ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ในทางคณิตศาสตร์ การหารด้วยศูนย์ หมายถึงการหารที่มีตัวหารเท่ากับ 0 ซึ่งอาจสามารถเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน โดยที่ a เป็นตัวตั้ง ค่าของนิพจน์นี้จะมีความหมายหรือไม่ขึ้นอยู่กับบทตั้งทางคณิตศาสตร์ที่เป็นบริบท แต่โดยทั่วไปในเลขคณิตของจำนวนจริง นิพจน์ดังกล่าวไม่มีความหมาย
สำหรับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การหารด้วยศูนย์ในจำนวนเต็มอาจทำให้โปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดจนหยุดทำงาน หรือในกรณีของจำนวนจุดลอยตัวอาจให้ผลลัพธ์เป็นค่าพิเศษที่เรียกว่าค่าไม่ใช่จำนวน (อังกฤษ: Not a Number) หรือ NaN
การแปลความหมายในเลขคณิตมูลฐาน
การหารในระดับพื้นฐานอธิบายได้ว่า เป็นการแบ่งเซตของวัตถุออกเป็นส่วน ๆ ที่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น ถ้ามีแอปเปิล 10 ผล และต้องการแบ่งให้คน 5 คนเป็นจำนวนเท่ากัน ดังนั้นแต่ละคนจะได้รับแอปเปิล = 2 ผล เป็นต้น
ใช้ปัญหาเดียวกันนี้อธิบายการหารด้วยศูนย์ คือถ้ามีแอปเปิล 10 ผล แล้วจะแบ่งให้คน คนละ 0 ผล แล้วหาว่าจะสามารถแบ่งให้ "คน" ได้ทั้งหมดกี่คน การคำนวณเพื่อหาค่า จะกลับกลายเป็นไม่มีความหมาย เพราะตัวปัญหาเองก็ไม่มีความหมายเช่นกัน เพราะการแจกแอปเปิลให้ "คน" คนใด คนนั้นก็จะไม่ได้รับแอปเปิล (แจกให้คนละ 0 ผล) หรือสามารถแจกให้คนได้อนันต์เพราะแอปเปิลที่จะแจก ย่อมไม่มีวันหมด นี่เป็นเหตุผลที่เลขคณิตมูลฐานกำหนดให้การหารด้วยศูนย์ไม่มีความหมาย หรือไม่นิยาม
อีกทางหนึ่งที่สามารถใช้อธิบายการหารได้นั่นคือการลบซ้ำกันไปเรื่อย ๆ ซึ่งการหารด้วยวิธีนี้จะเป็นการลบตัวตั้งด้วยตัวหารหลาย ๆ ครั้งจนกว่าตัวตั้งจะมีค่าน้อยกว่าตัวหาร และอาจเหลืออยู่ด้วย ตัวอย่างเช่น การหาร 13 ด้วย 5 เราสามารถนำ 5 ไปลบออกจาก 13 จำนวน 2 ครั้ง และจะเหลือเศษเท่ากับ 3 ซึ่งสามารถสรุปเป็น = 2 เศษ 3 แต่ในกรณีที่ตัวหารเป็น 0 ถึงแม้จะลบตัวตั้งไปถึงอนันต์ครั้ง ก็ยังไม่สามารถทำให้ตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าตัวหารได้ ดังนั้นการหารด้วยศูนย์จึงไม่นิยาม
ความพยายามในอดีต
ตำรา (Brahmasphuta-siddhanta) เขียนโดย (Brahmagupta) (ค.ศ. 598 - 668) ซึ่งเป็นตำราเล่มแรกสุดที่ค้นพบ ที่กำหนดให้เลข 0 เป็นตัวเลขพิเศษ เพื่อที่จะนิยามการกระทำทางเลขคณิตที่เกี่ยวข้องกับ 0 โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตามพรัหมคุปตะก็ประสบความล้มเหลวในความพยายามที่จะอธิบายการหารด้วยศูนย์ เพราะคำนิยามของเขาสามารถพิสูจน์ได้ง่ายและนำไปสู่ความผิดพลาด ดังข้อความที่ยกมา
"...จำนวนบวกและลบที่หารด้วยศูนย์ ได้ผลลัพธ์เป็นเศษส่วนที่มีศูนย์เป็นตัวส่วน ศูนย์ที่หารด้วยจำนวนบวกหรือลบ ได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ หรือเศษส่วนที่มีศูนย์เป็นตัวเศษและจำนวนนั้นเป็นตัวส่วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ศูนย์ที่หารด้วยศูนย์ ได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์..."
