เจตสิก (/เจตะสิก/; บาลี: cetasika; สันสกฤต: caitasika) แปลว่า ธรรมที่ประกอบกับจิต, สิ่งที่เกิดในใจ, ทางใจ
เจตสิกหมายถึงองค์ประกอบของจิต อาการหรือการแสดงออกของจิต จัดเป็นสมรรถนะหรือคุณสมบัติของจิต มีลักษณะที่เกิดดับพร้อมกับจิต เป็นอารมณ์ของจิต มีวัตถุที่อาศัยเดียวกับจิต เป็นกฎเกณฑ์ให้ประกอบเป็นจิต เจตสิกแยกเป็นขันธ์ ได้ 3 ขันธ์ เวทนาเจตสิกเป็นเวทนาขันธ์ (คือความแปรปรวนทางนามธาตุ) สัญญาเจตสิกเป็นสัญญาขันธ์ (เปรียบเช่นภูมิคุ้มกันของร่างกายที่จดจำการแก้ทุกขัง) เจตสิกที่เหลืออีก 50 เป็น สังขารขันธ์ (ได้แก่นามธาตุต่างๆมีสภาวะเป็นข้อมูล ที่เป็นกฎเกณฑ์ให้เป็นไปทั่วของจิต อันเป็นดุจรหัสพันธุ์กรรมของจิต )
เจตสิก หมายถึง ธรรมชาติชนิดหนึ่งซึ่งประกอบกับจิต ปรุงแต่งจิตให้มีความเป็นไปต่าง ๆ อาการที่ประกอบกับจิตนั้น มีลักษณะ 4 ประการ คือ
- เกิดพร้อมกับจิต
- ดับพร้อมกับจิต
- มีอารมณ์เดียวกับจิต
- อาศัยวัตถุเดียวกับจิต
จิตและเจตสิกที่อิงอาศัยกันนี้ ถ้าเปรียบจิตเป็นน้ำ เจตสิกเป็นสีแดง ผสมกันเป็นน้ำแดง เมื่อผสมกันแล้วไม่สามารถแยกน้ำออกจากสีแดงได้ฉันใด จิตและเจตสิกก็ไม่สามารถแยกออกจากกันเป็นอิสระได้ฉันนั้น สภาวธรรม รวม 4 ประการของเจตสิก มีดังนี้
- ลักษณะของเจตสิกคือ มีการอาศัยจิตเกิดขึ้น
- กิจการงานของเจตสิกคือ เกิดร่วมกับจิต
- ผลงานของเจตสิกคือ เป็นอารมณ์ของจิต
- เหตุที่ทำให้เจตสิกเกิดขึ้นได้ คือ การเกิดขึ้นของจิต
เจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งปรุงแต่งจิต ให้จิตมีพฤติกรรมเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด ไม่ว่าจะเป็นความพอใจ ความไม่พอใจ ความรัก ความเกลียด ความสงบ หรือฟุ้งซ่าน ล้วนเป็นคุณสมบัติของเจตสิกทั้งสิ้น แต่เจตสิกเกิดขึ้นเอง และแสดงพฤติกรรมเองไม่ได้ ต้องอาศัยจิตเป็นตัวแสดงพฤติกรรมแทน
จึงกล่าวได้ว่า ธรรมชาติของเจตสิกนั้น เกิดพร้อมกับจิต หรือประกอบกับจิตเป็นนิตย์ หรือธรรมชาติ ที่ประกอบกับจิตเป็นนิตย์ ชื่อว่า เจตสิก
การที่ต้องแบ่งจิตออกไปมากมายนั้น เพราะเจตสิกที่ประกอบจิต มีประเภทต่าง ๆ กัน จิตสัมพันธ์กับโลกภายนอก โดยการเข้าไปรับรู้โลกเป็นอารมณ์ แต่การรับรู้นั้นต้องอาศัยเจตสิกที่เป็นตัวกระทบอารมณ์ครั้งแรก(ผัสสะเจตสิก) เป็นต้น และเจตสิกอื่น ๆ ก็จะร่วมปรุงแต่งจิตให้เป็นไปในอาการต่างๆ
การปรุงแต่งของเจตสิก ที่เกิดพร้อมกับจิตนั้น ทำให้จิตมีความสามารถในการรู้อารมณ์พิเศษแตกต่างกันออกไป เช่น รู้เรื่องของกามคุณอารมณ์ เรื่องของรูปฌาน อรูปฌาน จนถึงรู้นิพพานอารมณ์
เจตสิกจัดเป็นเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งของพระอภิธรรมปิฎกซึ่งมี 4 เรื่องคือ จิตเจตสิก รูป นิพพาน และจัดเป็นเรื่องสำคัญของพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่งด้วย
เจตสิก๕๒
การที่จิตและเจตสิกจะประกอบกันได้จำต้องมีคุณสมบัติที่คล้ายกัน จึงอยู่ในที่เดียวกันได้ เช่น โลภะเจตสิก จะต้องประกอบได้กับโลภะมูลจิตเท่านั้น เมื่อประกอบกันแล้วโลภะจิตดวงนี้จึงจะสามารถแสดงอำนาจความอยากได้ออกมา โทสะเจตสิกก็ต้องประกอบกับโทสะมูลจิตเท่านั้น โทสะเจตสิกจะ ประกอบกับโลภะจิตไม่ได้ เพราะเป็นสภาพธรรมที่ตรงข้ามกัน คือ โลภะเจตสิกมีสภาพติดใจในอารมณ์ ส่วนโทสะเจตสิกมีสภาพประทุษร้ายทำลายอารมณ์ จึงเข้ากันไม่ได้ ในทำนองเดียวกัน เจตสิกฝ่ายอกุศล ก็จะเข้ากับโสภณเจตสิกก็ไม่ได้เช่นกัน
กล่าวโดยสรุป ธรรมชาติของเจตสิกนั้นเกิดพร้อมกับจิต หรือประกอบกับจิตเป็นนิตย์ เมื่อประกอบแล้ว ทำให้จิตเป็นบุญ(กุศล) หรือเป็นบาป(อกุศล) ตามการเข้าประกอบ เจตสิกแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ เจตสิกฝ่ายกลาง เข้าได้กับจิตทุกกลุ่ม เรียกว่า อัญญสมานาเจตสิก มี 13 ดวง กลุ่มที่ 2 คือ เจตสิกฝ่ายอกุศลได้แก่ อกุศลเจตสิกมี 14 ดวง เข้าได้กับ กลุ่มอกุศลจิตเท่านั้น กลุ่มสุดท้ายคือเจตสิกฝ่ายดีงาม เข้าได้กับกลุ่มโสภณจิตเท่านั้น โสภณเจตสิกมี 25 ดวง รวมทั้งสามกลุ่มที่กล่าวมาแล้วมีทั้งหมด 52 ประการ จัดเป็นหมวดใหญ่ๆ ได้ 3 หมวด คือ
อัญญสมานาเจตสิก๑๓
อัญญสมานาเจตสิก หมายถึง เจตสิกฝ่ายกลาง ๆ ที่สามารถเข้าประกอบกับจิตได้ ทั้งกลุ่มกุศลจิต กลุ่มอกุศลจิต และกลุ่มจิตที่ไม่ใช่กุศล / อกุศล (อัพยากตะจิต)
อัญญสมานาเจตสิกมี 13 ดวง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
สัพพจิตตสาธารณะ๗
หมายถึงเจตสิกที่เกิดกับจิตทั้งปวง เป็นกลุ่มเจตสิกที่ประกอบได้กับจิตทั่วไปทุกดวง (๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง) เจตสิกกลุ่มนี้เวลาเข้าประกอบ จะเข้าพร้อมกันทั้ง ๗ ดวง แยกจากกันไม่ได้ จึงเรียกเจตสิกกลุ่มนี้ว่า สัพพสาธารณะเจตสิก 7
- ผัสสะ อารมณ์ที่เกิดจากอายตนะ, การกระทบ กิริยาที่กระทบ กิริยาที่ถูกต้อง ความถูกต้อง มีธรรม ๓ ประการ คือ อารมณ์ วัตถุ กระทบกัน ทำให้เกิดวิญญาณ มาประชุมร่วมพร้อมกัน
- เวทนา การเสวยอารมณ์ แบ่งเป็น ๕ อย่าง
- สุขเวทนา คือความสุขสบายทางกาย
- ทุกขเวทนา คือความทุกข์ยากลำบากกาย
- โสมนัสเวทนา คือความสุขความสบายใจ
- โทมนัสเวทนา คือความทุกข์ใจ
- อุเบกขา คือความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข
- สัญญา ความหมายรู้อารมณ์, การจำ กิริยาจำ ความจำ อันเกิดแต่สัมผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุที่สมกัน
- เจตนา ความจงใจต่ออารมณ์, การคิด กิริยาที่คิด ความคิด อันเกิดแต่สัมผัสแห่งมโนวิญญาณธาตุที่สมกัน
- เอกกัคคตา (สมาธิ) ประคองจิตให้มีอารมณ์เดียว, การตั้งอยู่แห่งจิต ความดำรงอยู่แห่งจิต ความมั่นอยู่แห่งจิต ความไม่ส่ายไปแห่งจิต ความไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต ภาวะที่จิตไม่ส่ายไป ความสงบ สมาธินทรีย์ สมาธิพละ
- ชีวิตินทรีย์ เป็นใหญ่ในการหล่อเลี้ยงนามธรรม คือจิตและเจตสิกทั้งหลาย, อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไปอยู่ กิริยาที่เป็นไปอยู่ อาการสืบเนื่องกันอยู่ ความประพฤติเป็นไปอยู่ ความหล่อเลี้ยงอยู่ ชีวิต อินทรีย์คือชีวิต ของนามธรรมนั้นๆ
- กระทำไว้ในใจ (มโน) ความใส่ใจเป็นอันดีเรียกว่า โยนิโสมนสิการ
ปกิณณกเจตสิก๖
หมายถึงเจตสิกที่เรี่ยรายทั่วไป ไม่ได้เกิดกับจิตทุกดวง เป็นกลุ่มเจตสิกที่เข้าประกอบได้กับจิตทั่วไปเช่นกัน แต่เวลาเข้า ประกอบ จะเข้าไม่พร้อมกัน แยกกันประกอบตามลำดับ เจตสิกกลุ่มนี้เรียกว่า ปกิณณกะเจตสิก ๖
- การนึกถึงอารมณ์, ความตรึก ความตรึกอย่างแรง ความดำริ ความที่จิตแนบอยู่ในอารมณ์ ความที่จิตแนบสนิทอยู่ในอารมณ์ ความยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ สัมมาสังกัปปะ
วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์นี้ มีความหมายใกล้เคียงกับเจตนาเจตสิก ความตั้งใจในอารมณ์ และมนสิการ เจตสิก ความใส่ใจในอารมณ์ เพื่อให้เกิดความแตกต่างกัน จึงมีอุปมาด้วยเรือแข่งว่า
- เจตนาเจตสิก อุปมาดังคนพายหัว ต้องคว้าธงให้ได้ อันหมายถึงความสำเร็จ คือชัยชนะ
- มนสิการเจตสิก อุปมาดังคนถือท้าย ต้องคัดวาดเรือให้ตรงไปยังธงอันเป็นหลักชัย
- วิตกเจตสิก อุปมาดังคนพายกลางลำ มุ่งหน้าจ้ำพายไปแต่อย่างเดียว
- การประคองจิตให้อยู่ในอารมณ์, ความตรอง ความพิจารณา ความตามพิจารณา ความเข้าไปพิจารณา ความที่จิตสืบต่ออารมณ์ ความที่จิตเพ่งดูอารมณ์
- อธิโมกข์ การตัดสินอารมณ์ จูงจิตให้เชื่อ(ตามที่คิด)
- ความชอบใจในสิ่งที่เชื่อ, ความพอใจ การทำความพอใจ ความเป็นผู้ใคร่เพื่อจะทำความฉลาด ความพอใจในธรรม อันใด นี้เรียกว่า ฉันทะ ภิกษุ ย่อมทำฉันทะนี้ให้เกิด ให้เกิดด้วยดี ให้ตั้งขึ้น ให้ตั้งขึ้นด้วยดี ให้บังเกิด ให้บังเกิดยิ่ง
- วิริยะ ความพยายามตามความเชื่อนั้น, การปรารภความเพียรทางใจ ความขะมักเขม้น ความบากบั่น ความตั้งหน้า ความพยายาม ความอุตสาหะ ความทนทาน ความเข้มแข็ง ความหมั่น ความก้าวไปอย่างไม่ท้อถอย ความไม่ทอดทิ้งฉันทะ ความไม่ทอดทิ้งธุระ ความประคับประคองธุระ วิริยินทรีย์ กำลังคือวิริยะ สัมมาวายามะ
- ปีติ ความอิ่มใจ เมื่อรับผลจากความพยายามนั้น, ความอิ่มใจ ความปราโมทย์ ความยินดียิ่ง ความบันเทิง ความร่าเริง ความรื่นเริง ความปลื้มใจ ความตื่นเต้น ความที่จิตชื่นชมยินดี
- ขุทฺทกาปีติ ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก
- ขณิกาปีติ ปลาบปลื้มใจชั่วขณะเกิดขึ้นบ่อยๆ
- โอกฺกนฺติกาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวโยกตัวโคลง
- อุพฺเพงฺคาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย
- ผราณาปีติ ปลาบปลื้มใจจนนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วทั้งกายและใจ
ปีติ กับ สุข ต่างกัน คือ ปีติ เป็นสังขารขันธ์ สุข เป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมีปีติจะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่เมื่อมีสุขอาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้
อกุศลเจตสิก๑๔
อกุศลเจตสิก หมายถึง เจตสิกฝ่ายอกุศล เป็นกลุ่มเจตสิกที่ประกอบได้กับจิตที่เป็นอกุศลเท่านั้น กลุ่มอกุศลจิต มี ๑๔ ดวง
โลภะ๓
- โลภะ ความอยากได้, ความโลภ การโลภ กิริยาที่โลภ ความโลภ การกำหนัดนัก กิริยาที่กำหนัดนัก ความกำหนัด ความเพ่งเล็ง อกุศลมูลคือโลภะ อรรถของโลภะโดยปริยาย ในไวยกรณ์ ตามบาลีในปรมัตถทีปนีฎีกา ได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ คือ
- ตัณหา ความต้องการ อยากได้ซึ่งกามคุณอารมณ์นั้นเรียกว่ากามตัณหา เกิดพร้อมด้วยสัสสตทิฏฐิเรียกว่าภวตัณหา เกิดพร้อมด้วยอุจเฉททิฏฐิเรียกว่าวิภวตัณหา
- ราคะ ความกำหนัด
- กามะ ความใคร่
- นันทิ ความเพลิดเพลิน
- อภิชฌา ความเพ่งเล็ง
- ชเนตติ ความก่อให้เกิดกิเลส
- โปโนพภวิก ความนำให้เกิดในภพใหม่
- อิจฉา ความปรารถนา
- อาสา ความหวัง
- สังโยชน์ ความเกี่ยวข้อง ความผูกพัน ผูกมัด รัดไว้ ล่ามไว้
- ทิฏฐิ = มิจฉาทิฏฐิ การเห็นผิดจากความเป็นจริง,ความเห็นว่า โลกเที่ยงก็ดี ว่าโลกไม่เที่ยงก็ดี ว่าโลกมีที่สุดก็ดี ว่าโลกไม่มีที่สุดก็ดี ว่าชีพอันนั้น สรีระก็อันนั้นก็ดี ว่าชีพเป็นอื่น สรีระก็เป็นอื่นก็ดี ว่าสัตว์ยังเป็นอยู่เบื้องหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ไม่เป็นอยู่เบื้องหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยังเป็นอยู่ก็มี ไม่เป็นอยู่ก็มีเบื้องหน้าแต่มรณะก็ดี ว่าสัตว์ยังเป็นอยู่ก็ไม่ใช่ ไม่เป็นอยู่ก็ไม่ใช่เบื้องหน้าแต่มรณะก็ดี ความเห็นไปข้างทิฏฐิ ป่าชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ ความเห็นเป็นข้าศึกต่อสัมมาทิฏฐิ ความผันแปรแห่งทิฏฐิ สัญโญชน์คือทิฏฐิ ความยึดถือ ความยึดมั่น ความตั้งมั่น ความถือผิด ทางชั่ว ทางผิด ภาวะที่ผิด ลัทธิเป็นบ่อเกิดแห่งความพินาศ การถือโดยวิปลาส
