บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ในทางคณิตศาสตร์ เศษส่วน คือความสัมพันธ์ตามสัดส่วนระหว่างชิ้นส่วนของวัตถุหนึ่งเมื่อเทียบกับวัตถุทั้งหมด เศษส่วนประกอบด้วยตัวเศษ (numerator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนของวัตถุที่มี และตัวส่วน (denominator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนทั้งหมดของวัตถุนั้น ตัวอย่างเช่น 34 อ่านว่า เศษสามส่วนสี่ หรือ สามในสี่ หมายความว่า วัตถุสามชิ้นส่วนจากวัตถุทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่าๆ กัน นอกจากนั้น การแบ่งวัตถุสิ่งหนึ่งออกเป็นศูนย์ส่วนเท่า ๆ กันนั้นเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น 0 จึงไม่สามารถเป็นตัวส่วนของเศษส่วนได้ (ดูเพิ่มที่ การหารด้วยศูนย์)
เศษส่วนเป็นตัวอย่างชนิดหนึ่งของอัตราส่วน ซึ่งเศษส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนย่อยต่อชิ้นส่วนทั้งหมด ในขณะที่อัตราส่วนพิจารณาจากปริมาณของสองวัตถุที่แตกต่างกัน (ดังนั้น 34 อาจไม่เท่ากับ 3 : 4) และเศษส่วนนั้นอาจเรียกได้ว่าเป็น (quotient) ของจำนวน ซึ่งปริมาณที่แท้จริงสามารถคำนวณได้จากการหารตัวเศษด้วยตัวส่วน ตัวอย่างเช่น 34 คือการหารสามด้วยสี่ ได้ปริมาณเท่ากับ 0.75 ในทศนิยม หรือ 75% ในอัตราร้อยละ
การเขียนเศษส่วน ให้เขียนแยกออกจากกันด้วยเครื่องหมายทับหรือ ซอลิดัส (solidus) แล้ววางตัวเศษกับตัวส่วนในแนวเฉียง เช่น ¾ หรือคั่นด้วยเส้นแบ่งตามแนวนอนเรียกว่า วิงคิวลัม (vinculum) เช่น 34 ในบางกรณีอาจพบเศษส่วนที่ไม่มีเครื่องหมายคั่น อาทิ 34 บนป้ายจราจรในบางประเทศ
รูปแบบของเศษส่วน
เศษส่วนสามัญ เศษส่วนแท้ และเศษเกิน
เศษส่วนสามัญ (vulgar/common fraction) คือจำนวนตรรกยะที่สามารถเขียนอยู่ในรูป a/b หรือ ab โดยที่ a และ b ซึ่งเรียกว่า ตัวเศษ และ ตัวส่วน ตามลำดับ เป็นจำนวนเต็มทั้งคู่ ตัวเศษแสดงแทนจำนวนของส่วนแบ่ง และตัวส่วนซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แสดงแทนการแบ่งส่วนจากทั้งมวล เช่น 13, 34 นั้นเศษส่วนสามัญยังแยกออกเป็นเศษส่วนแท้ (proper fraction) ซึ่งมีค่าของตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน ทำให้ปริมาณของเศษส่วนน้อยกว่า 1 เช่น 79 และเศษเกิน (improper fraction) คือเศษส่วนที่ค่าของตัวเศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น 55, 97
จำนวนคละ
จำนวนคละ (mixed number) เป็นการนำเสนอเศษส่วนอีกรูปแบบหนึ่ง โดยนำจำนวนเต็มประกอบเข้ากับเศษส่วนแท้ และมีปริมาณเท่ากับสองจำนวนนั้นบวกกัน ตัวอย่างเช่น คุณมีเค้กเต็มถาดสองชิ้น และมีเค้กที่เหลืออยู่อีกสามในสี่ส่วน คุณสามารถเขียนแทนได้ด้วย 112 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2 + 34 จำนวนคละสามารถแปลงไปเป็นเศษเกินและสามารถแปลงกลับได้ตามขั้นตอนดังนี้
การแปลงจำนวนคละไปเป็นเศษเกิน (234)