ใน ค.ศ. 830 (Mahavira) พยายามที่จะแก้ข้อผิดพลาดของพรัหมคุปตะแต่ก็ไม่สำเร็จ ซึ่งในหนังสือ คณิตะ สาระ สังครหะ กล่าวไว้ว่า
"...ตัวเลขหนึ่งๆ จะมีค่าไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อหารด้วยศูนย์..."
ในเวลาต่อมา (Bhāskara II) (ค.ศ. 1114 - 1185) พยายามที่จะแก้ปัญหานี้โดยการนิยามให้ ซึ่งนิยามนี้สามารถมีความเป็นไปได้ แต่ก็อาจนำไปสู่ปฏิทรรศน์หากใช้อย่างไม่ระมัดระวัง ซึ่งปฏิทรรศน์เหล่านั้นก็ยังไม่สามารถแก้ได้จวบจนถึงปัจจุบัน (ดูตัวอย่างที่หัวข้อลิมิต)
การแปลความหมายในพีชคณิต
สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ยอมรับในหมู่นักคณิตศาสตร์ด้วยกันว่า วิธีธรรมดาที่สุดที่จะใช้อธิบายความหมายของการหารด้วยศูนย์ คือการนิยามการหารด้วยการกระทำทางเลขคณิต กฎเกณฑ์พื้นฐานของเลขคณิตคือจำนวนเต็ม จำนวนตรรกยะ จำนวนจริง และจำนวนเชิงซ้อน ซึ่งภายใต้กฎเกณฑ์ดังกล่าวการหารด้วยศูนย์จะไม่ถูกนิยาม และจะต้องคงไว้อยู่อย่างนั้นในระบบคณิตศาสตร์ใดๆ เพื่อให้เป็นกฎเกณฑ์ที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในฟีลด์ เหตุผลคือการหารถูกนิยามให้เป็นอินเวิร์สของการคูณ นั่นหมายความว่า ค่าของ จะมีค่าเท่ากับคำตอบของ x ในสมการ bx = a ตราบใดที่ค่านั้นยังคงมีคำตอบและมีเพียงหนึ่งเดียว นอกเหนือจากนั้นจะปล่อยให้เป็นไม่นิยาม
หากกำหนดให้ b = 0 ในสมการ bx = a จะสามารถเขียนเป็น 0x = a หรือ 0 = a ดังนั้นสมการ bx = a ในกรณีนี้จึง (1) ไม่มีคำตอบเมื่อ a ไม่เท่ากับ 0 และ (2) มีคำตอบของสมการเป็นค่า x ใดๆ เมื่อ a เท่ากับ 0 ในกรณีดังกล่าวไม่มีค่าใดที่เป็นหนึ่งเดียว ดังนั้น จึงไม่นิยาม และในทางกลับกัน นิพจน์ จะถูกนิยามว่า b ต้องมีค่าไม่เท่ากับ 0 เสมอ
เหตุผลวิบัติที่เกิดจากการหารด้วยศูนย์
เราสามารถปลอมแปลงกรณีพิเศษของการหารด้วยศูนย์ด้วยความขัดแย้งทางพีชคณิต โดยใช้ว่า 1 = 2 ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เริ่มต้นด้วยสมมติฐานที่ว่า
ดังนั้นสมการต่อไปนี้ต้องเป็นจริง
จากนั้นนำศูนย์ไปหารทั้งสองข้างของสมการ
ตัดทอนผลลัพธ์สุดท้าย จะได้
เหตุผลวิบัติ (fallacy) อยู่ที่การตั้งสมมติฐานที่ไม่สมบูรณ์ ว่าการหารด้วยศูนย์ทำให้ เท่ากับ 1
คนทั่วไปอาจรับรู้ได้ง่ายว่าการพิสูจน์ข้างต้นนั้นไม่สมเหตุสมผล สำหรับความขัดแย้งเดียวกันนี้สามารถนำเสนอให้อยู่ในรูปแบบอื่นซึ่งทำให้ยากขึ้นต่อการชี้จุดข้อผิดพลาด ดังเช่นตัวอย่างนี้ ถ้าเปลี่ยน 1 ให้เป็น x แล้วค่าของ 0 จะซ่อนอยู่ในนิพจน์ x - x และค่าของ 2 ก็จะซ่อนอยู่ในนิพจน์ x + x จากตัวอย่างด้านบนจึงสามารถเขียนให้อยู่ในอีกรูปแบบหนึ่งได้ดังนี้
ดังนั้น
หารด้วย ทั้งสองข้างของสมการ
จากนั้นหารด้วย ทั้งสองข้าง จะได้
พีชคณิตนามธรรม