- มานะ ความอวดดื้อถือตัว, การปรุงแต่ตีราคาให้ค่า ว่าหยาบ ปราณีต หรือเสมอ, การถือตัวว่า เราดีกว่าเขา เราเสมอกับเขา เราเลวกว่าเขา การถือตัว กิริยาที่ถือตัว ความถือตัว มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด การยกตน การเทิดตน การเชิดชูตนดุจธง การยกจิตขึ้น ความมีจิตต้องการเป็นดุจธง มี ๙ ประการ ได้แก่
- เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
- เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา
- เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคุณตัวว่า เลวกว่าเขา
- เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
- เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา
- เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา
- เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา
- เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา
- เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา
โทสะ๔
- โทสะ ความโกรธ, ขัดเคือง, ไม่พอใจ, อาฆาตวัตถุ อันเป็นเหตุใกล้ให้เกิดโทสะนั้นมี ๑๐ ประการ คือ
- (๑) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา
- (๒) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา
- (๓) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา
- (๔) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ
- (๕) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ
- (๖) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ
- (๗) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง
- (๘) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง
- (๙) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง
- (๑๐) ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไม่สมควร เช่นเกิดโกรธขึ้นเมื่อเดินสะดุดตอไม้ หรือ เหยียบหนาม เป็นต้น
- ความริษยา, การริษยา กิริยาที่ริษยา ความริษยา การเกียดกัน กิริยาที่เกียดกัน ความเกียดกันในลาภสักการะ การทำความเคารพ การนับถือ การไหว้ การบูชาของคนอื่น
- ความตระหนี่, การตระหนี่ กิริยาที่ตระหนี่ ความตระหนี่ ความหวงแหน ความเหนียวแน่น ความไม่เอื้อเฟื้อ ความไม่เผื่อแผ่แห่งจิต มัจฉริยะมี ๕ ประการ ได้แก่
- (๑) อาวาสมัจฉริย ตระหนี่ที่อยู่
- (๒) กุลมัจฉริย ตระหนี่สกุล
- (๓) ลาภมัจฉริย ตระหนี่ลาภ
- (๔) วัณณมัจฉริย ตระหนี่วรรณะ
- (๕) ธรรมมัจฉริย ตระหนี่ธรรม
- ความเดือดร้อนใจ, ความสำคัญว่าควรในของที่ไม่ควร ความสำคัญว่าไม่ควรในของที่ควร ความสำคัญว่ามีโทษในของที่ไม่มีโทษ ความสำคัญว่าไม่มีโทษในของที่มีโทษ การรำคาญ กิริยาที่รำคาญ ความรำคาญ ความเดือดร้อนใจ ความยุ่งใจ ซึ่งมีลักษณะเช่นว่านี้
โมหะ๔
- โมหะ ความหลง, ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รู้โดยสมควรความไม่รู้ตามความเป็นจริง ความไม่แทงตลอด ความไม่ถือเอาให้ถูกต้อง ความไม่หยั่งลงโดยรอบคอบ ความไม่พินิจ ความไม่พิจารณา ความไม่กระทำให้ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รู้ชัด ความหลง ความลุ่มหลง ความหลงใหล อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสัยคืออวิชชา ปริยุฏฐานคืออวิชชา ลิ่มคืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ (คือ ไม่รู้ความตามที่เป็นจริง)
ความไม่รู้ในที่นี้ หมายเฉพาะ ไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ
๑) ทุกฺเข อญาณํ ไม่แจ้งในทุกข์
๒) ทุกฺขสมุทเย อญาณํ ไม่แจ้งเหตุให้เกิดทุกข์
๓) ทุกฺขนิโรเธ อญาณํ ไม่แจ้งการดับทุกข์
๔) ทุกฺขนิโรธคามินิปฏิปทาย อญาณํ ไม่แจ้งหนทางที่จะดับทุกข์
๕) ปุพฺพนฺเต ยญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทริย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอดีต (อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุ)
๖) อปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอนาคต (อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญและนัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล)
๗) ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ทั้งที่เป็นส่วนในอดีตและในอนาคต (อกริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล)
๘) อธิปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อญาณํ ไม่แจ้งในธรรมที่มีเหตุให้เกิดผลอันต่อเนื่องกัน (อัตตทิฏฐิเชื่อว่าเป็นตัวเป็นตน)
- อหิริ ความไม่ละอายต่อบาป, กิริยาที่ไม่ละอายต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งที่น่าละอาย กิริยาที่ไม่ละอายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย มีการไม่เคารพตน เป็นเหตุใกล้
