การหักเห (refraction) คือการเปลี่ยนแปลงทิศทางของคลื่นที่ส่วนรอยต่อระหว่างต่างกัน เมื่อผ่านตัวกลางที่เปลี่ยนไป ทิศทางของการเดินทางจะเปลี่ยนไปเนื่องจากความเร็วเปลี่ยนไปโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่น
การหักเหของแสงเป็นตัวอย่างที่คุ้นเคยที่สุด แต่คลื่นเสียงและคลื่นน้ำก็เกิดการหักเหเช่นกัน การเปลี่ยนแปลงทิศทางการแผ่ของคลื่นแสงจะเป็นไปตามกฎของสแน็ล ซึ่งอธิบายโดยใช้หลักการของเฮยเคินส์ พฤติกรรมการสะท้อนแสงบางส่วนอธิบายโดยสมการแฟรแนล ส่วนคำอธิบายในทางกลศาสตร์ควอนตัมว่าทำไมแสงจึงหักเหนั้นอาจแสดงได้โดย
ภาพรวม
ตัวอย่างเช่น ลำแสงที่ส่องผ่านกระจกจะหักเหจนดูงอเนื่องจากแก้วมีค่าดรรชนีหักเหแตกต่างจากอากาศ ส่วนกรณีเมื่อแสงตกกระทบในแนวตั้งฉากกับพื้นผิวกระจก ทิศทางการเดินทางของแสงจะไม่เปลี่ยนแปลง มีเพียงความเร็วเท่านั้นที่เปลี่ยนไป
ดังที่แสดงในรูปทางด้านซ้าย ปรากฏการณ์ที่แท่งไม้ซึ่งยื่นลงไปในน้ำดูเหมือนจะงอนั้นสามารถอธิบายได้โดยการหักเหของแสง เนื่องจากดรรชนีหักเหแสงของอากาศอยู่ที่ประมาณ 1.0003 และของน้ำมีค่าประมาณ 1.3330 แสงที่สะท้อนจากน้ำจะถูกหักเหก่อนที่จะมาถึงดวงตา กล่าวอีกนัยหนึ่ง ตำแหน่งที่ปรากฏของ X กลายเป็น Y เนื่องจากแสงที่มาจาก X ในรูปหักเหบนผิวน้ำ ทำให้แท่งที่จมอยู่ใต้น้ำดูเหมือนอยู่สูงกว่าที่เป็นจริง
เมื่อแสงแผ่จากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหสูงไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหของแสงต่ำ แสงอาจสะท้อนกลับไปทั้งหมดโดยไม่เกิดการหักเหเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การสะท้อนกลับทั้งหมด หลักการนี้ใช้ประโยชน์ในอุปการณ์ทางแสง เช่น ใยแก้วนำแสง เป็นต้นการหักเหสองแนว อาจเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเดินทางผ่านตัวกลางแอนไอโซทรอปิก
กฎของสเน็ล
กฎของสแน็ลเป็นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วการแผ่ของคลื่นที่เดินทางผ่านตัวกลางสองตัว กับมุมตกกระทบ และมุมหักเห ให้ความเร็วคลื่นในตัวกลาง A เป็น ความเร็วคลื่นในตัวกลาง B เป็น มุมตกกระทบจากตัวกลาง A ถึงตัวกลาง B เป็น มุมตกกระทบจากตัวกลาง B ถึงตัวกลาง A เป็น แล้วจะได้ความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้
ในที่นี้ คือดรรชนีหักเห ของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A
สมการแฟรแนล
สมการแฟรแนล เป็นสมการที่อธิบายลักษณะการสะท้อนและหักเหของแสงที่ส่วนรอยต่อระหว่างตัวกลาง เมื่อแสงแผ่จากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหเป็น ไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหเป็น โดยแนวการตกกระทบตั้งฉากกับส่วนรอยต่อของตัวกลาง ความเข้มของแสงสะท้อนเมื่อ จะคำนวณจากความเข้มของแสงที่ตกกระทบ เป็น
ถ้าแสงที่ตกกระทบเป็นแสงโพลาไรซ์ โดยมุมตกกระทบเป็น และมุมสะท้อนเป็น ในกรณีที่ทิศทางขององค์ประกอบสนามไฟฟ้าภายในคลื่นแสงอยู่ในแนวตั้งฉากกับระนาบการหักเห จะได้ว่า
สำหรับกรณีที่ทิศทางขององค์ประกอบสนามไฟฟ้าขนานกับระนาบการหักเหจะได้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
