว่างดุยเยกับนิวตันเริ่มเสื่อมลงตั้งแต่ปี 2236 และหนังสือนั้นก็เลยเขียนไม่เสร็จ
สมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอนหลายคน (สมาคมซึ่งนิวตันเป็นสมาชิกอยู่ด้วย) เริ่มกล่าวหาไลบ์นิทซ์ว่าลอกเลียนผลงานของนิวตันในปี พ.ศ. 2242 ข้อโต้แย้งรุนแรงขึ้นถึงขั้นแตกหักในปี 2254 เมื่อทางราชสมาคมฯ ประกาศในงานศึกษาชิ้นหนึ่งว่า นิวตันคือผู้ค้นพบแคลคูลัสที่แท้จริง และตราหน้าไลบ์นิทซ์ว่าเป็นจอมหลอกลวง งานศึกษาชิ้นนั้นกลายเป็นที่เคลือบแคลงสงสัยเมื่อพบในภายหลังว่าตัวนิวตันนั่นเองที่เป็นคนเขียนบทสรุปของงานโดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับไลบ์นิทซ์ ข้อขัดแย้งในเรื่องนี้กลายเป็นรอยด่างพร้อยในชีวิตของทั้งนิวตันและไลบ์นิทซ์ตราบจนกระทั่งไลบ์นิทซ์เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2259
นิวตันได้รับยกย่องโดยทั่วไปเนื่องจากทฤษฎีบททวินามที่ใช้ได้สำหรับเลขยกกำลังใดๆ เขาเป็นผู้ค้นพบ , , (พหุนามกำลังสามในตัวแปรสองตัว) เขามีส่วนอย่างสำคัญต่อทฤษฎี , และเป็นคนแรกที่ใช้เลขชี้กำลังที่ไม่เป็นจำนวนเต็ม และนำเรขาคณิตเชิงพิกัดมาใช้หาคำตอบจาก เขาหาค่าผลบวกย่อยโดยประมาณของได้โดยใช้ลอการิทึม (ก่อนจะมีสมการผลรวมของออยเลอร์) และเป็นคนแรกที่ใช้และพิจารณาอนุกรมแปลงกลับของอนุกรมกำลัง (reverse power series) งานของนิวตันเกี่ยวกับอนุกรมอนันต์ได้รับแรงบันดาลใจจากเลขทศนิยมของไซมอน สเตวิน (Simon Stevin)
นิวตันได้รับแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์ลูเคเชียนด้านคณิตศาสตร์เมื่อปี พ.ศ. 2212 โดยการเสนอชื่อของแบร์โรว์ ซึ่งในวันรับตำแหน่งนั้น ผู้รับตำแหน่งที่เป็นภาคีสมาชิกของเคมบริดจ์หรือออกซฟอร์ดจะต้องบวชเข้าเป็นพระในนิกายแองกลิกัน อย่างไรก็ดี ตำแหน่งศาสตราจารย์ลูเคเชียนนี้ไม่ได้บังคับว่าผู้รับตำแหน่งจะต้องปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนา (คาดว่าคงเพราะต้องการให้มีเวลาเพื่อวิทยาศาสตร์มากกว่า) นิวตันจึงยกเป็นข้ออ้างว่าตนไม่จำเป็นต้องบวช และได้รับพระราชานุญาตจากพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ
ช่วงปี 2213-2215 นิวตันสอนวิชาทัศนศาสตร์ ในระหว่างช่วงเวลานี้ เขาศึกษาเรื่องการหักเหของแสง โดยแสดงให้เห็นว่า ปริซึมสามารถแตกแสงขาวให้กลายเป็นสเปกตรัมของแสงได้ และถ้ามีเลนส์กับปริซึมอีกแท่งหนึ่งจะสามารถรวมแสงสเปกตรัมหลายสีกลับมาเป็นแสงขาวได้ นักวิชาการยุคใหม่เปิดเผยว่างานวิเคราะห์แสงขาวของนิวตันนี้เป็นผลมาจากวิชาเล่นแร่แปรธาตุเชิงคอร์พัสคิวลาร์
เขายังแสดงให้เห็นว่า แสงที่มีสีจะไม่เปลี่ยนคุณสมบัติไปไม่ว่าจะถูกกระจายลำแสงออกส่องไปยังพื้นผิววัตถุใดๆ ก็ตาม นิวตันให้ข้อสังเกตว่า ไม่ว่าแสงนั้นจะสะท้อน กระจาย หรือเคลื่อนผ่านอะไร มันก็ยังคงเป็นสีเดิมอยู่นั่นเอง นอกจากนี้เขาสังเกตว่า สีนั้นคือผลลัพธ์จากการที่วัตถุมีปฏิกิริยากับแสงที่มีสีอยู่แล้ว ไม่ใช่ว่าวัตถุนั้นสร้างสีของมันออกมาเอง แนวคิดนี้รู้จักในชื่อ ทฤษฎีสีของนิวตัน (Newton's theory of colour)
เกียรติคุณและอนุสรณ์
นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ มักพูดบ่อยๆ ว่านิวตันเป็นอัจฉริยะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่เคยมีมา มีอยู่ครั้งหนึ่งเขากล่าวว่า นิวตันนั้น "โชคดีที่สุด เพราะเราไม่อาจค้นพบระบบของโลกได้มากกว่า 1 ครั้ง" กวีชาวอังกฤษ ได้รับแรงบันดาลใจจากความสำเร็จของนิวตัน และเขียนบทกวีที่โด่งดังมาก ดังนี้:
ธรรมชาติและกฎแห่งธรรมชาติซ่อนตัวอยู่ในรัตติกาล
พระเจ้าตรัสว่า "ให้นิวตันกำเนิด" แสงสว่างจึงได้มีขึ้น
Nature and nature's laws lay hid in night;God said "Let Newton be" and there was light.
แม้โดยทางบุคลิกภาพแล้ว นิวตันจะไม่ใช่คนถ่อมตัวนัก แต่นิวตันก็มีมารยาทพอที่จะถ่อมตัวกับความสำเร็จของตัวเอง ครั้งหนึ่งเขาเขียนจดหมายถึงรอเบิร์ต ฮุก ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2219 ว่า:
ถ้าฉันสามารถมองได้ไกลกว่าผู้อื่น นั่นก็เพราะฉันยืนอยู่บนไหล่ของยักษ์
If I have seen further it is by standing on the shoulders of giants.
