ในแคลคูลัส อนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชัน f คืออนุพันธ์ของอนุพันธ์ของ f อนุพันธ์อันดับสองสามารถกล่าวในลักษณะไม่เป็นทางการได้ว่าเป็น "อัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเปลี่ยนแปลง" ตัวอย่างเช่น อนุพันธ์อันดับสองของตำแหน่งของวัตถุเทียบกับเวลาคือความเร่งขณะหนึ่งของวัตถุ หรืออัตราที่ความเร็วของวัตถุเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
ในโดยที่ a คือความเร่ง, v คือความเร็ว, t คือเวลา, x คือตำแหน่ง และ d คือ "เดลตา" หรือการเปลี่ยนแปลงขณะหนึ่ง นิพจน์สุดท้าย คืออนุพันธ์อันดับสองของตำแหน่ง (x) เทียบกับเวลา
บนกราฟของฟังก์ชัน อนุพันธ์อันดับสองสอดคล้องกับ หรือของกราฟ กราฟของฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์อันดับสองเป็นลบจะเว้าบนในขณะที่กราฟของฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์อันดับสองเป็นลบจะโค้งในทิศตรงกันข้าม
กฎยกกำลังอนุพันธ์อันดับสอง
กฎยกกำลังสำหรับอนุพันธ์อันดับหนึ่ง หากกระทำสองครั้งจะสามารถสร้างกฎยกกำลังอนุพันธ์อันดับสองได้ดังนี้
สัญกรณ์
อนุพันธ์อันดับสองของ โดยมากจะเขียนเป็น ซึ่งคือ
เมื่อใช้สำหรับอนุพันธ์ อนุพันธ์อันดับสองของตัวแปรตาม y เทียบตัวแปรอิสระ x จะเขียนได้ว่าที่มาของสัญกรณ์นี้คือ
ตัวอย่าง
เมื่อพิจารณาฟังก์ชันอนุพันธ์ของ f คือฟังก์ชันอนุพันธ์อันดับสองของ f คืออนุพันธ์ของ กล่าวคือ
ความสัมพันธ์กับกราฟ
ความเว้า
อนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชัน f สามารถใช้เพื่อกำหนด ความเว้า ของกราฟของ f ฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์อันดับสองเป็นบวกเรียก (หรือ นูน) ซึ่งมีความหมายว่าใกล้จุดที่สัมผัสกับฟังก์ชัน จะอยู่ใต้กราฟของฟังก์ชัน ในทำนองเดียวกัน ฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์อันดับสองเป็นลบจะเรียกว่า (หรือ เว้า) และเส้นสัมผัสใกล้กับจุดที่สัมผัสจะอยู่เหนือกราฟของฟังก์ชัน
จุดเปลี่ยนเว้า
ถ้าอนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชันเปลี่ยนเครื่องหมาย กราฟของฟังก์ชันจะเปลี่ยนจากเว้าล่างไปเป็นเว้าบนหรือกลับกัน จุดที่ทำให้เครื่องหมายเปลี่ยนนี้เรียกว่า จุดเปลี่ยนเว้า (inflection point) หากอนุพันธ์อันดับสองเป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง แล้วอนุพันธ์อันดับสองต้องมีค่าเป็นศูนย์ที่จุดเปลี่ยนเว้าใด ๆ แม้ว่าไม่ใช่ทุกจุดที่อนุพันธ์อันดับสองเป็นศูนย์จะต้องเป็นจุดเปลี่ยนเว้าก็ตาม
การทดสอบอนุพันธ์อันดับสอง
ความสัมพันธ์ระหว่างอนุพันธ์อันดับสองกับกราฟสามารถใช้เพื่อทดสอบว่าของฟังก์ชัน (คือ จุดที่ ) ว่าใช่หรือไหม
- ถ้า , แล้ว มีค่าสูงสุดเฉพาะที่ที่
- ถ้า , แล้ว มีค่าต่ำสุดเฉพาะที่ที่
- ถ้า การทดสอบอนุพันธ์อันดับสองใช้ไม่ได้กับจุด นี้ อาจเป็นจุดเปลี่ยนเว้าได้