- คูณจำนวนเต็มเข้ากับตัวส่วนของเศษส่วนแท้ (2 × 4 = 8)
- บวกผลคูณในขั้นแรกด้วยตัวเศษ (8 + 3 = 11)
- นำผลบวกเป็นตัวเศษประกอบกับตัวส่วน เขียนใหม่เป็นเศษเกิน (114)
การแปลงเศษเกินไปเป็นจำนวนคละ (114)
- หารตัวเศษด้วยตัวส่วน ให้เหลือเศษเอาไว้ (11 ÷ 4 = 2 เศษ 3)
- นำผลหารที่ไม่เอาเศษไปเป็นจำนวนเต็ม (2_)
- นำเศษจากการหารเป็นตัวเศษประกอบกับตัวส่วน เขียนเศษส่วนต่อท้ายจำนวนเต็ม (234)
เศษส่วนที่เทียบเท่ากัน
เศษส่วนที่เทียบเท่ากับอีกเศษส่วนหนึ่ง สามารถหาได้จากการคูณหรือการหารทั้งตัวเศษและตัวส่วนด้วยจำนวนที่เท่ากัน (ไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนเต็ม) เนื่องจากจำนวน n ที่คูณหรือหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน คือเศษส่วน nn ที่มีค่าเท่ากับ 1 ดังนั้นปริมาณของเศษส่วนจึงไม่เปลี่ยนแปลง ตัวอย่างเช่น กำหนดเศษส่วน 12 เมื่อคูณด้วย 2 ทั้งตัวเศษและตัวส่วนจะได้ผลลัพธ์เป็น 24 ซึ่งยังคงมีปริมาณเท่ากับ 12 จึงกล่าวได้ว่า 24 เทียบเท่ากับ 12 เมื่อลองจินตนาการจะพบว่าสองในสี่ส่วนของเค้กหนึ่งก้อน ไม่แตกต่างจากการแบ่งเค้กครึ่งก้อน
การหารเศษส่วนด้วยจำนวนที่เท่ากัน (ซึ่งจะไม่ใช้ 0 เป็นตัวหาร) เป็นการตัดทอนหรือการลดรูปเศษส่วนให้มีตัวเลขน้อยลง สำหรับเศษส่วนที่ตัวเศษและตัวส่วนไม่มีตัวประกอบร่วมอื่นใดนอกจาก 1 กล่าวคือไม่มีตัวเลขอื่นนอกจาก 1 ที่สามารถหารแล้วได้เศษส่วนสามัญ เรียกว่า เศษส่วนอย่างต่ำ ตัวอย่างเช่น 38 เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเพราะมีตัวประกอบร่วมเพียงตัวเดียวคือ 1 ในทางตรงข้าม 39 ไม่เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเนื่องจากยังสามารถหารด้วย 3 ได้อีกเป็น 13
นอกจากนั้นการเปรียบเทียบปริมาณของเศษส่วน หากไม่สามารถจินตนาการหรือวาดรูปได้ จำเป็นต้องสร้างเศษส่วนที่เทียบเท่าขึ้นมาใหม่โดยให้มีตัวส่วนเท่ากันก่อนจึงจะสามารถเปรียบเทียบได้ ซึ่งตัวส่วนดังกล่าวสามารถคำนวณได้จากการคูณตัวส่วนทั้งสอง หรือจากตัวคูณร่วมน้อย ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการเปรียบเทียบระหว่าง 34 กับ 1118 ตัวส่วนสำหรับการเปรียบเทียบคือ ครน. ของ 4 กับ 18 มีค่าเท่ากับ 36 ดังนั้นจะได้เศษส่วนที่เทียบเท่าได้แก่ 2736 กับ 2236 ตามลำดับ ทำให้ทราบได้ว่า 34 มีปริมาณมากกว่า 1118
เศษส่วนซ้อน
เศษส่วนซ้อน หรือ เศษซ้อน (complex/compound fraction) คือเศษส่วนที่มีตัวเศษหรือตัวส่วนเป็นเศษส่วนอื่น ตัวอย่างเช่น เป็นเศษส่วนซ้อน ในการลดรูปเศษส่วนซ้อนสามารถทำได้โดยการหารตัวเศษด้วยตัวส่วน เหมือนการหารธรรมดา ดังนั้น จะมีค่าเท่ากับ 12 ÷ 13 = 32 นอกจากนั้นตัวเศษหรือตัวส่วนสามารถเป็นนิพจน์ของเศษส่วนอื่นต่อๆ กันไปได้ อย่างเช่นเศษส่วนต่อเนื่อง (continued fraction)
ส่วนกลับและตัวส่วนที่ไม่ปรากฏ