- อโนตตัปปะ ความไม่เกรงกลัวต่อบาป, กิริยาที่ไม่เกรงกลัวต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งที่น่าเกรงกลัว กิริยาที่ไม่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย ไม่มีการเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้
- ความฟุ้งซ่าน, ความฟุ้งซ่านแห่งจิต ความไม่สงบแห่งจิต ความวุ่นวายใจ ความพล่านแห่งจิต
ถีทุกะ ๒
แยกเป็น ๒ กลุ่ม คือ ทำให้ท้อแท้หดหู่(ถีนะมิททะ)
- ถีนะ จิตใจหดหู่ ท้อถอยจากอารมณ์, ความไม่สมประกอบแห่งจิต ความไม่ควรแก่การงานแห่งจิต ความท้อแท้ ความถดถอย ความหดหู่ อาการที่หดหู่ ภาวะที่หดหู่ ความซบเซา อาการที่ซบเซา ภาวะที่ซบเซาแห่งจิต
- ความโงกง่วง คือ สภาพที่ทำให้จิตเซื่องซึม ท้อถอยจากอารมณ์, ความไม่สมประกอบแห่งนามกาย ความไม่ควรแก่งานแห่งนามกาย ความปกคลุม ความหุ้มห่อ ความปิดบังไว้ภายใน ความง่วงเหงา ความหาวนอน ความโงกง่วง ความหาวนอน อาการที่หาวนอน ภาวะที่หาวนอน
วิจิกิจฉา 1
- วิจิกิจฉา ความสงสัย ความลังเลไม่แน่ใจ, การเคลือบแคลง กิริยาที่เคลือบแคลง ความเคลือบแคลง ความคิดเห็นไปต่างๆ นานา ความตัดสินอารมณ์ไม่ได้ ความเห็นเป็นสองแง่ ความเห็นเหมือนทางสองแพร่ง ความสงสัย ความไม่สามารถจะถือเอาโดยส่วนเดียวได้ ความคิดส่ายไป ความคิดคิดพร่าไป ความไม่สามารถจะหยั่งลงถือเอาเป็นยุติได้ ความกระด้างแห่งจิต ความลังเลใจ
ความสงสัยในวิจิกิจฉาเจตสิก หมายเฉพาะสงสัยในธรรม ๘ ประการเท่านั้น คือ
(๑) สงสัยในพระพุทธเจ้า ได้แก่สงสัยในพระสรีระ (ว่าเห็นจะไม่มีตัวจริง น่าจะสมมุติขึ้น) หรือสงสัยในพระคุณ (พระพุทธคุณ ๙)
(๒) สงสัยในพระธรรม ว่ามัคค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ มีจริงหรือและธรรมนี้นำออกจากทุกข์ได้จริงหรือ
(๓) สงสัยในพระสงฆ์ ว่าสงฆ์ที่ตั้งอยู่ในมัคค ๔ ผล ๔ มีจริงหรือ สงฆ์ที่ปฏิบัติดีจริงมีหรือ ผลแห่งทานที่ถวายแก่สงฆ์มีจริงหรือ
(๔) สงสัยในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ว่ามีจริงหรือ ผลานิสงส์แห่งการศึกษาปฏิบัติในสิกขา ๓ มีจริงหรือ
(๕) สงสัยในขันธ์ ๕ อายตน ธาตุที่เป็นส่วนอดีตมีจริงหรือ คือสงสัยว่าชาติก่อนมีจริงหรือ (อเหตุกทิฏฐิ)
(๖) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ที่เป็นอนาคต มีจริงหรือ คือสงสัยว่า ชาติหน้ามีจริงหรือ (อุจเฉททิฏฐิ)
(๗) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ทั้งที่เป็นส่วนอดีตและอนาคตนั้น มีจริงหรือ คือสงสัยทั้งชาติก่อนและชาติหน้า (อกิริยทิฏฐิ)
(๘) สงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม คือ ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปโดยไม่ขาดสายเลยนั้น มีจริงหรือ (อัตตทิฏฐิ)
ความสงสัยอย่างอื่นที่ไม่ใช่ธรรม ๘ ประการ เช่นสงสัยในเรื่องสมมุติและบัญญัติ ไม่เป็นกิเลส
โสภณเจตสิก๒๕
โสภณเจตสิก หมายถึง กลุ่มเจตสิกฝ่ายดีงาม เป็นกลุ่มที่ประกอบได้กับโสภณจิต (ยกเว้นกลุ่มอกุศลจิต และกลุ่มอเหตุกจิตแล้ว จิตที่เหลือชื่อว่าโสภณะจิต) โสภณเจตสิกมี 25 ดวง แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้
สาธารณะ๑๙
- สติ ความระลึกได้, ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ ความไม่เลื่อนลอย ความไม่ลืม สติ สตินทรีย์ สติพละ สัมมาสติ
- สัทธา ความเชื่อ, ศรัทธา กิริยาที่เชื่อ กิริยาที่ปลงใจเชื่อ ความเลื่อมใสยิ่ง ศรัทธา สัทธินทรีย์ กำลังคือศรัทธา
- หิริ ความละอายต่อบาป, กิริยาที่ละอายต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งน่าละอาย กิริยาที่ละอายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย
- โอตตัปปะ ความกลัวต่อบาป, กิริยาที่เกรงกลัวต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งที่น่าเกรงกลัว กิริยาที่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย
- อโลภะ ความไม่อยากได้, การไม่โลภ กิริยาที่ไม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัด กิริยาที่ไม่กำหนัด ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะ
- อโทสะ (เมตตา) ความไม่คิดประทุษร้าย, การไม่คิดประทุษร้าย กิริยาที่ไม่คิดประทุษร้าย ความไม่คิดประทุษร้าย ความไม่พยาบาท ความไม่คิดเบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะ
- ตัตรมัชฌัตตา (อุเบกขา) การวางจิตเป็นกลางต่ออารมณ์นั้นๆ, ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์ ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ที่เหลือจัดเป็น๖คู่ คือการบังคับควบคุมเจตสิกและจิตที่ดี คือ
- กายลหุตา จิตตลหุตา ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชื่องช้า ความไม่กระด้างแห่ง เวทนาขันธ์,สัญญาขันธ์,สังขารขันธ์>กาย วิญญาณขันธ์>จิต (ทำกายจิตเบา)
- กายมุทุตา จิตตมุทุตา ความอ่อน ภาวะที่อ่อน ความไม่กักขฬะ ความไม่แข็ง(ทำกายจิตอ่อน)
- กายกัมมัญญัตตา จิตตกัมมัญญัตตา กิริยาที่ควรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะที่ควรแก่การงาน(ทำกายจิตควรแก่การงาน คือพอประมาณ)
- กายอุชุตา จิตตอุชุตา ความตรง กิริยาที่ตรง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอ(ทำกายจิตให้ตรง คือแม่นยำ ถูกต้อง)
- กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ การสงบ การสงบระงับ กิริยาที่สงบระงับความสงบระงับ(ทำกายจิตให้สงบ)
- กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กิริยาที่คล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะที่คล่องแคล่ว(ทำกายจิตให้คล่องแคล่ว)
วิรัตติ ๓
- สัมมาวาจา เจรจาชอบ, การงด การเว้น การเลิกละ เจตนาเครื่องเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ การไม่ล่วงละเมิด การไม่ล้ำเขต การกำจัดต้นเหตุวจีทุจริต ๔ วาจาชอบ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค
- สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ, การงด การเว้น การเลิกละ เจตนาเครื่องเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ การไม่ล่วงละเมิด การไม่ล้ำเขต การกำจัดต้นเหตุกายทุจริต ๓ การงานชอบ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค
- สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ, การงด การเว้น การเลิกละ เจตนาเครื่องเว้น การไม่ทำ การไม่ประกอบ การไม่ล่วงละเมิด การไม่ล้ำเขต การกำจัดต้นเหตุมิจฉาชีพ การเลี้ยงชีพชอบ อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค
อัปปมัญญา๒
- กรุณา ความสงสารผู้ถึงทุกข์, การสงสาร กิริยาที่สงสาร ความสงสารในสัตว์ทั้งหลาย กรุณาเจโตวิมุตติ
- มุทิตา ความยินดีต่อผู้ได้สุข, การพลอยยินดี กิริยาที่พลอยยินดี ความพลอยยินดีในสัตว์ทั้งหลาย มุทิตาเจโตวิมุตติ
ปัญญา๑
- ปัญญา = ปัญญินทรีย์ = อโมหะ(ความเข้าใจ ไม่หลง) ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ความวิจัย ความเลือกสรร ความวิจัยธรรม ความกำหนดหมายมีความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะที่รู้ ภาวะที่ฉลาด ภาวะที่รู้ละเอียด ความรู้แจ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่ครวญ ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครื่องทำลายกิเลส ปัญญาเครื่องนำทาง ความเห็นแจ้ง ความรู้ชัด ปัญญาเหมือนปฏัก ปัญญา อินทรีย์คือปัญญา ปัญญาพละ ปัญญาเหมือนศาตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่าง คือ ปัญญา แสงสว่าง คือ ปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ
อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑ ธรรมสังคณีปกรณ์
- "ปริจเฉทที่ ๒". thepathofpurity (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ectsik ectasik bali cetasika snskvt caitasika aeplwa thrrmthiprakxbkbcit singthiekidinic thangic ectsikhmaythungxngkhprakxbkhxngcit xakarhruxkaraesdngxxkkhxngcit cdepnsmrrthnahruxkhunsmbtikhxngcit milksnathiekiddbphrxmkbcit epnxarmnkhxngcit miwtthuthixasyediywkbcit epnkdeknthihprakxbepncit ectsikaeykepnkhnth id 3 khnth ewthnaectsikepnewthnakhnth khuxkhwamaeprprwnthangnamthatu syyaectsikepnsyyakhnth epriybechnphumikhumknkhxngrangkaythicdcakaraekthukkhng ectsikthiehluxxik 50 epn sngkharkhnth idaeknamthatutangmisphawaepnkhxmul thiepnkdeknthihepnipthwkhxngcit xnepnducrhsphnthukrrmkhxngcit ectsik hmaythung thrrmchatichnidhnungsungprakxbkbcit prungaetngcitihmikhwamepniptang xakarthiprakxbkbcitnn milksna 4 prakar khux ekidphrxmkbcit dbphrxmkbcit mixarmnediywkbcit xasywtthuediywkbcit citaelaectsikthixingxasyknni thaepriybcitepnna ectsikepnsiaedng phsmknepnnaaedng emuxphsmknaelwimsamarthaeyknaxxkcaksiaedngidchnid citaelaectsikkimsamarthaeykxxkcakknepnxisraidchnnn sphawthrrm rwm 4 prakarkhxngectsik midngni lksnakhxngectsikkhux mikarxasycitekidkhun kickarngankhxngectsikkhux ekidrwmkbcit phlngankhxngectsikkhux epnxarmnkhxngcit ehtuthithaihectsikekidkhunid khux karekidkhunkhxngcit ectsikniaemwacaepnsingprungaetngcit ihcitmiphvtikrrmepniptamlksnakhxngectsikktam aetktxngthuxwacitepnihy epnprathan ephraaectsikepnsingthitxngxasycitekid imwacaepnkhwamphxic khwamimphxic khwamrk khwamekliyd khwamsngb hruxfungsan lwnepnkhunsmbtikhxngectsikthngsin aetectsikekidkhunexng aelaaesdngphvtikrrmexngimid txngxasycitepntwaesdngphvtikrrmaethn cungklawidwa thrrmchatikhxngectsiknn ekidphrxmkbcit hruxprakxbkbcitepnnity hruxthrrmchati thiprakxbkbcitepnnity chuxwa ectsik karthitxngaebngcitxxkipmakmaynn ephraaectsikthiprakxbcit mipraephthtang kn citsmphnthkbolkphaynxk odykarekhaiprbruolkepnxarmn aetkarrbrunntxngxasyectsikthiepntwkrathbxarmnkhrngaerk phssaectsik epntn aelaectsikxun kcarwmprungaetngcitihepnipinxakartang karprungaetngkhxngectsik thiekidphrxmkbcitnn thaihcitmikhwamsamarthinkarruxarmnphiessaetktangknxxkip echn rueruxngkhxngkamkhunxarmn eruxngkhxngrupchan xrupchan cnthungruniphphanxarmn ectsikcdepneruxngsakhyeruxnghnungkhxngphraxphithrrmpidksungmi 4 eruxngkhux citectsik rup niphphan aelacdepneruxngsakhykhxngphraphuththsasnaxyanghnungdwyectsik52karthicitaelaectsikcaprakxbknidcatxngmikhunsmbtithikhlaykn