เหตุผลที่อนุพันธ์อันดับสองให้ผลลัพธ์เหล่านี้สามารถเห็นได้จากการเปรียบเทียบในชีวิตจริง พิจารณารถคันหนึ่งวิ่งไปข้างหน้าด้วยความเร็วสูงในตอนแรกแต่มีความเร่งเป็นลบ เห็นได้ชัดว่าตำแหน่งของรถ ณ จุดที่ความเร็วถึงศูนย์จะมีระยะทางเป็นค่าสูงสุดจากตำแหน่งเริ่มต้น หลังจากเวลานี้ ความเร็วจะกลายเป็นลบและรถจะถอยหลัง การเปรียบเทียบนี้ใช้ได้เช่นเดียวกับค่าต่ำสุด โดยทำให้รถในตอนแรกมีความเร็วเป็นลบมากแต่มีความเร่งเป็นบวกตรงกันข้ามกับกรณีของค่าสูงสุด
ลิมิต
สามารถเขียนลิมิตเพียงลิมิตเดียวแทนอนุพันธ์อันดับสองได้ดังนี้ลิมิตนี้เรียกว่าอนุพันธ์สมมาตรอันดับสอง อนุพันธ์สมมาตรอันดับสองอาจหาค่าได้ แม้ว่าอนุพันธ์อันดับสองโดยนิยามปกติจะหาไม่ได้ก็ตาม
นิพจน์ทางขวาสามารถเขียนเป็นผลหารเชิงผลต่างของผลหารเชิงผลต่างได้ดังนี้ลิมิตนี้สามารถมองได้เป็นรูปแบบที่ต่อเนื่องของของลำดับ
อย่างไรก็ตาม การที่ลิมิตข้างต้นหาค่าได้ไม่ได้หมายว่าฟังก์ชัน นั้นมีอนุพันธ์อันดับสอง ลิมิตข้างต้นให้ความเป็นไปได้ในการคำนวณอนุพันธ์อันดับสอง แต่ไม่ใช่นิยาม ตัวอย่างค้าน เช่น ฟังก์ชันเครื่องหมาย ซึ่งนิยามว่าฟังก์ชันเครื่องหมายไม่ต่อเนื่องที่ศูนย์ ดังนั้นอนุพันธ์อันดับสองที่ หาค่าไม่ได้ แต่ลิมิตข้างต้นหาค่าได้ที่
การประมาณกำลังสอง
เช่นเดียวกับอนุพันธ์อันดับหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ อนุพันธ์อันดับสองก็เกี่ยวข้องกับที่ดีที่สุดของฟังก์ชัน f เป็นซึ่งมีอนุพันธ์อันดับหนึ่งและสองที่เหมือนกับของ f ที่จุดหนึ่ง ๆ สูตรของการประมาณกำลังสองที่ดีที่สุดของ f รอบ ๆ จุด x = a คือการประมาณกำลังสองคืออันดับที่สองสำหรับฟังก์ชันที่มีจุดศูนย์กลางที่ x = a
ค่าเฉพาะและเวกเตอร์เฉพาะของอนุพันธ์อันดับสอง
จำนวนมากสามารถหาสูตรสำหรับออกมาได้โดยชัดแจ้ง สมมติให้ และเอกพันธ์ุ (เช่น โดยที่ v เป็นเวกเตอร์เฉพาะ) ค่าเฉพาะเป็น และเวกเตอร์เฉพาะที่สอดคล้องกัน (เรียกอีกอย่างว่า ) คือ จะได้ เมื่อ
สำหรับกรณีอื่น ๆ ที่เป็นที่รู้จัก ดูที่
การวางนัยทั่วไปสู่มิติที่สูงขึ้น
เมทริกซ์เฮสเซียน
อนุพันธ์อันดับสองวางนัยทั่วไปในมิติที่สูงกว่าผ่านแนวคิดของอันดับสอง สำหรับฟังก์ชัน f: R3 → R อนุพันธ์ย่อยอันดับสองประกอบด้วยอนุพันธ์ย่อยดังนี้และอนุพันธ์ย่อยผสมในบางกรณี เช่นเมื่ออนุพันธ์อันดับสองทุกตัวเป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง เราสามารถนำอนุพันธ์อันดับสองทั้งหมดประกอบกันเป็นเมทริกซ์สมมาตรเรียกว่าเมทริกซ์เฮสเซียน ค่าเฉพาะของเมทริกซ์นี้สามารถใช้ทดสอบอนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชันหลายตัวแปร (ดูเพิ่มที่ )
ตัวดำเนินการลาปลาส
การวางนัยทั่วไปอีกรูปแบบหนึ่งของอนุพันธ์อันดับสองคือตัวดำเนินการลาปลาส ซึ่งเป็นตัวดำเนินการดิฟเฟอเรนเชียล (หรือ ) ที่กำหนดโดยลาปลาเซียนของฟังก์ชันเท่ากับของเกรเดียนต์ และเท่ากับรอยของเมทริกซ์เฮสเซียน
ดูเพิ่ม
- อนุพันธ์อันดับสองของ
- ใช้ในการประมาณอนุพันธ์อันดับสอง
อ้างอิง
- "Content - The second derivative". amsi.org.au. สืบค้นเมื่อ 2020-09-16.