ส่วนกลับของเศษส่วน (reciprocal/inverse) หมายถึงเศษส่วนอีกจำนวนหนึ่งที่มีตัวเศษและตัวส่วนสลับกัน เช่น ส่วนกลับของ 37 คือ 73 และเนื่องจากจำนวนใดๆ หารด้วย 1 จะได้จำนวนเดิม ดังนั้นจำนวนใดๆ จึงสามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนโดยมีตัวส่วนเท่ากับ 1 ตัวอย่างเช่น 17 เขียนให้เป็นเศษส่วนได้เป็น 171 ตัวเลข 1 นี้คือตัวส่วนที่ไม่ปรากฏ ดังนั้นจึงสามารถบอกได้ว่าเศษส่วนและจำนวนทุกจำนวน (ยกเว้น 0) สามารถมีส่วนกลับได้เสมอ จากตัวอย่าง ส่วนกลับของ 17 คือ 117
เลขคณิตของเศษส่วน
การเปรียบเทียบค่า
สำหรับการเปรียบเทียบค่าของเศษส่วนนั้น หากตัวส่วนเท่ากันสามารถนำตัวเศษมาเปรียบเทียบกันได้เลย ถ้าส่วนไม่เท่ากันก็นำเศษไปคูณกับส่วนของอีกฝั่งและนำไปคูณทั้งสองจำนวนเหมือนกัน
- เพราะ
วิธีหนึ่งที่จะเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากันคือการหาตัวส่วนร่วม ในการเปรียบเทียบ กับ ให้แปลงทั้งสองเป็น และ เมื่อได้ว่า เป็นตัวส่วนร่วมแล้ว ตัวเศษ และ ก็สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้
ตัวอย่างเช่น เปรียบเทียบระหว่าง กับ ให้แปลงเป็น กับ ซึ่งสามารถเปรียบเทียบกันได้
อีกกรณีหนึ่งที่เศษส่วนทั้งสองมีตัวเศษเท่ากัน เศษส่วนตัวที่มีตัวส่วนมากกว่าจะมีค่าน้อยกว่าตัวที่มีตัวส่วนน้อยกว่า
การบวกลบคูณหาร
เศษส่วนสามารถบวกลบคูณหารได้ และมีสมบัติการสลับที่ การเปลี่ยนกลุ่ม การกระจาย รวมทั้งข้อยกเว้นของการหารด้วยศูนย์ เหมือนจำนวนทั่วไป
การบวกและการลบเศษส่วน แบ่งเป็นสองกรณีคือ กรณีที่ตัวส่วนเท่ากันและกรณีตัวส่วนไม่เท่ากัน สำหรับกรณีที่ตัวส่วนเท่ากัน เราสามารถนำตัวเศษมาบวกหรือลบกันได้ทันที และได้ผลลัพธ์เป็นเศษส่วนที่ยังคงมีตัวส่วนคงเดิม เช่น
ส่วนกรณีที่ตัวส่วนไม่เท่ากัน จำเป็นต้องหาเศษส่วนเทียบเท่าที่มีตัวส่วนที่เท่ากันก่อน จากการหาผลคูณหรือตัวคูณร่วมน้อยของตัวส่วนทั้งหมด เมื่อตัวส่วนเท่ากันแล้วจึงนำตัวเศษของเศษส่วนที่เทียบเท่ามาบวกหรือลบกันตามปกติ ตัวอย่างเช่น
การคูณเศษส่วนสามารถทำได้ง่าย โดยการนำตัวเศษคูณตัวเศษ ตัวส่วนคูณตัวส่วน ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นเศษส่วนที่เกิดจากผลคูณทั้งสอง อาทิ
สำหรับการหารเศษส่วน ให้ทำตัวหารเป็นส่วนกลับแล้วทำการคูณแทนที่จะเป็นการหาร ดังตัวอย่าง
อักขระยูนิโคด
|
|
|
- * สำหรับการแก้ไขข้อความที่สามารถจัดรูปแบบได้ ซอลิดัสสามารถใช้คู่กับตัวเลขที่เป็นตัวยก (superscript) และตัวห้อย (subscript) เช่น ⁸⁄₉ ส่วนข้อความธรรมดานิยมใช้เครื่องหมายทับ (/) แทน เช่น 8/9