cungxyuinthiediywknid echn olphaectsik catxngprakxbidkbolphamulcitethann emuxprakxbknaelwolphacitdwngnicungcasamarthaesdngxanackhwamxyakidxxkma othsaectsikktxngprakxbkbothsamulcitethann othsaectsikca prakxbkbolphacitimid ephraaepnsphaphthrrmthitrngkhamkn khux olphaectsikmisphaphtidicinxarmn swnothsaectsikmisphaphprathusraythalayxarmn cungekhaknimid inthanxngediywkn ectsikfayxkusl kcaekhakbosphnectsikkimidechnkn klawodysrup thrrmchatikhxngectsiknnekidphrxmkbcit hruxprakxbkbcitepnnity emuxprakxbaelw thaihcitepnbuy kusl hruxepnbap xkusl tamkarekhaprakxb ectsikaebngepn 3 klumkhux ectsikfayklang ekhaidkbcitthukklum eriykwa xyysmanaectsik mi 13 dwng klumthi 2 khux ectsikfayxkuslidaek xkuslectsikmi 14 dwng ekhaidkb klumxkuslcitethann klumsudthaykhuxectsikfaydingam ekhaidkbklumosphncitethann osphnectsikmi 25 dwng rwmthngsamklumthiklawmaaelwmithnghmd 52 prakar cdepnhmwdihy id 3 hmwd khux xyysmanaectsik13 xyysmanaectsik hmaythung ectsikfayklang thisamarthekhaprakxbkbcitid thngklumkuslcit klumxkuslcit aelaklumcitthiimichkusl xkusl xphyaktacit xyysmanaectsikmi 13 dwng aebngepn 2 klum idaek sphphcittsatharna7 hmaythungectsikthiekidkbcitthngpwng epnklumectsikthiprakxbidkbcitthwipthukdwng 89 hrux 121 dwng ectsikklumniewlaekhaprakxb caekhaphrxmknthng 7 dwng aeykcakknimid cungeriykectsikklumniwa sphphsatharnaectsik 7 phssa xarmnthiekidcakxaytna karkrathb kiriyathikrathb kiriyathithuktxng khwamthuktxng mithrrm 3 prakar khux xarmn wtthu krathbkn thaihekidwiyyan maprachumrwmphrxmkn ewthna kareswyxarmn aebngepn 5 xyang sukhewthna khuxkhwamsukhsbaythangkay thukkhewthna khuxkhwamthukkhyaklabakkay osmnsewthna khuxkhwamsukhkhwamsbayic othmnsewthna khuxkhwamthukkhic xuebkkha khuxkhwamrusukechy imthukkhimsukh syya khwamhmayruxarmn karca kiriyaca khwamca xnekidaetsmphsaehngmonwiyyanthatuthismkn ectna khwamcngictxxarmn karkhid kiriyathikhid khwamkhid xnekidaetsmphsaehngmonwiyyanthatuthismkn exkkkhkhta smathi prakhxngcitihmixarmnediyw kartngxyuaehngcit khwamdarngxyuaehngcit khwammnxyuaehngcit khwamimsayipaehngcit khwamimfungsanaehngcit phawathicitimsayip khwamsngb smathinthriy smathiphla chiwitinthriy epnihyinkarhlxeliyngnamthrrm khuxcitaelaectsikthnghlay xayu khwamdarngxyu khwamepnipxyu kiriyathiepnipxyu xakarsubenuxngknxyu khwampraphvtiepnipxyu khwamhlxeliyngxyu chiwit xinthriykhuxchiwit khxngnamthrrmnn krathaiwinic mon khwamisicepnxndieriykwa oyniosmnsikarpkinnkectsik6 hmaythungectsikthieriyraythwip imidekidkbcitthukdwng epnklumectsikthiekhaprakxbidkbcitthwipechnkn aetewlaekha prakxb caekhaimphrxmkn aeykknprakxbtamladb ectsikklumnieriykwa pkinnkaectsik 6 karnukthungxarmn khwamtruk khwamtrukxyangaerng khwamdari khwamthicitaenbxyuinxarmn khwamthicitaenbsnithxyuinxarmn khwamykcitkhunsuxarmn smmasngkppa witkectsik khuxkarykcitkhunsuxarmnni mikhwamhmayiklekhiyngkbectnaectsik khwamtngicinxarmn aelamnsikar ectsik khwamisicinxarmn ephuxihekidkhwamaetktangkn cungmixupmadwyeruxaekhngwa ectnaectsik xupmadngkhnphayhw txngkhwathngihid xnhmaythungkhwamsaerc khuxchychna mnsikarectsik xupmadngkhnthuxthay txngkhdwaderuxihtrngipyngthngxnepnhlkchy witkectsik xupmadngkhnphayklangla munghnacaphayipaetxyangediyw karprakhxngcitihxyuinxarmn khwamtrxng khwamphicarna khwamtamphicarna khwamekhaipphicarna khwamthicitsubtxxarmn khwamthicitephngduxarmn xthiomkkh kartdsinxarmn cungcitihechux tamthikhid khwamchxbicinsingthiechux khwamphxic karthakhwamphxic khwamepnphuikhrephuxcathakhwamchlad khwamphxicinthrrm xnid nieriykwa chntha phiksu yxmthachnthaniihekid ihekiddwydi ihtngkhun ihtngkhundwydi ihbngekid ihbngekidying wiriya khwamphyayamtamkhwamechuxnn karprarphkhwamephiyrthangic khwamkhamkekhmn khwambakbn khwamtnghna khwamphyayam khwamxutsaha khwamthnthan khwamekhmaekhng khwamhmn khwamkawipxyangimthxthxy khwamimthxdthingchntha khwamimthxdthingthura khwamprakhbprakhxngthura wiriyinthriy kalngkhuxwiriya smmawayama piti khwamximic emuxrbphlcakkhwamphyayamnn khwamximic khwampraomthy khwamyindiying khwambnething khwamraering khwamrunering khwamplumic khwamtunetn khwamthicitchunchmyindi khuth thkapiti plabplumicelknxyphxrusukkhnluk khnikapiti plabplumicchwkhnaekidkhunbxy oxk kn tikapiti plabplumiccnthungkbtwoyktwokhlng xuph ephng khapiti plabplumiccnthungkbtwlxy phranapiti plabplumiccnnximexibsabsanipthwthngkayaelaic piti kb sukh tangkn khux piti epnsngkharkhnth sukh