- "Second Derivatives". Math24 (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-09-16.[]
- A. Zygmund (2002). . Cambridge University Press. pp. 22–23. ISBN .
- Thomson, Brian S. (1994). Symmetric Properties of Real Functions. Marcel Dekker. p. 1. ISBN .
อ่านเพิ่มเติม
สิ่งพิมพ์
- Anton, Howard; Bivens, Irl; Davis, Stephen (February 2, 2005), Calculus: Early Transcendentals Single and Multivariable (8th ed.), New York: Wiley, ISBN
- Apostol, Tom M. (June 1967), Calculus, Vol. 1: One-Variable Calculus with an Introduction to Linear Algebra, vol. 1 (2nd ed.), Wiley, ISBN
- Apostol, Tom M. (June 1969), Calculus, Vol. 2: Multi-Variable Calculus and Linear Algebra with Applications, vol. 1 (2nd ed.), Wiley, ISBN
- Eves, Howard (January 2, 1990), An Introduction to the History of Mathematics (6th ed.), Brooks Cole, ISBN
- Larson, Ron; Hostetler, Robert P.; Edwards, Bruce H. (February 28, 2006), Calculus: Early Transcendental Functions (4th ed.), Houghton Mifflin Company, ISBN
- (September 1994), Calculus (3rd ed.), Publish or Perish, ISBN
- Stewart, James (December 24, 2002), Calculus (5th ed.), Brooks Cole, ISBN
- (September 8, 1998), (Revised, Updated, Expanded ed.), New York: St. Martin's Press, ISBN
หนังสือออนไลน์
- Crowell, Benjamin (2003), Calculus
- Garrett, Paul (2004), Notes on First-Year Calculus
- Hussain, Faraz (2006), Understanding Calculus
- Keisler, H. Jerome (2000), Elementary Calculus: An Approach Using Infinitesimals
- Mauch, Sean (2004), Unabridged Version of Sean's Applied Math Book, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-15
- Sloughter, Dan (2000), Difference Equations to Differential Equations
- Strang, Gilbert (1991), Calculus
- Stroyan, Keith D. (1997), A Brief Introduction to Infinitesimal Calculus, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-09-11
- Wikibooks, Calculus
แหล่งข้อมูลอื่น
- อนุพันธ์อันดับสองแบบไม่ต่อเนื่องจากจุดที่เว้นระยะไม่เท่ากัน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inaekhlkhuls xnuphnthxndbsxngkhxngfngkchn f khuxxnuphnthkhxngxnuphnthkhxng f xnuphnthxndbsxngsamarthklawinlksnaimepnthangkaridwaepn xtrakarepliynaeplngkhxngxtrakarepliynaeplng twxyangechn xnuphnthxndbsxngkhxngtaaehnngkhxngwtthuethiybkbewlakhuxkhwamerngkhnahnungkhxngwtthu hruxxtrathikhwamerwkhxngwtthuepliynaeplngiptamewlaxnuphnthxndbsxngkhxng mikhakhngthi ina dvdt d2xdt2 displaystyle a frac dv dt frac d 2 x dt 2 odythi a khuxkhwamerng v khuxkhwamerw t khuxewla x khuxtaaehnng aela d khux edlta hruxkarepliynaeplngkhnahnung niphcnsudthay d2xdt2 displaystyle tfrac d 2 x dt 2 khuxxnuphnthxndbsxngkhxngtaaehnng x ethiybkbewla bnkrafkhxngfngkchn xnuphnthxndbsxngsxdkhlxngkb hruxkhxngkraf