อย่างไรก็ดี นักเขียนบางคนเชื่อว่า ถ้อยคำข้างต้นซึ่งเขียนขึ้นในช่วงเวลาที่นิวตันกับฮุกกำลังมีปัญหาขัดแย้งกันเกี่ยวกับการค้นพบเรื่องแสง น่าจะเป็นการตอบโต้ฮุก (โดยว่าเป็นถ้อยคำที่ทั้งสั้นและห้วน) มากกว่าจะเป็นการถ่อมตน วลี "ยืนบนบ่าของยักษ์" อันโด่งดังตีพิมพ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยกวีชื่อ (อดีตโฆษกมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และภาคีสมาชิกของวิทยาลัยทรินิตี้) ในงานเขียนเรื่อง Jacula Prudentum (1651) มีความหมายหลักคือ "คนแคระที่ยืนบนบ่าของยักษ์ จะมองเห็นได้ไกลกว่าที่แต่ละคนมอง" ผลกระทบในที่นี้จึงน่าจะเป็นการเปรียบเปรยว่าตัวนิวตันนั่นเองที่เป็น "คนแคระ" ไม่ใช่ฮุก
มีบันทึกในช่วงหลัง นิวตันเขียนว่า:
ฉันไม่รู้หรอกว่าโลกเห็นฉันเป็นอย่างไร แต่กับตัวเองแล้ว ฉันเหมือนจะเป็นเด็กที่เล่นอยู่ริมชายฝั่ง เพลิดเพลินกับการเสาะหาก้อนกรวดเรียบๆ หรือเปลือกหอยที่สวยเป็นพิเศษ ขณะที่มหาสมุทรแห่งความจริงอันยิ่งใหญ่ทอดตัวอยู่เบื้องหน้าโดยยังไม่ถูกค้นพบ
นิวตันยังคงมีอิทธิพลต่อนักวิทยาศาสตร์มาตลอด เห็นได้จากการสำรวจความคิดเห็นสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอน (ซึ่งนิวตันเคยเป็นประธาน) เมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยถามว่า ใครเป็นผู้มีอิทธิพลยิ่งใหญ่ต่อประวัติศาสตร์แห่งวิทยาศาสตร์มากกว่ากันระหว่างนิวตันกับไอน์สไตน์ นักวิทยาศาสตร์แห่งราชสมาคมฯ ให้ความเห็นโดยส่วนใหญ่แก่นิวตันมากกว่า ปี พ.ศ. 2542 มีการสำรวจความคิดเห็นจากนักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกปัจจุบัน 100 คน ลงคะแนนให้ไอน์สไตน์เป็น "นักฟิสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล" โดยมีนิวตันตามมาเป็นอันดับสอง ในเวลาใกล้เคียงกันมีการสำรวจโดยเว็บไซต์ PhysicsWeb ให้คะแนนนิวตันมาเป็นอันดับหนึ่ง
อนุสรณ์
อนุสาวรีย์นิวตัน (2274) ตั้งอยู่ในมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ ด้านทิศเหนือของทางเดินสู่เวทีนักร้องของโบสถ์ ใกล้กับที่ฝังศพของเขา ศิลปินผู้แกะสลักคือ ไมเคิล ไรส์แบร็ค (2237-2313) ทำด้วยหินอ่อนสีขาวและเทา ออกแบบโดยสถาปนิก วิลเลียม เคนท์ เป็นรูปปั้นนิวตันกำลังนอนเอนอยู่เหนือหีบศพ ศอกขวาตั้งอยู่บนหนังสือสำคัญหลายเล่มของเขา มือซ้ายชี้ไปยังม้วนหนังสือที่ออกแบบในเชิงคณิตศาสตร์ เหนือร่างเขาเป็นพีระมิดกับโดมท้องฟ้า แสดงสัญลักษณ์จักรราศีและเส้นทางเดินของดาวหางใหญ่แห่งปี 2223 ด้านข้างมียุวเทพกำลังใช้เครื่องมือหลายอย่างเช่นกล้องโทรทรรศน์และปริซึม
เชิงอรรถ
หมายเหตุ 1: ในช่วงชีวิตของนิวตัน มีการใช้งานปฏิทินอยู่ 2 ชนิดในยุโรป คือ ปฏิทินจูเลียน หรือ'ปฏิทินแบบเก่า' กับ ปฏิทินกริกอเรียน หรือ 'ปฏิทินแบบใหม่' ซึ่งใช้กันในประเทศยุโรปที่นับถือโรมันคาทอลิก และที่อื่นๆ ตอนที่นิวตันเกิด วันที่ในปฏิทินกริกอเรียนจะนำหน้าปฏิทินจูเลียนอยู่ 10 วัน ดังนั้น นิวตันจึงเกิดในวันคริสต์มาส หรือ 25 ธันวาคม 2185 ตามปฏิทินจูเลียน แต่เกิดวันที่ 4 มกราคม 2186 ตามปฏิทินกริกอเรียน เมื่อถึงวันที่เสียชีวิต ปฏิทินทั้งสองมีความแตกต่างกันเพิ่มเป็น 11 วัน นอกจากนี้ ก่อนที่อังกฤษจะรับเอาปฏิทินกริกอเรียนเข้ามาใช้ในปี พ.ศ. 2295 วันขึ้นปีใหม่ของอังกฤษเริ่มในวันที่ 25 มีนาคม (หรือ 'วันสุภาพสตรี' (Lady Day) ทั้งตามกฎหมายและตามประเพณีท้องถิ่น) มิใช่วันที่ 1 มกราคม หากมิได้มีการระบุไว้เป็นอย่างอื่น วันที่ทั้งหลายที่ปรากฏในบทความนี้จะเป็นวันที่ตามปฏิทินจูเลียน
อ้างอิง
- "The Early Period (1608–1672)". James R. Graham's Home Page. สืบค้นเมื่อ 2009-02-03.[]
- Cohen, I.B. (1970). Dictionary of Scientific Biography, Vol. 11, p.43. New York: Charles Scribner's Sons
- . Isaac Newton Institute for Mathematical Sciences. 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-28. สืบค้นเมื่อ 2010-03-28.
- "Isaac Newton". Bellevue College. สืบค้นเมื่อ 2010-03-28.
- Newton, Isaac (1967). The Mathematical Papers of Isaac Newton: 1664-1666. Cambridge: Cambridge University Press. p. 8. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2010-03-28.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Westfall 1994, pp 16-19
- White 1997, p. 22
- Michael White, Isaac Newton (1999) page 46 2016-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ed. Michael Hoskins (1997). Cambridge Illustrated History of Astronomy, p. 159.
- (1815). A Philosophical and Mathematical Dictionary Containing... Memoirs of the Lives and Writings of the Most Eminent Authors, Volume 2. p. 100. สืบค้นเมื่อ September 11, 2012.
- John Maynard Keynes. "Newton: the Man". University of St Andrews School of Mathematics and Statistics. สืบค้นเมื่อ September 11, 2012.
- Carl, Sagan (1980). Cosmos. New York: Random House. ISBN . สืบค้นเมื่อ September 11, 2012.
- Letters on England, 14, pp. 68-70, as referenced in the footnote for the quote in p. 6 of James Gleick's biography, Isaac Newton
- Stokes, Mitch (2010). Isaac Newton. Thomas Nelson. p. 154. ISBN . สืบค้นเมื่อ September 11, 2012.
- Foster, Jacob (2005). . . 5 (1). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-15. สืบค้นเมื่อ 2012-09-17.
- Gjertsen, Derek (1986). The Newton Handbook. Taylor & Francis. p. 105. ISBN . สืบค้นเมื่อ September 11, 2012.
- (2011). Newton: The Making of Genius. Pan Macmillan. ISBN .
{{}}
:|access-date=
ต้องการ|url=
((help)) - Professor Robert A. Hatch, University of Florida. "Newton Timeline". สืบค้นเมื่อ August 13.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - W W Rouse Ball (1908). A short account of the history of mathematics. p. 319.
- D T Whiteside (ed.), The Mathematical Papers of Isaac Newton (Volume 1), (Cambridge University Press, 1967), part 7 "The October 1666 Tract on Fluxions", at page 400, in 2008 reprint.