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Common Fraction" จากแมทเวิลด์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul essswn khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inthangkhnitsastr essswn khuxkhwamsmphnthtamsdswnrahwangchinswnkhxngwtthuhnungemuxethiybkbwtthuthnghmd essswnprakxbdwytwess numerator hmaythungcanwnchinswnkhxngwtthuthimi aelatwswn denominator hmaythungcanwnchinswnthnghmdkhxngwtthunn twxyangechn 3 4 xanwa esssamswnsi hrux saminsi hmaykhwamwa wtthusamchinswncakwtthuthnghmdthiaebngxxkepnsiswnetha kn nxkcaknn karaebngwtthusinghnungxxkepnsunyswnetha knnnepnipimid dngnn 0 cungimsamarthepntwswnkhxngessswnid duephimthi karhardwysuny ekhkthuktdxxkiphnunginsiswn ehluxephiyngsaminsiswn essswnepntwxyangchnidhnungkhxngxtraswn sungessswnaesdngkhwamsmphnthrahwangchinswnyxytxchinswnthnghmd inkhnathixtraswnphicarnacakprimankhxngsxngwtthuthiaetktangkn dngnn 3 4 xacimethakb 3 4 aelaessswnnnxaceriykidwaepn quotient khxngcanwn sungprimanthiaethcringsamarthkhanwnidcakkarhartwessdwytwswn twxyangechn 3 4 khuxkarharsamdwysi idprimanethakb 0 75 inthsniym hrux 75 inxtrarxyla karekhiynessswn ihekhiynaeykxxkcakkndwyekhruxnghmaythbhrux sxlids solidus aelwwangtwesskbtwswninaenwechiyng echn hruxkhndwyesnaebngtamaenwnxneriykwa wingkhiwlm vinculum echn 3 4 inbangkrnixacphbessswnthiimmiekhruxnghmaykhn xathi 34 bnpaycracrinbangpraethsrupaebbkhxngessswnessswnsamy essswnaeth aelaessekin essswnsamy vulgar common fraction khuxcanwntrrkyathisamarthekhiynxyuinrup a b hrux a b odythi a aela b sungeriykwa twess aela twswn tamladb epncanwnetmthngkhu twessaesdngaethncanwnkhxngswnaebng aelatwswnsungimethakbsunyaesdngaethnkaraebngswncakthngmwl echn 1 3 3 4 nnessswnsamyyngaeykxxkepnessswnaeth proper fraction sungmikhakhxngtwessnxykwatwswn thaihprimankhxngessswnnxykwa 1 echn 7 9 aelaessekin improper fraction khuxessswnthikhakhxngtwessmakkwahruxethakbtwswn echn 5 5 9 7 canwnkhla canwnkhla mixed number epnkarnaesnxessswnxikrupaebbhnung odynacanwnetmprakxbekhakbessswnaeth aelamiprimanethakbsxngcanwnnnbwkkn twxyangechn khunmiekhketmthadsxngchin aelamiekhkthiehluxxyuxiksaminsiswn khunsamarthekhiynaethniddwy 1 1 2 sungmikhaethakb 2 3 4 canwnkhlasamarthaeplngipepnessekinaelasamarthaeplngklbidtamkhntxndngni karaeplngcanwnkhlaipepnessekin 2 3 4 khuncanwnetmekhakbtwswnkhxngessswnaeth 2 4 8 bwkphlkhuninkhnaerkdwytwess 8 3 11 naphlbwkepntwessprakxbkbtwswn ekhiynihmepnessekin 11 4 karaeplngessekinipepncanwnkhla 11 4 hartwessdwytwswn ihehluxessexaiw 11 4 2 ess 3 naphlharthiimexaessipepncanwnetm 2 naesscakkarharepntwessprakxbkbtwswn ekhiynessswntxthaycanwnetm 2 3 4 essswnthiethiybethakn 2 3 ethiybethakb 4 6 essswnthiethiybethakbxikessswnhnung samarthhaidcakkarkhunhruxkarharthngtwessaelatwswndwycanwnthiethakn