การหักเหของแสงทำให้เกิดปรากฏการณ์ทางแสงมากมาย เช่น รุ้งกินน้ำ มิราจ ทรงกลด ฯลฯ ส่วนตัวอย่างปรากฏการณ์จากการหักเหของคลื่นเสียง เช่น ในบางสภาพอากาศจะได้ยินเสียงรถไฟทีอยู่ห่างไกลชัดเจนขึ้นมา ซึ่งอธิบายได้จากข้อเท็จจริงที่ว่าเกิดขึ้นบนท้องฟ้า และ อัตราเร็วของเสียงในอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำจะลดลง ดังนั้นคลื่นเสียงที่เดินทางขึ้นด้านบนจะถูกหักเหและกลับสู่พื้นดินอีกครั้ง
อุปกรณ์
- เลนส์ - เลนส์นูนจะหักเหแสงที่ผ่านเข้ามาและรวมแสงไว้ที่จุดเดียว ส่วนเลนส์เว้าจะหักเหแสงและทำให้ไปในทางขนานกัน เพื่อให้ผู้สังเกตเห็นภาพที่ขยายหรือย่อจากภาพจริง ถูกใช้ใน กล้องถ่ายภาพ, กล้องจุลทรรศน์, กล้องโทรทรรศน์, แว่นตา, ฯลฯ
- ปริซึม - อาศัยการที่ดรรชนีหักเหของแสงจะต่างกันไปตามความยาวคลื่น ทำให้เกิดการกระจายของแสง เกิดเป็นสเปกตรัมสีรุ้งกินน้ำ
อ้างอิง
- 斉藤晴男 兵藤申一 (1993年). 高等学校 物理IB. 啓林館.
- R. P. Feynman "Space-Time Approach to Non-Relativistic Quantum Mechanics" Rev. Mod. Phys. 20 (1948) 367.
- R. P. Feynman "Space-Time Approach to Quantum Electrodynamics" Phys. Rev. 76, (1949) pp.769-89
- "複屈折とは". ユニオプト株式会社. สืบค้นเมื่อ 2017-01-02.
- "フレネルの反射公式". コトバンク. สืบค้นเมื่อ 2017-01-01.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karhkeh refraction khuxkarepliynaeplngthisthangkhxngkhlunthiswnrxytxrahwangtangkn emuxphantwklangthiepliynip thisthangkhxngkaredinthangcaepliynipenuxngcakkhwamerwepliynipodyimmikarepliynaeplngkhwamthikhxngkhlunpakkaokhngngxbnphiwnaenuxngcakkarhkehkhxngaesngkarhkehkhxnglaaesngphankxnphlastikis karhkehkhxngaesngepntwxyangthikhunekhythisud aetkhlunesiyngaelakhlunnakekidkarhkehechnkn karepliynaeplngthisthangkaraephkhxngkhlunaesngcaepniptamkdkhxngsaenl sungxthibayodyichhlkkarkhxngehyekhins phvtikrrmkarsathxnaesngbangswnxthibayodysmkaraefraenl swnkhaxthibayinthangklsastrkhwxntmwathaimaesngcunghkehnnxacaesdngidodyphaphrwmrupaesdngsaehtuthiehnaethngimngxinna twxyangechn laaesngthisxngphankrackcahkehcndungxenuxngcakaekwmikhadrrchnihkehaetktangcakxakas swnkrniemuxaesngtkkrathbinaenwtngchakkbphunphiwkrack thisthangkaredinthangkhxngaesngcaimepliynaeplng miephiyngkhwamerwethannthiepliynip dngthiaesdnginrupthangdansay praktkarnthiaethngimsungyunlngipinnaduehmuxncangxnnsamarthxthibayidodykarhkehkhxngaesng enuxngcakdrrchnihkehaesngkhxngxakasxyuthipraman 1 0003 aelakhxngnamikhapraman 1 3330 aesngthisathxncaknacathukhkehkxnthicamathungdwngta klawxiknyhnung taaehnngthipraktkhxng X klayepn Y enuxngcakaesngthimacak X inruphkehbnphiwna thaihaethngthicmxyuitnaduehmuxnxyusungkwathiepncring emuxaesngaephcaktwklangthimidrrchnihkehsungipyngtwklangthimidrrchnihkehkhxngaesngta aesngxacsathxnklbipthnghmdodyimekidkarhkeheriykpraktkarnniwa karsathxnklbthnghmd hlkkarniichpraoychninxupkarnthangaesng echn iyaekwnaaesng epntnkarhkehsxngaenw xacekidkhunemuxkhlunedinthangphantwklangaexnixosthrxpik kdkhxngsenl