krafkhxngfngkchnthimixnuphnthxndbsxngepnlbcaewabninkhnathikrafkhxngfngkchnthimixnuphnthxndbsxngepnlbcaokhnginthistrngknkhamkdykkalngxnuphnthxndbsxngkdykkalngsahrbxnuphnthxndbhnung hakkrathasxngkhrngcasamarthsrangkdykkalngxnuphnthxndbsxngiddngnid2dx2xn ddxddxxn ddx nxn 1 nddxxn 1 n n 1 xn 2 displaystyle frac d 2 dx 2 x n frac d dx frac d dx x n frac d dx left nx n 1 right n frac d dx x n 1 n n 1 x n 2 sykrnxnuphnthxndbsxngkhxng f x displaystyle f x odymakcaekhiynepn f x displaystyle f x sungkhux f f displaystyle f left f right emuxichsahrbxnuphnth xnuphnthxndbsxngkhxngtwaeprtam y ethiybtwaeprxisra x caekhiynidwad2ydx2 displaystyle frac d 2 y dx 2 thimakhxngsykrnnikhuxd2ydx2 ddx dydx displaystyle frac d 2 y dx 2 frac d dx left frac dy dx right twxyangemuxphicarnafngkchnf x x3 displaystyle f x x 3 xnuphnthkhxng f khuxfngkchnf x 3x2 displaystyle f x 3x 2 xnuphnthxndbsxngkhxng f khuxxnuphnthkhxng f displaystyle f klawkhuxf x 6x displaystyle f x 6x khwamsmphnthkbkrafkrafkhxng f x sin 2x displaystyle f x sin 2x cak p 4 displaystyle pi 4 thung 5p 4 displaystyle 5 pi 4 esnsmphsepnsinaengintrngthiesnokhngewakhun siekhiywtrngthiesnokhngewalng aelaepnsiaedngthicudepliynewa 0 p displaystyle pi 2 aela p displaystyle pi khwamewa xnuphnthxndbsxngkhxngfngkchn f samarthichephuxkahnd khwamewa khxngkrafkhxng f fngkchnthimixnuphnthxndbsxngepnbwkeriyk hrux nun sungmikhwamhmaywaiklcudthismphskbfngkchn caxyuitkrafkhxngfngkchn inthanxngediywkn fngkchnthimixnuphnthxndbsxngepnlbcaeriykwa hrux ewa aelaesnsmphsiklkbcudthismphscaxyuehnuxkrafkhxngfngkchn cudepliynewa thaxnuphnthxndbsxngkhxngfngkchnepliynekhruxnghmay krafkhxngfngkchncaepliyncakewalangipepnewabnhruxklbkn cudthithaihekhruxnghmayepliynnieriykwa cudepliynewa inflection point hakxnuphnthxndbsxngepnfngkchntxenuxng aelwxnuphnthxndbsxngtxngmikhaepnsunythicudepliynewaid aemwaimichthukcudthixnuphnthxndbsxngepnsunycatxngepncudepliynewaktam karthdsxbxnuphnthxndbsxng khwamsmphnthrahwangxnuphnthxndbsxngkbkrafsamarthichephuxthdsxbwakhxngfngkchn khux cudthi f x 0 displaystyle f x 0 waichhruxihm tha f x lt 0 displaystyle f x lt 0 aelw f displaystyle f mikhasungsudechphaathithi x displaystyle x tha f x gt 0 displaystyle f x gt 0 aelw f displaystyle f mikhatasudechphaathithi x displaystyle x tha f x 0 displaystyle f x 0 karthdsxbxnuphnthxndbsxngichimidkbcud x displaystyle x ni xacepncudepliynewaid ehtuphlthixnuphnthxndbsxngihphllphthehlanisamarthehnidcakkarepriybethiybinchiwitcring phicarnarthkhnhnungwingipkhanghnadwykhwamerwsungintxnaerkaetmikhwamerngepnlb ehnidchdwataaehnngkhxngrth n cudthikhwamerwthungsunycamirayathangepnkhasungsudcaktaaehnngerimtn hlngcakewlani khwamerwcaklayepnlbaelarthcathxyhlng karepriybethiybniichidechnediywkbkhatasud odythaihrthintxnaerkmikhwamerwepnlbmakaetmikhwamerngepnbwktrngknkhamkbkrnikhxngkhasungsudlimitsamarthekhiynlimitephiynglimitediywaethnxnuphnthxndbsxngiddngnif