แนวความคิดที่ใช้กับเลขคณิตพื้นฐาน มีความคล้ายกันกับโครงสร้างเชิงพีชคณิตทั่วไป เช่นในเรื่องของริงและฟีลด์ ในฟีลด์หนึ่งๆ องค์ประกอบทุกอย่างที่ไม่เป็นศูนย์จะสามารถอินเวิร์สได้ภายใต้การคูณ ดังนั้นการหารจึงเป็นปัญหาอยู่ที่การหารด้วยศูนย์เท่านั้น เหตุผลดังกล่าวยังคงเป็นจริงใน (skew field) (ด้วยเหตุผลนี้จึงเรียกได้ในอีกชื่อว่า ริงการหาร) แต่อย่างไรก็ตาม การหารด้วยองค์ประกอบที่ไม่เป็นศูนย์อาจทำให้เกิดปัญหาได้ในริงอื่นๆ ตัวอย่างเช่น ในการพิจารณาริง Z/6Z ของจำนวนเต็ม mod 6 คำถามคือเราจะให้ความหมายกับนิพจน์ ได้อย่างไร ซึ่งควรจะมีคำตอบ x เพียงหนึ่งเดียวสำหรับสมการ 2x = 2 ในจำนวนจริง แต่ 2 ไม่สามารถมีอินเวิร์สของการคูณภายใต้ริง Z/6Z และสมการนี้มีคำตอบได้สองอย่างคือ x = 1 และ x = 4 ดังนั้นนิพจน์ จึงไม่นิยาม
ลิมิตกับการหารด้วยศูนย์
เราอาจสามารถนิยาม ได้โดยการพิจารณาลิมิตของ เมื่อ b มีค่าเข้าใกล้ 0
สำหรับค่า a ที่เป็นบวก จะได้ว่า
และสำหรับค่า a ที่เป็นลบ จะได้ว่า
ดังนั้น เราอาจนิยามให้ มีค่าเป็น +∞ เมื่อ a เป็นจำนวนบวก และมีค่าเป็น −∞ เมื่อ a เป็นจำนวนลบ อย่างไรก็ตามการนิยามนี้อาจทำให้เกิดความยุ่งยากด้วยเหตุผลสองประการ
- อนันต์ที่เป็นบวกและลบไม่ใช่จำนวนจริง ดังนั้นถ้าหากเราต้องการคงเหลือบริบทไว้ให้เป็นจำนวนจริง เราจะต้องไม่นิยามอะไรที่มีความหมายพิเศษมากไปกว่าจำนวนจริง และถ้าหากต้องการใช้นิยามดังกล่าว เราจะต้อง ขยายเส้นจำนวนจริงออกไป
- การหาลิมิตทางขวาเพียงอย่างเดียวเป็นการเลือกโดยไม่มีกฎเกณฑ์ เราอาจสามารถหาลิมิตทางซ้ายและได้นิยามของ มีค่าเป็น −∞ เมื่อ a เป็นจำนวนบวก และมีค่าเป็น +∞ เมื่อ a เป็นจำนวนลบ (สลับกัน) ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นโดยใช้สมการดังนี้ (สมมติว่าเส้นจำนวนจริงได้ถูกขยายออกไปถึงอนันต์แล้ว)
- ซึ่งไม่ค่อยสมเหตุสมผล กลายเป็นว่า สามารถเป็นบวกและลบได้ในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการขยายที่ควรใช้มีเพียง อนันต์ที่ไม่มีเครื่องหมาย เท่านั้น
นอกเหนือไปจากนั้น นิยามของ ไม่สามารถกำหนดได้โดยการหาลิมิตบนเศษส่วน เนื่องจากลิมิต
นั้นไม่มีคำตอบ ส่วนลิมิตที่อยู่ในรูปแบบ
ในกรณีที่เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0 แล้วทำให้ทั้ง f (x) และ g (x) มีค่าเข้าใกล้ 0 ทั้งคู่ คำตอบของลิมิตอาจจะลู่เข้าไปยังค่าใดค่าหนึ่ง หรือไม่ลู่เข้าเลยก็ได้ (โดยใช้หลักเกณฑ์โลปีตาลช่วยคำนวณ) ซึ่งแนวความคิดนี้ก็ยังไม่สามารถนำไปสู่การนิยาม ได้อยู่ดี (เพราะมีหลายคำตอบ)
การแปลความหมายแบบรูปนัย
(formal calculation) เป็นตัวอย่างหนึ่งที่นำมาอธิบายการคำนวณในกฎเกณฑ์ทางเลขคณิต โดยไม่มีการพิจารณาว่าผลลัพธ์จากการคำนวณจะถูกนิยามไว้แล้วเป็นอย่างดีหรือไม่ ดังนั้นการกำหนดให้ มีค่าเป็น ∞ เมื่อ a มีค่าไม่เท่ากับศูนย์ เป็น (rule of thumb) ในบางครั้งก็อาจมีประโยชน์ ซึ่งค่าอนันต์นี้จะสามารถเป็นได้ทั้งจำนวนบวก จำนวนลบ หรือไม่มีเครื่องหมาย ขึ้นอยู่กับบริบทที่แวดล้อม ดังตัวอย่างนี้เป็นการคำนวณแบบรูปนัย