- D Gjertsen (1986), "The Newton handbook", (London (Routledge & Kegan Paul) 1986), at page 149.
- Newton, 'Principia', 1729 English translation, at page 41.
- Newton, 'Principia', 1729 English translation, at page 54.
- Clifford Truesdell, Essays in the History of Mechanics (Berlin, 1968), at p.99.
- อยู่ในบทนำของหนังสือของ Marquis de L'Hospital's Analyse des Infiniment Petits (Paris, 1696).
- เริ่มต้นด้วย , ดูเพิ่มที่ (Latin) Theorem 1.
- D T Whiteside (1970), "The Mathematical principles underlying Newton's Principia Mathematica" in Journal for the History of Astronomy, vol.1, pages 116–138, especially at pages 119–120.
- Stewart 2009, p.107
- Westfall 1980, pp 538–539
- Ball 1908, p. 356ff
- Błaszczyk, Piotr; ; Sherry, David (2012), "Ten misconceptions from the history of analysis and their debunking", , :1202.4153, doi:10.1007/s10699-012-9285-8
- King, Henry C (2003). ''The History of the Telescope'' By Henry C. King, Page 74. Google Books. ISBN . สืบค้นเมื่อ 16 January 2010.
- Newton, Isaac. "Hydrostatics, Optics, Sound and Heat". Cambridge University Digital Library. สืบค้นเมื่อ 10 January 2012.
- Ball 1908, p. 324
- , "Newton's Early Optical Theory and its Debt to Chymistry," in Danielle Jacquart and Michel Hochmann, eds., Lumière et vision dans les sciences et dans les arts (Geneva: Droz, 2010), pp. 283-307. A free access online version of this article can be found at the Chymistry of Isaac Newton project
- Ball 1908, p. 325
- Fred L. Wilson, History of Science: Newton citing: Delambre, M. "Notice sur la vie et les ouvrages de M. le comte J. L. Lagrange," Oeuvres de Lagrange I. Paris, 1867, p. xx.
- จดหมายจากไอแซก นิวตัน ถึงรอเบิร์ต ฮุก, 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1676, บันทึกไว้ในผลงานของ ชอง-ปีแยร์ เมอรี (1992) Newton: Understanding the Cosmos, New Horizons
- Wikipedia ,
- John Gribbin (2002) Science: A History 1543-2001, p 164.
- White 1997, p187.
- Memoirs of the Life, Writings, and Discoveries of Sir Isaac Newton (1855) โดย เซอร์เดวิด บรูสเตอร์ (Volume II. Ch. 27)
- "Newton beats Einstein in polls of Royal Society scientists and the public". The Royal Society.
- Opinion poll. Einstein voted "greatest physicist ever" by leading physicists; Newton runner-up: BBC news, Monday, 29 November 1999, News.bbc.co.uk
- . Westminster Abbey. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-16. สืบค้นเมื่อ 2009-11-13.
บรรณานุกรม
- Ball, W.W. Rouse (1908). A Short Account of the History of Mathematics. New York: Dover. ISBN .
- Christianson, Gale (1984). In the Presence of the Creator: Isaac Newton & His Times. New York: Free Press. ISBN . This well documented work provides, in particular, valuable information regarding Newton's knowledge of
- Craig, John (1958). "Isaac Newton – Crime Investigator". Nature. 182 (4629): 149–152. Bibcode:1958Natur.182..149C. doi:10.1038/182149a0.
- Craig, John (1963). "Isaac Newton and the Counterfeiters". Notes and Records of the Royal Society of London. 18 (2): 136–145. doi:10.1098/rsnr.1963.0017.
- Levenson, Thomas (2010). Newton and the Counterfeiter: The Unknown Detective Career of the World's Greatest Scientist. Mariner Books. ISBN .
- Stewart, James (2009). Calculus: Concepts and Contexts. Cengage Learning. ISBN .
- (1980, 1998). Never at Rest. Cambridge University Press. ISBN .
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|year=
((help)) - Westfall, Richard S. (2007). Isaac Newton. Cambridge University Press. ISBN .
- Westfall, Richard S. (1994). The Life of Isaac Newton. Cambridge University Press. ISBN .
- (1997). Isaac Newton: The Last Sorcerer. Fourth Estate Limited. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- The Newton Project 2004-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - รวบรวมประวัติและผลงานของนิวตันในทุกสาขา
- ScienceWorld biography โดย Eric Weisstein
- Dictionary of Scientific Biography
- The Newton Project
- The Newton Project - Canada
- (via archive.org)
- Newton's Religious Views Reconsidered 2007-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Newton's Royal Mint Reports
- Newton's Dark Secrets TV programme
- จากสารานุกรมปรัชญาของสแตนฟอร์ด:
- Isaac Newton, โดย จอร์จ สมิธ
- Newton's Philosophiae Naturalis Principia Mathematica, โดย จอร์จ สมิธ
- Newton's Philosophy, โดย แอนดรูว์ จาเนียค
- Newton's views on space, time, and motion, โดย Robert Rynasiewicz
- Newton's Castle Educational material
- The Chymistry of Isaac Newton งานวิจัยเกี่ยวกับงานเขียนของนิวตันเรื่องการเล่นแร่แปรธาตุ
- FMA Live! Program for teaching Newton's laws to kids 2016-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Newton's religious position 2009-08-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The "General Scholium" to Newton's Principia เก็บถาวร 2003-05-13 ที่
- Kandaswamy, Anand M. The Newton/Leibniz Conflict in Context
- Newton's First ODE 2007-07-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – การศึกษาว่าด้วยวิธีที่นิวตันประมาณการผลลัพธ์ของการแก้สมการอันดับที่หนึ่งโดยใช้อนุกรมอนันต์
- The Mind of Isaac Newton 2006-12-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สื่อภาพ เสียง แอนิเมชั่น และสื่ออินเตอร์แอคทีฟอื่นๆ
- Enlightening Science วิดีโอเกี่ยวกับชีวประวัติของนิวตัน ทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ และมุมมองของเขาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และศาสนา