epnewthnakhnth aelaemuxmipiticatxngmisukhesmxaennxn aetemuxmisukhxaccaimmipitidwykid xkuslectsik14 xkuslectsik hmaythung ectsikfayxkusl epnklumectsikthiprakxbidkbcitthiepnxkuslethann klumxkuslcit mi 14 dwng olpha3 olpha khwamxyakid khwamolph karolph kiriyathiolph khwamolph karkahndnk kiriyathikahndnk khwamkahnd khwamephngelng xkuslmulkhuxolpha xrrthkhxngolphaodypriyay iniwykrn tambaliinprmtththipnidika idcaaenkxxkip 10 prakar khux tnha khwamtxngkar xyakidsungkamkhunxarmnnneriykwakamtnha ekidphrxmdwyssstthitthieriykwaphwtnha ekidphrxmdwyxucechththitthieriykwawiphwtnha rakha khwamkahnd kama khwamikhr nnthi khwamephlidephlin xphichcha khwamephngelng chentti khwamkxihekidkiels oponphphwik khwamnaihekidinphphihm xiccha khwamprarthna xasa khwamhwng sngoychn khwamekiywkhxng khwamphukphn phukmd rdiw lamiwthitthi micchathitthi karehnphidcakkhwamepncring khwamehnwa olkethiyngkdi waolkimethiyngkdi waolkmithisudkdi waolkimmithisudkdi wachiphxnnn srirakxnnnkdi wachiphepnxun srirakepnxunkdi wastwyngepnxyuebuxnghnaaetmrnakdi wastwimepnxyuebuxnghnaaetmrnakdi wastwyngepnxyukmi imepnxyukmiebuxnghnaaetmrnakdi wastwyngepnxyukimich imepnxyukimichebuxnghnaaetmrnakdi khwamehnipkhangthitthi pachtkhuxthitthi kndarkhuxthitthi khwamehnepnkhasuktxsmmathitthi khwamphnaepraehngthitthi syoychnkhuxthitthi khwamyudthux khwamyudmn khwamtngmn khwamthuxphid thangchw thangphid phawathiphid lththiepnbxekidaehngkhwamphinas karthuxodywiplas mana khwamxwdduxthuxtw karprungaettirakhaihkha wahyab pranit hruxesmx karthuxtwwa eradikwaekha eraesmxkbekha eraelwkwaekha karthuxtw kiriyathithuxtw khwamthuxtw milksnaechnwani xnid karyktn karethidtn karechidchutnducthng karykcitkhun khwammicittxngkarepnducthng mi 9 prakar idaek epnphueliskwaekha sakhytwwa eliskwaekha epnphueliskwaekha sakhytwwa esmxekha epnphueliskwaekha sakhuntwwa elwkwaekha epnphuesmxekha sakhytwwa eliskwaekha epnphuesmxekha sakhytwwa esmxekha epnphuesmxekha sakhytwwa elwkwaekha epnphuelwkwaekha sakhytwwa eliskwaekha epnphuelwkwaekha sakhytwwa esmxekha epnphuelwkwaekha sakhytwwa elwkwaekhaothsa4 othsa khwamokrth khdekhuxng imphxic xakhatwtthu xnepnehtuiklihekidothsannmi 10 prakar khux 1 xakhatekha ephraakhidwaekha id thakhwamesuxmesiyihaekera 2 xakhatekha ephraakhidwaekha kalng thakhwamesuxmesiyihaekera 3 xakhatekha ephraakhidwaekha ck thakhwamesuxmesiyihaekera 4 xakhatekha ephraakhidwaekha id thakhwamesuxmesiyihaekphuthierarkerachxb 5 xakhatekha ephraakhidwaekha kalng thakhwamesuxmesiyihaekphuthierarkerachxb 6 xakhatekha ephraakhidwaekha ck thakhwamesuxmesiyihaekphuthierarkerachxb 7 xakhatekha ephraakhidwaekha id thakhunpraoychnihaekphuthieraekliydchng 8 xakhatekha ephraakhidwaekha kalng thakhunpraoychnihaekphuthieraekliydchng 9 xakhatekha ephraakhidwaekha ck thakhunpraoychnihaekphuthieraekliydchng 10 khwamxakhatekidkhuninthanaxnimsmkhwr echnekidokrthkhunemuxedinsadudtxim hrux ehyiybhnam epntnkhwamrisya karrisya kiriyathirisya khwamrisya karekiydkn kiriyathiekiydkn khwamekiydkninlaphskkara karthakhwamekharph karnbthux karihw karbuchakhxngkhnxunkhwamtrahni kartrahni kiriyathitrahni khwamtrahni khwamhwngaehn khwamehniywaenn khwamimexuxefux khwamimephuxaephaehngcit mcchriyami 5 prakar idaek 1 xawasmcchriy trahnithixyu 2 kulmcchriy trahniskul 3 laphmcchriy trahnilaph 4 wnnmcchriy trahniwrrna 5 thrrmmcchriy trahnithrrm khwameduxdrxnic khwamsakhywakhwrinkhxngthiimkhwr khwamsakhywaimkhwrinkhxngthikhwr khwamsakhywamiothsinkhxngthiimmioths khwamsakhywaimmiothsinkhxngthimioths karrakhay kiriyathirakhay khwamrakhay khwameduxdrxnic khwamyungic sungmilksnaechnwaniomha4 omha khwamhlng khwamimru khwamimehn khwamimtrsru khwamimruodysmkhwrkhwamimrutamkhwamepncring khwamimaethngtlxd khwamimthuxexaihthuktxng khwamimhynglngodyrxbkhxb khwamimphinic khwamimphicarna khwamimkrathaihpracks khwamthrampyya khwamongekhla khwamimruchd khwamhlng khwamlumhlng khwamhlngihl xwichcha oxkhakhuxxwichcha oykhakhuxxwichcha xnusykhuxxwichcha priyutthankhuxxwichcha limkhuxxwichcha xkuslmulkhuxomha khux imrukhwamtamthiepncring khwamimruinthini hmayechphaa imruinthrrm 8 prakar khux 1 thuk ekh xyan imaecnginthukkh 2 thuk khsmuthey xyan imaecngehtuihekidthukkh 3 thuk khnioreth xyan imaecngkardbthukkh 4 thuk khniorthkhaminiptipthay xyan imaecnghnthangthicadbthukkh 5 puph phn et yyan imaecnginkhnth xaytn thatu xinthriy scc pticcsmupbath