ซึ่งจะเกิดผลลัพธ์ที่ไม่น่ายอมรับแต่ก็สามารถนำไปใช้ได้ เช่นเดียวกับการคำนวณแบบรูปนัยอื่นๆ สำหรับความถูกต้องตามตรรกะซึ่งตรงข้ามกับแบบรูปนัยอาจจะกล่าวเพียงว่า
(+∞ ไม่ใช่จำนวน แต่เป็นวัตถุอย่างหนึ่งที่นำแนวคิดไปสู่เส้นจำนวนจริง คล้ายกับแนวคิดที่ว่า เซตของจุดเป็นสมาชิกของการยุบขนาดมิติ (compactification) บนส่วนของเส้นตรงที่ประกอบด้วยจุดสองจุด ในทอพอโลยี)
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-04. สืบค้นเมื่อ 2007-07-29.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ewbyx 0 lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud inthangkhnitsastr karhardwysuny hmaythungkarharthimitwharethakb 0 sungxacsamarthekhiynxyuinrupessswn a0 displaystyle textstyle frac a 0 odythi a epntwtng khakhxngniphcnnicamikhwamhmayhruximkhunxyukbbthtngthangkhnitsastrthiepnbribth aetodythwipinelkhkhnitkhxngcanwncring niphcndngklawimmikhwamhmay sahrbkarekhiynopraekrmkhxmphiwetxr karhardwysunyincanwnetmxacthaihopraekrmekidkhxphidphladcnhyudthangan hruxinkrnikhxngcanwncudlxytwxacihphllphthepnkhaphiessthieriykwakhaimichcanwn xngkvs Not a Number hrux NaNkaraeplkhwamhmayinelkhkhnitmulthankarharinradbphunthanxthibayidwa epnkaraebngestkhxngwtthuxxkepnswn thiethakn twxyangechn thamiaexpepil 10 phl aelatxngkaraebngihkhn 5 khnepncanwnethakn dngnnaetlakhncaidrbaexpepil 105 displaystyle textstyle frac 10 5 2 phl epntn ichpyhaediywknnixthibaykarhardwysuny khuxthamiaexpepil 10 phl aelwcaaebngihkhn khnla 0 phl aelwhawacasamarthaebngih khn idthnghmdkikhn karkhanwnephuxhakha 100 displaystyle textstyle frac 10 0 caklbklayepnimmikhwamhmay ephraatwpyhaexngkimmikhwamhmayechnkn ephraakaraeckaexpepilih khn khnid khnnnkcaimidrbaexpepil aeckihkhnla 0 phl hruxsamarthaeckihkhnidxnntephraaaexpepilthicaaeck yxmimmiwnhmd niepnehtuphlthielkhkhnitmulthankahndihkarhardwysunyimmikhwamhmay hruximniyam xikthanghnungthisamarthichxthibaykarharidnnkhuxkarlbsakniperuxy sungkarhardwywithinicaepnkarlbtwtngdwytwharhlay khrngcnkwatwtngcamikhanxykwatwhar aelaxacehluxxyudwy twxyangechn karhar 13 dwy 5 erasamarthna 5 iplbxxkcak 13 canwn 2 khrng aelacaehluxessethakb 3 sungsamarthsrupepn 135 displaystyle textstyle frac 13 5 2 ess 3 aetinkrnithitwharepn 0 thungaemcalbtwtngipthungxnntkhrng