- ชีวประวัติของนิวตัน (มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูว์ส)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esxr ixaesk niwtn xngkvs Sir Isaac Newton 25 thnwakhm kh s 1642 20 minakhm kh s 1726 27 tamptithincueliyn 1 nkfisiks nkkhnitsastr nkdarasastr nkprchyathrrmchati nkelnaeraeprthatu aelankethwwithyachawxngkvs eelatxmaplaychiwitepnchawbrietnesxr ixaesk niwtnphaphekhiynkhxngixaeskniwtnkhnaxayu 46 piekid4 mkrakhm kh s 1643 ptithinkrikxeriyn 25 thnwakhm kh s 1642 ptithincueliyn 1 rachxanackrxngkvsesiychiwit31 minakhm kh s 1727 ptithinkrikxeriyn 21 minakhm kh s 1726 ptithincueliyn 1 midedilesks eekhwnxngkvs rachxanackrbrietnihysisyekamhawithyalyekhmbridcmichuxesiyngcakkdkarekhluxnthikhxngniwtn khwamonmthwngsakl aekhlkhuls thsnsastrxachiphthangwithyasastrsakhafisiksprchyathrrmchatielnaeraeprthatuethwwithyakhnitsastrdarasastresrsthsastrsthabnthithanganmhawithyalyekhmbridcrachsmakhmsmachikrthspha cakmhawithyalyekhmbridcdarngtaaehnng 1689 1690kxnhnathdipdarngtaaehnng 1701 1702kxnhnathdipprathanrachsmakhm khnthi 12darngtaaehnng 1703 1727kxnhnathdipsastracarylukhaesiynaehngkhnitsastr khnthi 2darngtaaehnng 1669 1702kxnhnathdipkhxmulswnbukhkhlphrrkhkaremuxnglaymuxchuxtraxarmbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha sastrniphnthkhxngniwtninpi kh s 1687 eruxng hlkkarthangkhnitsastrkhxngprchyathrrmchati Philosophiae Naturalis Principia Mathematica eriykknodythwipwa Principia thuxepnhnunginhnngsuxthimixiththiphlthisudinprawtisastrwithyasastr epnrakthankhxngwichaklsastrdngedim innganekhiynchinni niwtnphrrnnathung kdaerngonmthwngsakl aela kdkarekhluxnthikhxngniwtn sungepnkdthangwithyasastrxnepnesahlkkhxngkarsuksackrwalthangkayphaphtlxdchwng 3 stwrrsthdma niwtnaesdngihehnwa karekhluxnthikhxngwtthutang bnolkaelawtthuthxngfalwnxyuphayitkdthrrmchatichnidediywkn odyaesdngihehnkhwamsxdkhlxngrahwangkdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhpelxrkbthvsdiaerngonmthwngkhxngtn sungchwyyunynaenwkhiddwngxathityepnsunyklangckrwal aelachwyihkarptiwtiwithyasastrkawhnayingkhun niwtnsrangklxngothrthrrsnsathxnaesngthisamarthichngancringidepnekhruxngaerk aelaphthnathvsdisiodyxangxingcakphlsngektkarnwa prisumsamehliymsamarthaeykaesngsikhawxxkmaepnhlay siid sungepnthimakhxngsepktrmaesngthimxngehn ekhayngkhidkhn aelasuksakhwamerwkhxngesiyng inthangkhnitsastr niwtnkbkxthfrith wilehlm ilbniths idrwmknphthnathvsdi ekhayngsathitthvsdibththwinam aelaphthnakrabwnwithikhxngniwtnkhunephuxkarpramankharakkhxngfngkchn rwmthungmiswnrwminkarsuksa niwtnimechuxeruxngsasna ekhaepnkhrisetiynnxknikayxxrothdxks aelayngekhiynngantikhwamkhmphiribebilkbngansuksadanisysastrmakkwangandanwithyasastraelakhnitsastresiyxik ekhatxtanaenwkhidtriexkphaphxyanglb aelaekrngklwinkarthukklawhaenuxngcakptiesthkarthuxbwch ixaesk niwtn idrbykyxngcakprachyaelasmachiksmakhmtang waepnhnunginphuthrngxiththiphlthisudinprawtisastrkhxngmnusychatiprawtiwyedk ixaesk niwtn ekidemuxwnthi 4 mkrakhm kh s 1642 hrux 25 thnwakhm ph s 2185 tamptithincueliyn 1 thiwulsthxrphaemnenxr thxngthinchnbthaehnghnungin txnthiniwtnekidnnpraethsxngkvsyngimyxmrbptithinkrikxeriyn dngnnwnekidkhxngekhacungbnthukexaiwwaepnwnthi 25 thnwakhm kh s 1642 bidakhxngniwtn sungepnchawnaphumngkhngesiychiwitkxnekhaekid 3 eduxn emuxaerkekidniwtntwelkmak ekhaepntharkkhlxdkxnkahndthiimmiphuidkhadwacarxdchiwitid mardakhxngekhakhux nanghannah xayskhf bxkwaexaniwtnisinehyuxkkhwxrthyngid khnadpraman 1 1 litr emuxniwtnxayuid 3 khwb mardakhxngekhaaetngnganihmkbsathukhunbarnabs smith aelaidthingniwtniwihmarekri xayskhf yaykhxngniwtneliyng niwtnimchxbphxeliyng aelaepnxrikbmardaipdwythanaetngngankbekha khwamrusuknipraktinnganekhiynsarphaphbapthiekhaekhiynemuxxayu 19 khxihphxkbaemsmithrwmthngbankhxngphwkekhathukifphlay niwtnekhyhmnkhrnghnunginchwngplaywyrun aetekhaimekhyaetngnganely ephraaxuthisewlathnghmdihkbkarsuksaaelakarthangan nbaetxayu 12 cnthung 17 niwtnekhaeriynthi txmaineduxntulakhm kh s 1659 ekhaklbipbanekidemuxmardathiepnhmaykhrngthi 2 phyayambngkhbihekhaepnchawna aetekhaekliydkarthana khruihythikhingsskul ehnri sotks phyayamonmnawihmardakhxngekhayxmsngekhaklbmaeriynihcb cakaerngphlkdninkaraekaekhnkhrngni niwtncungepnnkeriynthimiphlkareriynsungthisud eduxnmithunayn kh s 1661 niwtnidekhaeriynthi inthanasisar sizar khuxthunchnidhnungsungnksuksatxngthanganephuxaelkkbthiphk xahar aelakhathrrmeniym inyukhnnkareriynkarsxninwithyalytngxyubnphunthanaenwkhidkhxngxrisotetil aetniwtnchxbsuksaaenwkhidkhxngnkprchyayukhihmkhnxun thithnsmykwa echn edskarts aelankdarasastr echn okhepxrnikhs kalielox aelaekhpelxr epntn pi kh s 1665 ekhakhnphbthvsdibththwinamaelaerimphthnathvsdithangkhnitsastrsungtxmaklayepn infinitesimal calculus niwtnidrbpriyyaineduxnsinghakhm kh s 1665 hlngcaknnimnan mhawithyalytxngpidlngchwkhrawenuxngcakekidorkhrabadkhrngihy aememuxsuksainekhmbridcekhacaimmixairoddedn aetkarsuksadwytnexngthibaninwulsthxrphtlxdchwng 2 pitxmaidsrangphthnakaraekthvsdiekiywkbaekhlkhuls thrrmchatikhxngaesngswang aelakdaerngonmthwngkhxngekhaxyangmak niwtnidthakarthdlxngekiywkbaesngxathityxyanghlakhlaydwyaethngaekwprisumaelasrupwarngsitang khxngaesngsungnxkcakcamisiaetktangknaelwyngmiphawakarhkehtangkndwy karkhnphbthiepnkarxthibaywaehtuthiphaphthiehnphayinklxngothrthrrsnthiichelnsaekwimchdecn