imcaepntxngepncanwnetm enuxngcakcanwn n thikhunhruxharthngtwessaelatwswn khuxessswn n n thimikhaethakb 1 dngnnprimankhxngessswncungimepliynaeplng twxyangechn kahndessswn 1 2 emuxkhundwy 2 thngtwessaelatwswncaidphllphthepn 2 4 sungyngkhngmiprimanethakb 1 2 cungklawidwa 2 4 ethiybethakb 1 2 emuxlxngcintnakarcaphbwasxnginsiswnkhxngekhkhnungkxn imaetktangcakkaraebngekhkkhrungkxn karharessswndwycanwnthiethakn sungcaimich 0 epntwhar epnkartdthxnhruxkarldrupessswnihmitwelkhnxylng sahrbessswnthitwessaelatwswnimmitwprakxbrwmxunidnxkcak 1 klawkhuximmitwelkhxunnxkcak 1 thisamarthharaelwidessswnsamy eriykwa essswnxyangta twxyangechn 3 8 epnessswnxyangtaephraamitwprakxbrwmephiyngtwediywkhux 1 inthangtrngkham 3 9 imepnessswnxyangtaenuxngcakyngsamarthhardwy 3 idxikepn 1 3 nxkcaknnkarepriybethiybprimankhxngessswn hakimsamarthcintnakarhruxwadrupid caepntxngsrangessswnthiethiybethakhunmaihmodyihmitwswnethaknkxncungcasamarthepriybethiybid sungtwswndngklawsamarthkhanwnidcakkarkhuntwswnthngsxng hruxcaktwkhunrwmnxy twxyangechn thatxngkarepriybethiybrahwang 3 4 kb 11 18 twswnsahrbkarepriybethiybkhux khrn khxng 4 kb 18 mikhaethakb 36 dngnncaidessswnthiethiybethaidaek 27 36 kb 22 36 tamladb thaihthrabidwa 3 4 miprimanmakkwa 11 18 essswnsxn essswnsxn hrux esssxn complex compound fraction khuxessswnthimitwesshruxtwswnepnessswnxun twxyangechn 12 13 displaystyle tfrac 1 2 tfrac 1 3 epnessswnsxn inkarldrupessswnsxnsamarththaidodykarhartwessdwytwswn ehmuxnkarharthrrmda dngnn 12 13 displaystyle tfrac 1 2 tfrac 1 3 camikhaethakb 1 2 1 3 3 2 nxkcaknntwesshruxtwswnsamarthepnniphcnkhxngessswnxuntx knipid xyangechnessswntxenuxng continued fraction swnklbaelatwswnthiimprakt swnklbkhxngessswn reciprocal inverse hmaythungessswnxikcanwnhnungthimitwessaelatwswnslbkn echn swnklbkhxng 3 7 khux 7 3 aelaenuxngcakcanwnid hardwy 1 caidcanwnedim dngnncanwnid cungsamarthekhiynihxyuinrupessswnodymitwswnethakb 1 twxyangechn 17 ekhiynihepnessswnidepn 17 1 twelkh 1 nikhuxtwswnthiimprakt dngnncungsamarthbxkidwaessswnaelacanwnthukcanwn ykewn 0 samarthmiswnklbidesmx caktwxyang swnklbkhxng 17 khux 1 17elkhkhnitkhxngessswnkarepriybethiybkha sahrbkarepriybethiybkhakhxngessswnnn haktwswnethaknsamarthnatwessmaepriybethiybknidely thaswnimethaknknaessipkhunkbswnkhxngxikfngaelanaipkhunthngsxngcanwnehmuxnkn 34 gt 24 displaystyle tfrac 3 4 gt tfrac 2 4 ephraa 3 gt 2 displaystyle 3 gt 2 