kyngimsamarththaihtwtngmikhanxykwatwharid dngnnkarhardwysunycungimniyamkhwamphyayaminxdittara Brahmasphuta siddhanta ekhiynody Brahmagupta kh s 598 668 sungepntaraelmaerksudthikhnphb thikahndihelkh 0 epntwelkhphiess ephuxthicaniyamkarkrathathangelkhkhnitthiekiywkhxngkb 0 odyechphaa xyangirktamphrhmkhuptakprasbkhwamlmehlwinkhwamphyayamthicaxthibaykarhardwysuny ephraakhaniyamkhxngekhasamarthphisucnidngayaelanaipsukhwamphidphlad dngkhxkhwamthiykma canwnbwkaelalbthihardwysuny idphllphthepnessswnthimisunyepntwswn sunythihardwycanwnbwkhruxlb idphllphthepnsuny hruxessswnthimisunyepntwessaelacanwnnnepntwswn xyangidxyanghnung sunythihardwysuny idphllphthepnsuny in kh s 830 Mahavira phyayamthicaaekkhxphidphladkhxngphrhmkhuptaaetkimsaerc sunginhnngsux khnita sara sngkhrha klawiwwa twelkhhnung camikhaimepliynaeplngemuxhardwysuny inewlatxma Bhaskara II kh s 1114 1185 phyayamthicaaekpyhaniodykarniyamih n0 displaystyle textstyle frac n 0 infty sungniyamnisamarthmikhwamepnipid aetkxacnaipsuptithrrsnhakichxyangimramdrawng sungptithrrsnehlannkyngimsamarthaekidcwbcnthungpccubn dutwxyangthihwkhxlimit karaeplkhwamhmayinphichkhnitsinghnungthiepnthiyxmrbinhmunkkhnitsastrdwyknwa withithrrmdathisudthicaichxthibaykhwamhmaykhxngkarhardwysuny khuxkarniyamkarhardwykarkrathathangelkhkhnit kdeknthphunthankhxngelkhkhnitkhuxcanwnetm canwntrrkya canwncring aelacanwnechingsxn sungphayitkdeknthdngklawkarhardwysunycaimthukniyam aelacatxngkhngiwxyuxyangnninrabbkhnitsastrid ephuxihepnkdeknththiyxmrbknodythwipinfild ehtuphlkhuxkarharthukniyamihepnxinewirskhxngkarkhun nnhmaykhwamwa khakhxng ab displaystyle textstyle frac a b camikhaethakbkhatxbkhxng x insmkar bx a trabidthikhannyngkhngmikhatxbaelamiephiynghnungediyw nxkehnuxcaknncaplxyihepnimniyam hakkahndih b 0 insmkar bx a casamarthekhiynepn 0x a hrux 0 a dngnnsmkar bx a inkrninicung 1 immikhatxbemux a imethakb 0 aela 2 mikhatxbkhxngsmkarepnkha x id emux a ethakb 0 inkrnidngklawimmikhaidthiepnhnungediyw dngnn ab displaystyle textstyle frac a b cungimniyam aelainthangklbkn niphcn ab displaystyle textstyle frac a b cathukniyamwa b txngmikhaimethakb 0 esmx ehtuphlwibtithiekidcakkarhardwysuny erasamarthplxmaeplngkrniphiesskhxngkarhardwysunydwykhwamkhdaeyngthangphichkhnit odyichwa 1 2 dngtwxyangtxipni erimtndwysmmtithanthiwa 0 1 0 displaystyle 0 times 1 0 0 2 0 displaystyle 0 times 2 0 dd