kenuxngmacakmuminkarhkehkhxnglaaesngthiphanaekwelnsaetktangkn thaihrayaofkstangkndwy cungepnimidthicaidphaphthichddwyelnsaekw karkhnphbniklayepnphunthaninkarphthnaklxngothrthrrsnaebbkrackengasathxnaesngthismburnodywileliym ehxrechl aela inewlatxma inewlaediywkbkarthdlxngeruxngaesngswang niwtnkiderimnganekiywkbaenwkhidineruxngkarokhcrkhxngdawekhraah inpi kh s 1667 ekhaklbipekhmbridcxikkhrnghnunginthanaphakhismachikkhxngthriniti sungmikdeknthxyuwaphuepnphakhismachiktxngxuthistnthuxbwch xnepnsingthi niwtnphyayamhlikeliyngenuxngcakmummxngkhxngekhathiimehndwykbsasna ochkhdithiimmikahndewlathiaennxnwaphakhismachiktxngbwchemuxir cungxaceluxniptlxdkalkid aetkekidpyhakhuninewlatxmaemuxniwtnidrbeluxkihdarngtaaehnngxnthrngekiyrti sungimxachlbeliyngkarbwchipidxik thungkrannniwtnkynghathanghlbhlikidodyxasyphrabrmrachanuyatcakphraecacharlsthi 2 chiwitkarngan Philosophiae Naturalis Principia Mathematica ngantiphimphsakhychinaerkkhxngixaesk niwtn karhlnkhxngaexpepilthaihekidkhathamxyuinickhxngniwtnwaaerngkhxngolkthithaihphlaexpepilhlnnacaepnaerngediywknkbaerngthi dung dwngcnthrexaiwimipthixunaelathaihekidokhcrrxbolkepnwngri phlkarkhanwnepnsingyunynkhwamkhidniaetkyngimaenchdcnkrathngkarkarekhiyncdhmayottxbrahwangniwtnaelarxebirt huk thithaihniwtnmikhwammnicaelayunynhlkkarklsastrekiywkbkarekhluxnthiidetmthi inpiediywknnn exdmnd aehlliyidmaeyiymniwtnephuxthkethiyngekiywkbkhathameruxngdawekhraah hllelytxngprahladicthiniwtnklawwaaerngkratharahwangdwngxathitykbdawekhraahthithaihkarwngokhcrrupwngriidnnepniptamkdkalngsxngthiniwtnidphisucniwaelwnnexng sungniwtnidsngexksarineruxngniipihhlelyduinphayhlngaelahlelykidchkchwnkhxihniwtnekhiynhnngsuxelmnikhun aelahlngkarepnstrukhuprpksrahwangniwtnaelahukmaepnewlananekiywkbkarxangsiththiinkarepnphukhnphb kdkalngsxng aehngkardungdud hnngsuxeruxng hlkkarkhnitsastrwadwyprchyathrrmchati Philosophiae naturalist principia mathematica hrux The Mathematical Principles of Natural Philosophy kidrbkartiphimph enuxhainelmxthibayeruxngkhwamonmthwngsakl aelaepnkarwangrakthankhxngklsastrdngedim klsastrkhlassik phankdkarekhluxnthi sungniwtntngkhun nxkcakni niwtnyngmichuxesiyngrwmkb kxthfrith wilehlm ilbniths inthanathitangepnphuphthnaaekhlkhulsechingxnuphnthxikdwy ngansakhychinnisungthukhyudimidphimphxyuhlaypiidthaihniwtnidrbkaryxmrbwaepnnkfisikskayphaphthiyingihythisud phlkrathbmisungmak niwtnidepliynochmwithyasastrwadwykarekhluxnthikhxngwtthuthxngfathimimaaetedimodysineching niwtnidthaihnganthierimmatngaetsmyklangaelaidrbkaresrimtxodykhwamphyayamkhxngkalieloxepnphlsaerclng aela kdkarekhluxnthi niidklayepnphunthankhxngngansakhythnghmdinsmytx ma inkhnaediywkn karmiswninkartxsukarbukrukphunthikhxngmhawithyalyxyangphidkdhmaycakphraecaecmsthi 2 thaihniwtnidrbkaraetngtngepnsmachikrthsphainpi ph s 2232 33 txmapi ph s 2239 niwtnidrbkaraetngtngepnphuduaelorngphlitehriyyksapnenuxngcakrthbaltxngkarbukhkhlthisuxstysucritaelamikhwamechliywchladephuxtxsukbkarplxmaeplngthidasdunmakkhuninkhnannsungtxma niwtnkidrbkaraetngtngepnphuxanwykarinpi ph s 2242 hlngcakidaesdngkhwamsamarthepnthiprackswaepnphubriharthiyxdeyiym aelainpi ph s 2244 niwtnidrbeluxkekhasurthsphaxikkhrnghnunginthanaphuaethnkhxngmhawithyaly aelainpi ph s 2247 niwtnidtiphimphhnngsuxeruxng thsnsastr hrux Optics chbbphasaxngkvs smynntaramkphimphepnphasalatin sungniwtnimyxmtiphimphcnkrathnghuk khuprbekathungaekkrrmipaelw chiwitkhrxbkhrw niwtnimekhyaetngngan aelaimmihlkthanidthibngbxkwaekhaekhymikhwamsmphnthechingchusawkbphuid txngkarxangxing aemcaimsamarthrabuidaenchd aetkechuxknodythwipwaekhathungaekkrrmipodythiyngbrisuththi dngthibukhkhlsakhyhlaykhnklawthung echnnkkhnitsastr nkesrsthsastr cxhn emynard ekhns aelankfisiks kharl esaekn wxlaetr nkekhiynaelankprchyachawfrngesssungphankinlxndxninchwngewlathifngsphkhxngniwtn xangwaekhaidkhnphbkhxethccringni ekhaekhiyniwwa phmidrbkaryunyncakhmxaelaslyaephthythixyukbekhatxnthiekhatay eruxngthixangklawwa khnathiekhanxnbnetiyngaelakalngcatay ksarphaphxxkmawaekhayngbrisuththixyu inpi 1733 wxlaetrrabuodyepidephywaniwtn immithngkhwamhlngihlhruxkhwamxxnaex ekhaimekhyekhaiklhyingidely niwtnmimitrphaphxnsnithsnmkbnkkhnitsastrchawswis nikxla fasioy edx duyey sungekhaphbinlxndxnrawpi 1690 aetmitrphaphniklbsinsudlngesiyechy inpi 1693 cdhmaytidtxrahwangthngkhubangswnyngkhngehluxrxdmathungpccubn phaphwadniwtninpi kh s 1702 odybnplaykhxngchiwit chiwitswnihykhxngniwtnxyukbkhwamkhdaeyngkbbrrdankwithyasastrkhnxun odyechphaahuk ilbniths aelaaeflmstid sungniwtnaekephdodywithilberuxnghruxkhxkhwamthiepncintnakarhruximkhxyepncringthiidxangxingwaepnkarchwyehluxkhxngphwkehlannxxkcakngankhxngniwtnexng niwtntxbotkarwiphakswicarnngankhxngtnxyangdueduxdesmx aelamkmikhwampriwitkxyuepnniccnechuxknwaekidcakkarthukmardathxdthinginsmythiepnedk aelakhwambakhlngdngklawaesdngnimiihehntlxdkarmichiwit xakarstiaetkkhxngniwtninpi ph s 2236 thuxepnkarpawprakasyutikarthangandanwithyasastrkhxngniwtn hlngidrbphrarachthanbrrdaskdiepnkhunnangradbesxrinpi ph s 2248 niwtnichchiwitinbnplayphayitkarduaelkhxnghlansaw niwtnimidaetngngan aetkmikhwamsukhepnxyangmakinkarxupkarankwithyasastrrunhlng aelanbtngaetpi ph s 2246 epntnmacnthungwarasudthayaehngchiwit niwtndarngtaaehnngepnnaykrachsmakhmaehnglxndxnthiidrbsmya nayksphaphukdkhi emuxniwtnesiychiwitlng phithisphkhxngekhacdxyangyingihyethiybethakstriy sphkhxngekhafngxyuthimhawiharewstminsetxr