withihnungthicaepriybethiybessswnthimitwswnimethaknkhuxkarhatwswnrwm inkarepriybethiyb ab displaystyle tfrac a b kb cd displaystyle tfrac c d ihaeplngthngsxngepn adbd displaystyle tfrac ad bd aela bcbd displaystyle tfrac bc bd emuxidwa bd displaystyle bd epntwswnrwmaelw twess ac displaystyle ac aela bc displaystyle bc ksamarthnamaepriybethiybknid twxyangechn epriybethiybrahwang 23 displaystyle tfrac 2 3 kb 12 displaystyle tfrac 1 2 ihaeplngepn 46 displaystyle tfrac 4 6 kb 36 displaystyle tfrac 3 6 sungsamarthepriybethiybknid xikkrnihnungthiessswnthngsxngmitwessethakn essswntwthimitwswnmakkwacamikhanxykwatwthimitwswnnxykwa karbwklbkhunhar essswnsamarthbwklbkhunharid aelamismbtikarslbthi karepliynklum karkracay rwmthngkhxykewnkhxngkarhardwysuny ehmuxncanwnthwip karbwkaelakarlbessswn aebngepnsxngkrnikhux krnithitwswnethaknaelakrnitwswnimethakn sahrbkrnithitwswnethakn erasamarthnatwessmabwkhruxlbknidthnthi aelaidphllphthepnessswnthiyngkhngmitwswnkhngedim echn 24 34 54 displaystyle tfrac 2 4 tfrac 3 4 tfrac 5 4 dd 58 38 28 displaystyle tfrac 5 8 tfrac 3 8 tfrac 2 8 dd swnkrnithitwswnimethakn caepntxnghaessswnethiybethathimitwswnthiethaknkxn cakkarhaphlkhunhruxtwkhunrwmnxykhxngtwswnthnghmd emuxtwswnethaknaelwcungnatwesskhxngessswnthiethiybethamabwkhruxlbkntampkti twxyangechn 34 512 912 512 1412 displaystyle tfrac 3 4 tfrac 5 12 tfrac 9 12 tfrac 5 12 tfrac 14 12 dd karkhunessswnsamarththaidngay odykarnatwesskhuntwess twswnkhuntwswn idphllphthxxkmaepnessswnthiekidcakphlkhunthngsxng xathi 56 78 3548 displaystyle tfrac 5 6 times tfrac 7 8 tfrac 35 48 dd sahrbkarharessswn ihthatwharepnswnklbaelwthakarkhunaethnthicaepnkarhar dngtwxyang 23 25 23 52 106 displaystyle tfrac 2 3 div tfrac 2 5 tfrac 2 3 times tfrac 5 2 tfrac 10 6 dd xkkhrayuniokhdkhwamhmayU 00BC esshnungswnsiU 00BD esshnungswnsxngU 00BE esssamswnsiU 2044 esnkhn U 2153 esshnungswnsamU 2154 esssxngswnsam okhdphxyt xkkhra khwamhmayU 2155 esshnungswnhaU 2156 esssxngswnhaU 2157 esssamswnhaU 2158 esssiswnhaU 2159 esshnungswnhkU 215A esshaswnhk okhdphxyt xkkhra khwamhmayU 215B esshnungswnaepdU 215C esssamswnaepdU 215D esshaswnaepdU 215E essecdswnaepdU 215F esshnungswn sahrbkaraekikhkhxkhwamthisamarthcdrupaebbid sxlidssamarthichkhukbtwelkhthiepntwyk superscript aelatwhxy subscript echn swnkhxkhwamthrrmdaniymichekhruxnghmaythb aethn echn 8 9duephimelkhthansib karhardwysuny essswnxyangta essswntxenuxngxangxingexrik dbebilyu iwssitn Common Fraction cakaemthewild