dngnnsmkartxipnitxngepncring 0 1 0 2 displaystyle 0 times 1 0 times 2 dd caknnnasunyipharthngsxngkhangkhxngsmkar 00 1 00 2 displaystyle textstyle frac 0 0 times 1 frac 0 0 times 2 dd tdthxnphllphthsudthay caid 1 2 displaystyle 1 2 dd ehtuphlwibti fallacy xyuthikartngsmmtithanthiimsmburn wakarhardwysunythaih 00 displaystyle textstyle frac 0 0 ethakb 1 khnthwipxacrbruidngaywakarphisucnkhangtnnnimsmehtusmphl sahrbkhwamkhdaeyngediywknnisamarthnaesnxihxyuinrupaebbxunsungthaihyakkhuntxkarchicudkhxphidphlad dngechntwxyangni thaepliyn 1 ihepn x aelwkhakhxng 0 casxnxyuinniphcn x x aelakhakhxng 2 kcasxnxyuinniphcn x x caktwxyangdanbncungsamarthekhiynihxyuinxikrupaebbhnungiddngni x x x x2 x2 0 displaystyle x x x x 2 x 2 0 x x x x x2 x2 0 displaystyle x x x x x 2 x 2 0 dd dngnn x x x x x x x displaystyle x x x x x x x dd hardwy x x displaystyle x x thngsxngkhangkhxngsmkar x x x displaystyle x x x dd caknnhardwy x displaystyle x thngsxngkhang caid 1 2 displaystyle 1 2 dd phichkhnitnamthrrm aenwkhwamkhidthiichkbelkhkhnitphunthan mikhwamkhlayknkbokhrngsrangechingphichkhnitthwip echnineruxngkhxngringaelafild infildhnung xngkhprakxbthukxyangthiimepnsunycasamarthxinewirsidphayitkarkhun dngnnkarharcungepnpyhaxyuthikarhardwysunyethann ehtuphldngklawyngkhngepncringin skew field dwyehtuphlnicungeriykidinxikchuxwa ringkarhar aetxyangirktam karhardwyxngkhprakxbthiimepnsunyxacthaihekidpyhaidinringxun twxyangechn inkarphicarnaring Z 6Z khxngcanwnetm mod 6 khathamkhuxeracaihkhwamhmaykbniphcn 22 displaystyle textstyle frac 2 2 idxyangir sungkhwrcamikhatxb x ephiynghnungediywsahrbsmkar 2x 2 incanwncring aet 2 imsamarthmixinewirskhxngkarkhunphayitring Z 6Z aelasmkarnimikhatxbidsxngxyangkhux x 1 aela x 4 dngnnniphcn 22 displaystyle textstyle frac 2 2 cungimniyamlimitkbkarhardwysunykrafkhxngfngkchn y 1 x emux x mikhaekhaikl 0 aelw y camikhaekhaiklxnnt eraxacsamarthniyam a0 displaystyle textstyle frac a 0 idodykarphicarnalimitkhxng ab displaystyle textstyle frac a b emux b mikhaekhaikl 0 sahrbkha a thiepnbwk caidwa limb 0 ab displaystyle lim b to 0 a over b infty dd aelasahrbkha a thiepnlb caidwa limb 0 ab displaystyle lim b to 0 a over b infty dd dngnn eraxacniyamih a0 displaystyle textstyle frac a 0 mikhaepn emux a epncanwnbwk aelamikhaepn emux a epncanwnlb xyangirktamkarniyamnixacthaihekidkhwamyungyakdwyehtuphlsxngprakar