echnediywkbkstriyaelaphrabrmwngsanuwngschnsungkhxngxngkvs esxrixaesk niwtnmichiwitxyutrngkbrchsmykhxngsmedcphraecaprasaththxng aelasmedcphrasrrephchythi 9 hruxphraecathaysraaehngsmykrungsrixyuthyaphlnganswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniiddankhnitsastr klawknwa phlngankhxngniwtnepn khwamkawhnaxnyingihyinthuksakhakhxngkhnitsastrinyukhnn phlnganthiekhaeriykwa Fluxion hruxaekhlkhuls sungpraktxyuinnganekhiynchudhnungemuxeduxntulakhm kh s 1666 inpccubnidrbkartiphimphxyurwmkbngandankhnitsastrxun khxngniwtn incdhmaythi sngipihemuxeduxnsinghakhm kh s 1669 klawthungphuekhiyntnchbb thiekhasngipihkhxllinsemuxeduxnmithunaynpiediywknnnwa Mr Newton a fellow of our College and very young but of an extraordinary genius and proficiency in these things txmaniwtnmikhxkhdaeyngkbilbnithsineruxngthiwa ikhrepnphukhidphthnaaekhlkhulskxnkn nkprawtisastryukhihmechuxwathngniwtnaelailbnithstangkhntangkphthnaknodyxisra aemwacamibnthukthiaetktangknmakmay duehmuxnwa niwtncaimekhytiphimphxairekiywkbaekhlkhulselykxnpi ph s 2236 aelaimidekhiynbthkhwamchbbsmburnineruxngnitrabcnpi ph s 2247 khnathiilbnithserimtiphimphbthkhwamchbbetmekiywkbkrabwnwithikhidkhxngekhainpi ph s 2227 bnthukkhxngilbnithsaela krabwnwithidifefxernechiyl epnthiyxmrbnaipichodynkkhnitsastrinphakhphunyuorp aelatxmankkhnitsastrchawxngkvscungkhxyrbipichinpi ph s 2363 aetxyangirkdi aenwkhidniimidihkhxsngektinenuxhakhxngaekhlkhuls sungnkwicarnthnginyukhkhxngniwtnaelayukhsmyihmtangrabuwa mixyuinelmthi 1 khxnghnngsuxchud Principia khxngniwtn tiphimphpi 2230 aelaintnchbblaymuxekhiynthimimakxnhnani echn De motu corporum in gyrum karekhluxnthikhxngwtthuinwngokhcr emuxpi 1684 Principia imidekhiyninphasaaekhlkhulsaebbthieraruck aetmikarichaekhlkhulskniknntinrupaebberkhakhnit wadwycanwnthithukcakddwysdswnkhxngcanwnthielklngiperuxy niwtnsathitwithikarniexaiwin Principia odyeriykchuxmnwa krabwnwithisdswnaerkaelasdswnsudthay method of first and last ratios aelaxthibayiwwaehtuidekhacungaesdngkhwamhmaykhxngmninrupaebbechnni odyklawdwywa nikhuxkaraesdngwithiaebbediywknkbkrabwnkarkhxngkaraebngaeykimidxiktxip dwyehtuniinyukhpccubn Principia cungthukeriykwaepn hnngsuxthixdaenndwythvstiaelakarprayuktichaekhlkhulskniknnt aela lequel est presque tout de ce calcul aethbthuksingxyangekiywkbaekhlkhuls inyukhkhxngniwtn karichkrabwnwithiechnnikhxngekhathiekiywkhxngkb canwnkniknnthnungxndbhruxmakkwann idaesdngiwinnganekhiyn De motu corporum in gyrum khxngekhaemuxpi 1684 aelainnganekhiynekiywkbkarekhluxnthithiekhiynkhun rahwang 2 thswrrskxnpi 1684 niwtnlngelinkarephyaephraekhlkhulskhxngekhakephraaekhaklwkhxotaeyngaelakhawiphakswicarn ekhaekhysnithsnmkbnkkhnitsastrchawswis nikxla fasioy edx duyey khrnpi 2234 duyeyerimtnekhiyn Principia khxngniwtnkhuninrupaebbihm aelatidtxkbilbniths mitrphaphrahwangduyeykbniwtnerimesuxmlngtngaetpi 2236 aelahnngsuxnnkelyekhiynimesrc smachikrachsmakhmaehnglxndxnhlaykhn smakhmsungniwtnepnsmachikxyudwy erimklawhailbnithswalxkeliynphlngankhxngniwtninpi ph s 2242 khxotaeyngrunaerngkhunthungkhnaetkhkinpi 2254 emuxthangrachsmakhm prakasinngansuksachinhnungwa niwtnkhuxphukhnphbaekhlkhulsthiaethcring aelatrahnailbnithswaepncxmhlxklwng ngansuksachinnnklayepnthiekhluxbaekhlngsngsyemuxphbinphayhlngwatwniwtnnnexngthiepnkhnekhiynbthsrupkhxngnganodyechphaaswnthiekiywkbilbniths khxkhdaeyngineruxngniklayepnrxydangphrxyinchiwitkhxngthngniwtnaelailbnithstrabcnkrathngilbnithsesiychiwitinpi ph s 2259 niwtnidrbykyxngodythwipenuxngcakthvsdibththwinamthiichidsahrbelkhykkalngid ekhaepnphukhnphb phhunamkalngsamintwaeprsxngtw ekhamiswnxyangsakhytxthvsdi aelaepnkhnaerkthiichelkhchikalngthiimepncanwnetm aelanaerkhakhnitechingphikdmaichhakhatxbcak ekhahakhaphlbwkyxyodypramankhxngidodyichlxkarithum kxncamismkarphlrwmkhxngxxyelxr aelaepnkhnaerkthiichaelaphicarnaxnukrmaeplngklbkhxngxnukrmkalng reverse power series ngankhxngniwtnekiywkbxnukrmxnntidrbaerngbndaliccakelkhthsniymkhxngismxn setwin Simon Stevin niwtnidrbaetngtngihepnsastracaryluekhechiyndankhnitsastremuxpi ph s 2212 odykaresnxchuxkhxngaebrorw sunginwnrbtaaehnngnn phurbtaaehnngthiepnphakhismachikkhxngekhmbridchruxxxksfxrdcatxngbwchekhaepnphrainnikayaexngklikn xyangirkdi taaehnngsastracaryluekhechiynniimidbngkhbwaphurbtaaehnngcatxngptibtihnathithangsasna khadwakhngephraatxngkarihmiewlaephuxwithyasastrmakkwa niwtncungykepnkhxxangwatnimcaepntxngbwch aelaidrbphrarachanuyatcakphraecachalsthi 2 aehngxngkvsaebbcalxngcakklxngothrthrrsnsathxnaesngtwthisxngkhxngniwtn sungekhanaesnxtxrachsmakhmaehnglxndxninpi 1672 chwngpi 2213 2215 niwtnsxnwichathsnsastr inrahwangchwngewlani ekhasuksaeruxngkarhkehkhxngaesng odyaesdngihehnwa prisumsamarthaetkaesngkhawihklayepnsepktrmkhxngaesngid aelathamielnskbprisumxikaethnghnungcasamarthrwmaesngsepktrmhlaysiklbmaepnaesngkhawid nkwichakaryukhihmepidephywanganwiekhraahaesngkhawkhxngniwtnniepnphlmacakwichaelnaeraeprthatuechingkhxrphskhiwlar ekhayngaesdngihehnwa aesngthimisicaimepliynkhunsmbtiipimwacathukkracaylaaesngxxksxngipyngphunphiwwtthuid ktam niwtnihkhxsngektwa imwaaesngnncasathxn kracay hruxekhluxnphanxair mnkyngkhngepnsiedimxyunnexng nxkcakniekhasngektwa sinnkhuxphllphthcakkarthiwtthumiptikiriyakbaesngthimisixyuaelw imichwawtthunnsrangsikhxngmnxxkmaexng aenwkhidniruckinchux thvsdisikhxngniwtn Newton s theory of colour ekiyrtikhunaelaxnusrnthifngsphniwtninmhawiharewstminsetxrxnusawriyniwtnthi