karhkehaesngtamkdkhxngsaenl kdkhxngsaenlepnthiaesdngkhwamsmphnthrahwangkhwamerwkaraephkhxngkhlunthiedinthangphantwklangsxngtw kbmumtkkrathb aelamumhkeh ihkhwamerwkhlunintwklang A epn vA displaystyle v mathrm A khwamerwkhlunintwklang B epn vB displaystyle v mathrm B mumtkkrathbcaktwklang A thungtwklang B epn 8A displaystyle theta mathrm A mumtkkrathbcaktwklang B thungtwklang A epn 8B displaystyle theta mathrm B aelwcaidkhwamsmphnthdngtxipni sin 8Asin 8B vAvB nAB displaystyle sin theta mathrm A over sin theta mathrm B v mathrm A over v mathrm B n mathrm AB inthini nAB displaystyle n mathrm AB khuxdrrchnihkeh khxngtwklang B ethiybkbtwklang A smkaraefraenl smkaraefraenl epnsmkarthixthibaylksnakarsathxnaelahkehkhxngaesngthiswnrxytxrahwangtwklang emuxaesngaephcaktwklangthimidrrchnihkehepn n displaystyle n ipyngtwklangthimidrrchnihkehepn n displaystyle n odyaenwkartkkrathbtngchakkbswnrxytxkhxngtwklang khwamekhmkhxngaesngsathxnemux I displaystyle I cakhanwncakkhwamekhmkhxngaesngthitkkrathb I0 displaystyle I 0 epn I I0 n n n n 2 displaystyle I I 0 left frac n n n n right 2 thaaesngthitkkrathbepnaesngophlairs odymumtkkrathbepn 8i displaystyle theta i aelamumsathxnepn 8r displaystyle theta r inkrnithithisthangkhxngxngkhprakxbsnamiffaphayinkhlunaesngxyuinaenwtngchakkbranabkarhkeh caidwa I I0 sin2 8i 8r sin2 8i 8r displaystyle I I 0 left frac sin 2 theta i theta r sin 2 theta i theta r right sahrbkrnithithisthangkhxngxngkhprakxbsnamiffakhnankbranabkarhkehcaidwa I I0 tan2 8i 8r tan2 8i 8r displaystyle I I 0 left frac tan 2 theta i theta r tan 2 theta i theta r right praktkarnthangthrrmchatikarhkehkhxngaesngthaihekidpraktkarnthangaesngmakmay echn rungkinna mirac thrngkld l swntwxyangpraktkarncakkarhkehkhxngkhlunesiyng echn inbangsphaphxakascaidyinesiyngrthifthixyuhangiklchdecnkhunma sungxthibayidcakkhxethccringthiwaekidkhunbnthxngfa aela xtraerwkhxngesiynginxakasthimixunhphumitacaldlng dngnnkhlunesiyngthiedinthangkhundanbncathukhkehaelaklbsuphundinxikkhrngxupkrnelnsprisumelns elnsnuncahkehaesngthiphanekhamaaelarwmaesngiwthicudediyw swnelnsewacahkehaesngaelathaihipinthangkhnankn ephuxihphusngektehnphaphthikhyayhruxyxcakphaphcring thukichin klxngthayphaph klxngculthrrsn klxngothrthrrsn aewnta l prisum xasykarthidrrchnihkehkhxngaesngcatangkniptamkhwamyawkhlun thaihekidkarkracaykhxngaesng ekidepnsepktrmsirungkinnaxangxing斉藤晴男 兵藤申一 1993年 高等学校 物理IB 啓林館 R P Feynman Space Time Approach to Non Relativistic Quantum Mechanics Rev Mod Phys 20 1948 367 R P Feynman Space Time Approach to Quantum Electrodynamics Phys Rev 76 1949 pp 769 89 複屈折とは ユニオプト株式会社 subkhnemux 2017 01 02 フレネルの反射公式 コトバンク subkhnemux 2017 01 01 wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb karhkeh