x limh 0f x h 2f x f x h h2 displaystyle f x lim h to 0 frac f x h 2f x f x h h 2 limitnieriykwaxnuphnthsmmatrxndbsxng xnuphnthsmmatrxndbsxngxachakhaid aemwaxnuphnthxndbsxngodyniyampkticahaimidktam niphcnthangkhwasamarthekhiynepnphlharechingphltangkhxngphlharechingphltangiddngnif x h 2f x f x h h2 f x h f x h f x f x h hh displaystyle frac f x h 2f x f x h h 2 frac dfrac f x h f x h dfrac f x f x h h h limitnisamarthmxngidepnrupaebbthitxenuxngkhxngkhxngladb xyangirktam karthilimitkhangtnhakhaidimidhmaywafngkchn f displaystyle f nnmixnuphnthxndbsxng limitkhangtnihkhwamepnipidinkarkhanwnxnuphnthxndbsxng aetimichniyam twxyangkhan echn fngkchnekhruxnghmay sgn x displaystyle operatorname sgn x sungniyamwasgn x 1if x lt 0 0if x 0 1if x gt 0 displaystyle operatorname sgn x begin cases 1 amp text if x lt 0 0 amp text if x 0 1 amp text if x gt 0 end cases fngkchnekhruxnghmayimtxenuxngthisuny dngnnxnuphnthxndbsxngthi x 0 displaystyle x 0 hakhaimid aetlimitkhangtnhakhaidthi x 0 displaystyle x 0 limh 0sgn 0 h 2sgn 0 sgn 0 h h2 limh 0sgn h 2 0 sgn h h2 limh 0sgn h sgn h h2 limh 00h2 0 displaystyle begin aligned lim h to 0 frac operatorname sgn 0 h 2 operatorname sgn 0 operatorname sgn 0 h h 2 amp lim h to 0 frac operatorname sgn h 2 cdot 0 operatorname sgn h h 2 amp lim h to 0 frac operatorname sgn h operatorname sgn h h 2 lim h to 0 frac 0 h 2 0 end aligned karpramankalngsxngechnediywkbxnuphnthxndbhnungthiekiywkhxngkb xnuphnthxndbsxngkekiywkhxngkbthidithisudkhxngfngkchn f epnsungmixnuphnthxndbhnungaelasxngthiehmuxnkbkhxng f thicudhnung sutrkhxngkarpramankalngsxngthidithisudkhxng f rxb cud x a khuxf x f a f a x a 12f a x a 2 displaystyle f x approx f a f a x a tfrac 1 2 f a x a 2 karpramankalngsxngkhuxxndbthisxngsahrbfngkchnthimicudsunyklangthi x akhaechphaaaelaewketxrechphaakhxngxnuphnthxndbsxngcanwnmaksamarthhasutrsahrbxxkmaidodychdaecng smmtiih x 0 L displaystyle x in 0 L aelaexkphnthu echn v 0 v L 0 displaystyle v 0 v L 0 odythi v epnewketxrechphaa khaechphaaepn lj j2p2L2 displaystyle lambda j tfrac j 2 pi 2 L 2 aelaewketxrechphaathisxdkhlxngkn eriykxikxyangwa khux vj x 2Lsin jpxL displaystyle v j x sqrt tfrac 2 L sin left tfrac j pi x L right caid vj x ljvj x displaystyle v j x lambda j v j x emux j 1 displaystyle j 1 ldots infty sahrbkrnixun thiepnthiruck duthikarwangnythwipsumitithisungkhunemthriksehsesiyn xnuphnthxndbsxngwangnythwipinmitithisungkwaphanaenwkhidkhxngxndbsxng sahrbfngkchn f R3 R xnuphnthyxyxndbsxngprakxbdwyxnuphnthyxydngni 2f x2 2f y2 2f z2 displaystyle frac partial 2 f partial x 2 frac partial 2 f partial y 2 frac partial 2 f partial z 2 aelaxnuphnthyxyphsm 2f x y 2f x z 2f y z displaystyle frac partial 2 f partial x partial y