nkkhnitsastrchawfrngess ochaesf hluys lakrxngch mkphudbxy waniwtnepnxcchriyathiyingihythisudthiekhymima mixyukhrnghnungekhaklawwa niwtnnn ochkhdithisud ephraaeraimxackhnphbrabbkhxngolkidmakkwa 1 khrng kwichawxngkvs idrbaerngbndaliccakkhwamsaerckhxngniwtn aelaekhiynbthkwithiodngdngmak dngni thrrmchatiaelakdaehngthrrmchatisxntwxyuinrttikal phraecatrswa ihniwtnkaenid aesngswangcungidmikhun Nature and nature s laws lay hid in night God said Let Newton be and there was light aemodythangbukhlikphaphaelw niwtncaimichkhnthxmtwnk aetniwtnkmimaryathphxthicathxmtwkbkhwamsaerckhxngtwexng khrnghnungekhaekhiyncdhmaythungrxebirt huk ineduxnkumphaphnth ph s 2219 wa thachnsamarthmxngidiklkwaphuxun nnkephraachnyunxyubnihlkhxngyks If I have seen further it is by standing on the shoulders of giants xyangirkdi nkekhiynbangkhnechuxwa thxykhakhangtnsungekhiynkhuninchwngewlathiniwtnkbhukkalngmipyhakhdaeyngknekiywkbkarkhnphberuxngaesng nacaepnkartxbothuk odywaepnthxykhathithngsnaelahwn makkwacaepnkarthxmtn wli yunbnbakhxngyks xnodngdngtiphimphinkhriststwrrsthi 17 odykwichux xditokhskmhawithyalyekhmbridc aelaphakhismachikkhxngwithyalythriniti innganekhiyneruxng Jacula Prudentum 1651 mikhwamhmayhlkkhux khnaekhrathiyunbnbakhxngyks camxngehnidiklkwathiaetlakhnmxng phlkrathbinthinicungnacaepnkarepriybeprywatwniwtnnnexngthiepn khnaekhra imichhuk mibnthukinchwnghlng niwtnekhiynwa chnimruhrxkwaolkehnchnepnxyangir aetkbtwexngaelw chnehmuxncaepnedkthielnxyurimchayfng ephlidephlinkbkaresaahakxnkrwderiyb hruxepluxkhxythiswyepnphiess khnathimhasmuthraehngkhwamcringxnyingihythxdtwxyuebuxnghnaodyyngimthukkhnphb niwtnyngkhngmixiththiphltxnkwithyasastrmatlxd ehnidcakkarsarwckhwamkhidehnsmachikrachsmakhmaehnglxndxn sungniwtnekhyepnprathan emuxpi ph s 2548 odythamwa ikhrepnphumixiththiphlyingihytxprawtisastraehngwithyasastrmakkwaknrahwangniwtnkbixnsitn nkwithyasastraehngrachsmakhm ihkhwamehnodyswnihyaekniwtnmakkwa pi ph s 2542 mikarsarwckhwamkhidehncaknkfisikschnnakhxngolkpccubn 100 khn lngkhaaennihixnsitnepn nkfisiksphuyingihytlxdkal odyminiwtntammaepnxndbsxng inewlaiklekhiyngknmikarsarwcodyewbist PhysicsWeb ihkhaaennniwtnmaepnxndbhnung xnusrn xnusawriyniwtn 2274 tngxyuinmhawiharewstminsetxr danthisehnuxkhxngthangedinsuewthinkrxngkhxngobsth iklkbthifngsphkhxngekha silpinphuaekaslkkhux imekhil irsaebrkh 2237 2313 thadwyhinxxnsikhawaelaetha xxkaebbodysthapnik wileliym ekhnth epnruppnniwtnkalngnxnexnxyuehnuxhibsph sxkkhwatngxyubnhnngsuxsakhyhlayelmkhxngekha muxsaychiipyngmwnhnngsuxthixxkaebbinechingkhnitsastr ehnuxrangekhaepnphiramidkbodmthxngfa aesdngsylksnckrrasiaelaesnthangedinkhxngdawhangihyaehngpi 2223 dankhangmiyuwethphkalngichekhruxngmuxhlayxyangechnklxngothrthrrsnaelaprisumechingxrrthhmayehtu 1 inchwngchiwitkhxngniwtn mikarichnganptithinxyu 2 chnidinyuorp khux ptithincueliyn hrux ptithinaebbeka kb ptithinkrikxeriyn hrux ptithinaebbihm sungichkninpraethsyuorpthinbthuxormnkhathxlik aelathixun txnthiniwtnekid wnthiinptithinkrikxeriyncanahnaptithincueliynxyu 10 wn dngnn niwtncungekidinwnkhristmas hrux 25 thnwakhm 2185 tamptithincueliyn aetekidwnthi 4 mkrakhm 2186 tamptithinkrikxeriyn emuxthungwnthiesiychiwit ptithinthngsxngmikhwamaetktangknephimepn 11 wn nxkcakni kxnthixngkvscarbexaptithinkrikxeriynekhamaichinpi ph s 2295 wnkhunpiihmkhxngxngkvseriminwnthi 25 minakhm hrux wnsuphaphstri Lady Day thngtamkdhmayaelatampraephnithxngthin miichwnthi 1 mkrakhm hakmiidmikarrabuiwepnxyangxun wnthithnghlaythipraktinbthkhwamnicaepnwnthitamptithincueliynxangxing The Early Period 1608 1672 James R Graham s Home Page subkhnemux 2009 02 03 lingkesiy Cohen I B 1970 Dictionary of Scientific Biography Vol 11 p 43 New York Charles Scribner s Sons Isaac Newton Institute for Mathematical Sciences 1998 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 05 28 subkhnemux 2010 03 28 Isaac Newton Bellevue College subkhnemux 2010 03 28 Newton Isaac 1967 The Mathematical Papers of Isaac Newton 1664 1666 Cambridge Cambridge University Press p 8 ISBN 9780521058179 subkhnemux 2010 03 28 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Westfall 1994 pp 16 19 White 1997 p 22 Michael White Isaac Newton 1999 page 46 2016 04 27 thi ewyaebkaemchchin ed Michael Hoskins 1997 Cambridge Illustrated History of Astronomy p 159 1815 A Philosophical and Mathematical Dictionary Containing Memoirs of the Lives and Writings of the Most Eminent Authors Volume 2 p 100 subkhnemux September 11 2012 John Maynard Keynes Newton the Man University of St Andrews School of Mathematics and Statistics subkhnemux September 11 2012 Carl Sagan 1980 Cosmos New York Random House ISBN 0394502949 subkhnemux September 11 2012 Letters on England 14 pp 68 70 as referenced in the footnote for the quote in p 6 of James Gleick s biography Isaac Newton Stokes Mitch 2010 Isaac Newton Thomas Nelson p 154 ISBN 1595553037 subkhnemux September 11 2012 Foster Jacob 2005 5 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 05 15 subkhnemux 2012 09 17 Gjertsen Derek 1986 The Newton Handbook Taylor amp Francis p 105 ISBN 0710202792 subkhnemux September 11 2012 2011 Newton The Making of Genius Pan Macmillan ISBN 1447204530 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a access date txngkar url help Professor Robert A Hatch University of Florida Newton