xnntthiepnbwkaelalbimichcanwncring dngnnthahakeratxngkarkhngehluxbribthiwihepncanwncring eracatxngimniyamxairthimikhwamhmayphiessmakipkwacanwncring aelathahaktxngkarichniyamdngklaw eracatxng khyayesncanwncringxxkip karhalimitthangkhwaephiyngxyangediywepnkareluxkodyimmikdeknth eraxacsamarthhalimitthangsayaelaidniyamkhxng a0 displaystyle textstyle frac a 0 mikhaepn emux a epncanwnbwk aelamikhaepn emux a epncanwnlb slbkn sungsamarthaesdngihehnodyichsmkardngni smmtiwaesncanwncringidthukkhyayxxkipthungxnntaelw 10 1 0 10 displaystyle infty frac 1 0 frac 1 0 frac 1 0 infty dd sungimkhxysmehtusmphl klayepnwa a0 displaystyle textstyle frac a 0 samarthepnbwkaelalbidinewlaediywkn dngnnkarkhyaythikhwrichmiephiyng xnntthiimmiekhruxnghmay ethann nxkehnuxipcaknn niyamkhxng 00 displaystyle textstyle frac 0 0 imsamarthkahndidodykarhalimitbnessswn enuxngcaklimit lim a b 0 0 ab displaystyle lim a b to 0 0 a over b dd nnimmikhatxb swnlimitthixyuinrupaebb limx 0f x g x displaystyle lim x to 0 f x over g x dd inkrnithiemux x mikhaekhaikl 0 aelwthaihthng f x aela g x mikhaekhaikl 0 thngkhu khatxbkhxnglimitxaccaluekhaipyngkhaidkhahnung hruximluekhaelykid odyichhlkekntholpitalchwykhanwn sungaenwkhwamkhidnikyngimsamarthnaipsukarniyam 00 displaystyle textstyle frac 0 0 idxyudi ephraamihlaykhatxb karaeplkhwamhmayaebbrupny formal calculation epntwxyanghnungthinamaxthibaykarkhanwninkdeknththangelkhkhnit odyimmikarphicarnawaphllphthcakkarkhanwncathukniyamiwaelwepnxyangdihruxim dngnnkarkahndih a0 displaystyle textstyle frac a 0 mikhaepn emux a mikhaimethakbsuny epn rule of thumb inbangkhrngkxacmipraoychn sungkhaxnntnicasamarthepnidthngcanwnbwk canwnlb hruximmiekhruxnghmay khunxyukbbribththiaewdlxm dngtwxyangniepnkarkhanwnaebbrupny limx 01x2 limx 01limx 0x2 1 0 displaystyle lim limits x to 0 frac 1 x 2 frac lim limits x to 0 1 lim limits x to 0 x 2 frac 1 0 infty dd sungcaekidphllphththiimnayxmrbaetksamarthnaipichid echnediywkbkarkhanwnaebbrupnyxun sahrbkhwamthuktxngtamtrrkasungtrngkhamkbaebbrupnyxaccaklawephiyngwa limx 01x2 displaystyle lim x to 0 frac 1 x 2 infty dd imichcanwn aetepnwtthuxyanghnungthinaaenwkhidipsuesncanwncring khlaykbaenwkhidthiwa estkhxngcudepnsmachikkhxngkaryubkhnadmiti compactification bnswnkhxngesntrngthiprakxbdwycudsxngcud inthxphxolyi xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 12 04 subkhnemux 2007 07 29