frac partial 2 f partial x partial z frac partial 2 f partial y partial z inbangkrni echnemuxxnuphnthxndbsxngthuktwepnfngkchntxenuxng erasamarthnaxnuphnthxndbsxngthnghmdprakxbknepnemthrikssmmatreriykwaemthriksehsesiyn khaechphaakhxngemthriksnisamarthichthdsxbxnuphnthxndbsxngkhxngfngkchnhlaytwaepr duephimthi twdaeninkarlaplas karwangnythwipxikrupaebbhnungkhxngxnuphnthxndbsxngkhuxtwdaeninkarlaplas sungepntwdaeninkardifefxernechiyl 2 displaystyle nabla 2 hrux D displaystyle Delta thikahndody 2f 2f x2 2f y2 2f z2 displaystyle nabla 2 f frac partial 2 f partial x 2 frac partial 2 f partial y 2 frac partial 2 f partial z 2 laplaesiynkhxngfngkchnethakbkhxngekrediynt aelaethakbrxykhxngemthriksehsesiynduephimxnuphnthxndbsxngkhxng ichinkarpramanxnuphnthxndbsxngxangxing Content The second derivative amsi org au subkhnemux 2020 09 16 Second Derivatives Math24 phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2020 09 16 lingkesiy A Zygmund 2002 Cambridge University Press pp 22 23 ISBN 978 0 521 89053 3 Thomson Brian S 1994 Symmetric Properties of Real Functions Marcel Dekker p 1 ISBN 0 8247 9230 0 xanephimetimsingphimph Anton Howard Bivens Irl Davis Stephen February 2 2005 Calculus Early Transcendentals Single and Multivariable 8th ed New York Wiley ISBN 978 0 471 47244 5 Apostol Tom M June 1967 Calculus Vol 1 One Variable Calculus with an Introduction to Linear Algebra vol 1 2nd ed Wiley ISBN 978 0 471 00005 1 Apostol Tom M June 1969 Calculus Vol 2 Multi Variable Calculus and Linear Algebra with Applications vol 1 2nd ed Wiley ISBN 978 0 471 00007 5 Eves Howard January 2 1990 An Introduction to the History of Mathematics 6th ed Brooks Cole ISBN 978 0 03 029558 4 Larson Ron Hostetler Robert P Edwards Bruce H February 28 2006 Calculus Early Transcendental Functions 4th ed Houghton Mifflin Company ISBN 978 0 618 60624 5 September 1994 Calculus 3rd ed Publish or Perish ISBN 978 0 914098 89 8 Stewart James December 24 2002 Calculus 5th ed Brooks Cole ISBN 978 0 534 39339 7 September 8 1998 Revised Updated Expanded ed New York St Martin s Press ISBN 978 0 312 18548 0hnngsuxxxniln Crowell Benjamin 2003 Calculus Garrett Paul 2004 Notes on First Year Calculus Hussain Faraz 2006 Understanding Calculus Keisler H Jerome 2000 Elementary Calculus An Approach Using Infinitesimals Mauch Sean 2004 Unabridged Version of Sean s Applied Math Book khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 04 15 Sloughter Dan 2000 Difference Equations to Differential Equations Strang Gilbert 1991 Calculus Stroyan Keith D 1997 A Brief Introduction to Infinitesimal Calculus khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2005 09 11 Wikibooks Calculusaehlngkhxmulxunxnuphnthxndbsxngaebbimtxenuxngcakcudthiewnrayaimethakn