Timeline subkhnemux August 13 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help W W Rouse Ball 1908 A short account of the history of mathematics p 319 D T Whiteside ed The Mathematical Papers of Isaac Newton Volume 1 Cambridge University Press 1967 part 7 The October 1666 Tract on Fluxions at page 400 in 2008 reprint D Gjertsen 1986 The Newton handbook London Routledge amp Kegan Paul 1986 at page 149 Newton Principia 1729 English translation at page 41 Newton Principia 1729 English translation at page 54 Clifford Truesdell Essays in the History of Mechanics Berlin 1968 at p 99 xyuinbthnakhxnghnngsuxkhxng Marquis de L Hospital s Analyse des Infiniment Petits Paris 1696 erimtndwy duephimthi Latin Theorem 1 D T Whiteside 1970 The Mathematical principles underlying Newton s Principia Mathematica in Journal for the History of Astronomy vol 1 pages 116 138 especially at pages 119 120 Stewart 2009 p 107 Westfall 1980 pp 538 539 Ball 1908 p 356ff Blaszczyk Piotr Sherry David 2012 Ten misconceptions from the history of analysis and their debunking 1202 4153 doi 10 1007 s10699 012 9285 8 King Henry C 2003 The History of the Telescope By Henry C King Page 74 Google Books ISBN 978 0 486 43265 6 subkhnemux 16 January 2010 Newton Isaac Hydrostatics Optics Sound and Heat Cambridge University Digital Library subkhnemux 10 January 2012 Ball 1908 p 324 Newton s Early Optical Theory and its Debt to Chymistry in Danielle Jacquart and Michel Hochmann eds Lumiere et vision dans les sciences et dans les arts Geneva Droz 2010 pp 283 307 A free access online version of this article can be found at the Chymistry of Isaac Newton project Ball 1908 p 325 Fred L Wilson History of Science Newton citing Delambre M Notice sur la vie et les ouvrages de M le comte J L Lagrange Oeuvres de Lagrange I Paris 1867 p xx cdhmaycakixaesk niwtn thungrxebirt huk 5 kumphaphnth kh s 1676 bnthukiwinphlngankhxng chxng piaeyr emxri 1992 Newton Understanding the Cosmos New Horizons Wikipedia John Gribbin 2002 Science A History 1543 2001 p 164 White 1997 p187 Memoirs of the Life Writings and Discoveries of Sir Isaac Newton 1855 ody esxredwid brusetxr Volume II Ch 27 Newton beats Einstein in polls of Royal Society scientists and the public The Royal Society Opinion poll Einstein voted greatest physicist ever by leading physicists Newton runner up BBC news Monday 29 November 1999 News bbc co uk Westminster Abbey khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 10 16 subkhnemux 2009 11 13 brrnanukrmBall W W Rouse 1908 A Short Account of the History of Mathematics New York Dover ISBN 0 486 20630 0 Christianson Gale 1984 In the Presence of the Creator Isaac Newton amp His Times New York Free Press ISBN 0 02 905190 8 This well documented work provides in particular valuable information regarding Newton s knowledge of Craig John 1958 Isaac Newton Crime Investigator Nature 182 4629 149 152 Bibcode 1958Natur 182 149C doi 10 1038 182149a0 Craig John 1963 Isaac Newton and the Counterfeiters Notes and Records of the Royal Society of London 18 2 136 145 doi 10 1098 rsnr 1963 0017 Levenson Thomas 2010 Newton and the Counterfeiter The Unknown Detective Career of the World s Greatest Scientist Mariner Books ISBN 978 0 547 33604 6 Stewart James 2009 Calculus Concepts and Contexts Cengage Learning ISBN 978 0 495 55742 5 1980 1998 Never at Rest Cambridge University Press ISBN 0 521 27435 4 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkhawnthiin year help Westfall Richard S 2007 Isaac Newton Cambridge University Press ISBN 978 0 19 921355 9 Westfall Richard S 1994 The Life of Isaac Newton Cambridge University Press ISBN 0 521 47737 9 1997 Isaac Newton The Last Sorcerer Fourth Estate Limited ISBN 1 85702 416 8 aehlngkhxmulxunwikikhakhmmikhakhmekiywkb ixaesk niwtn wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ixaesk niwtn The Newton Project 2004 06 04 thi ewyaebkaemchchin rwbrwmprawtiaelaphlngankhxngniwtninthuksakha ScienceWorld biography ody Eric Weisstein Dictionary of Scientific Biography The Newton Project The Newton Project Canada via archive org Newton s Religious Views Reconsidered 2007 09 27 thi ewyaebkaemchchin Newton s Royal Mint Reports Newton s Dark Secrets TV programme caksaranukrmprchyakhxngsaetnfxrd Isaac Newton ody cxrc smith Newton s Philosophiae Naturalis Principia Mathematica ody cxrc smith Newton s Philosophy ody aexndruw caeniykh Newton s views on space time and motion ody Robert Rynasiewicz Newton s Castle Educational material The Chymistry of Isaac Newton nganwicyekiywkbnganekhiynkhxngniwtneruxngkarelnaeraeprthatu FMA Live Program for teaching Newton s laws to kids 2016 04 02 thi ewyaebkaemchchin Newton s religious position 2009 08 22 thi ewyaebkaemchchin The General Scholium to Newton s Principia ekbthawr 2003 05 13 thi Kandaswamy Anand M The Newton Leibniz Conflict in Context Newton s First ODE 2007 07 05 thi ewyaebkaemchchin karsuksawadwywithithiniwtnpramankarphllphthkhxngkaraeksmkarxndbthihnungodyichxnukrmxnnt The Mind of Isaac Newton 2006 12 13 thi ewyaebkaemchchin suxphaph esiyng aexniemchn aelasuxxinetxraexkhthifxun Enlightening Science widioxekiywkbchiwprawtikhxngniwtn thsnsastr fisiks aelamummxngkhxngekhaekiywkbwithyasastraelasasna chiwprawtikhxngniwtn mhawithyalyesntaexndruws