thiepnswnxdit xehtukthitthi imechuxehtu 6 xprn et xyan imaecnginkhnth xaytn thatu xinthriy scc pticcsmupbath thiepnswnxnakht xucechththitthi ehnwasuyaelantthikthitthi imechuxphl 7 puph phn taprn et xyan imaecnginkhnth xaytn thatu xinthriy scc pticcsmupbath thngthiepnswninxditaelainxnakht xkriythitthi imechuxthngehtuthngphl 8 xthipc cytaptic csmup pn ensu thm emsu xyan imaecnginthrrmthimiehtuihekidphlxntxenuxngkn xttthitthiechuxwaepntwepntn xhiri khwamimlaxaytxbap kiriyathiimlaxaytxkarpraphvtithucritxnepnsingthinalaxay kiriyathiimlaxaytxkarprakxbxkuslbapthrrmthnghlay mikarimekharphtn epnehtuikl xonttppa khwamimekrngklwtxbap kiriyathiimekrngklwtxkarpraphvtithucritxnepnsingthinaekrngklw kiriyathiimekrngklwtxkarprakxbxkuslbapthrrmthnghlay immikarekharphphuxun epnehtuikl khwamfungsan khwamfungsanaehngcit khwamimsngbaehngcit khwamwunwayic khwamphlanaehngcitthithuka 2 aeykepn 2 klum khux thaihthxaethhdhu thinamiththa thina citichdhu thxthxycakxarmn khwamimsmprakxbaehngcit khwamimkhwraekkarnganaehngcit khwamthxaeth khwamthdthxy khwamhdhu xakarthihdhu phawathihdhu khwamsbesa xakarthisbesa phawathisbesaaehngcit khwamongkngwng khux sphaphthithaihcitesuxngsum thxthxycakxarmn khwamimsmprakxbaehngnamkay khwamimkhwraeknganaehngnamkay khwampkkhlum khwamhumhx khwampidbngiwphayin khwamngwngehnga khwamhawnxn khwamongkngwng khwamhawnxn xakarthihawnxn phawathihawnxnwicikiccha 1 wicikiccha khwamsngsy khwamlngelimaenic karekhluxbaekhlng kiriyathiekhluxbaekhlng khwamekhluxbaekhlng khwamkhidehniptang nana khwamtdsinxarmnimid khwamehnepnsxngaeng khwamehnehmuxnthangsxngaephrng khwamsngsy khwamimsamarthcathuxexaodyswnediywid khwamkhidsayip khwamkhidkhidphraip khwamimsamarthcahynglngthuxexaepnyutiid khwamkradangaehngcit khwamlngelic khwamsngsyinwicikicchaectsik hmayechphaasngsyinthrrm 8 prakarethann khux 1 sngsyinphraphuththeca idaeksngsyinphrasrira waehncaimmitwcring nacasmmutikhun hruxsngsyinphrakhun phraphuththkhun 9 2 sngsyinphrathrrm wamkhkh 4 phl 4 niphphan 1 micringhruxaelathrrmninaxxkcakthukkhidcringhrux 3 sngsyinphrasngkh wasngkhthitngxyuinmkhkh 4 phl 4 micringhrux sngkhthiptibtidicringmihrux phlaehngthanthithwayaeksngkhmicringhrux 4 sngsyinsikkha 3 sil smathi pyya wamicringhrux phlanisngsaehngkarsuksaptibtiinsikkha 3 micringhrux 5 sngsyinkhnth 5 xaytn thatuthiepnswnxditmicringhrux khuxsngsywachatikxnmicringhrux xehtukthitthi 6 sngsyinkhnth xaytn thatu thiepnxnakht micringhrux khuxsngsywa chatihnamicringhrux xucechththitthi 7 sngsyinkhnth xaytn thatu thngthiepnswnxditaelaxnakhtnn micringhrux khuxsngsythngchatikxnaelachatihna xkiriythitthi 8 sngsyinpticcsmupbaththrrm khux thrrmthiepnehtuepnphlxasyknekidkhuntxenuxngknipodyimkhadsayelynn micringhrux xttthitthi khwamsngsyxyangxunthiimichthrrm 8 prakar echnsngsyineruxngsmmutiaelabyyti imepnkiels osphnectsik25 osphnectsik hmaythung klumectsikfaydingam epnklumthiprakxbidkbosphncit ykewnklumxkuslcit aelaklumxehtukcitaelw citthiehluxchuxwaosphnacit osphnectsikmi 25 dwng aebngepn 4 klumdngni satharna19 sti khwamralukid khwamtamraluk khwamhwnraluk sti kiriyathiraluk khwamthrngca khwamimeluxnlxy khwamimlum sti stinthriy stiphla smmasti sththa khwamechux srththa kiriyathiechux kiriyathiplngicechux khwameluxmisying srththa sththinthriy kalngkhuxsrththa hiri khwamlaxaytxbap kiriyathilaxaytxkarpraphvtithucritxnepnsingnalaxay kiriyathilaxaytxkarprakxbxkuslbapthrrmthnghlay oxttppa khwamklwtxbap kiriyathiekrngklwtxkarpraphvtithucritxnepnsingthinaekrngklw kiriyathiekrngklwtxkarprakxbxkuslbapthrrmthnghlay xolpha khwamimxyakid karimolph kiriyathiimolph khwamimolph karimkahnd kiriyathiimkahnd khwamimkahnd khwamimephngelng kuslmulkhuxxolpha xothsa emtta khwamimkhidprathusray karimkhidprathusray kiriyathiimkhidprathusray khwamimkhidprathusray khwamimphyabath khwamimkhidebiydebiyn kuslmulkhuxxothsa ttrmchchtta xuebkkha karwangcitepnklangtxxarmnnn khwamsbaythangickimich khwamimsbaythangickimich khwameswyxarmn thiimthukkhimsukh xnekidaetecotsmphs kiriyaeswyxarmnthiimthukkhimsukh xnekidaetecotsmphs thiehluxcdepn6khu khuxkarbngkhbkhwbkhumectsikaelacitthidi khux kaylhuta cittlhuta khwameba khwamrwderw khwamimechuxngcha khwamimkradangaehng ewthnakhnth syyakhnth sngkharkhnth gt kay wiyyankhnth gt cit thakayciteba kaymuthuta cittmuthuta khwamxxn phawathixxn khwamimkkkhla khwamimaekhng thakaycitxxn kaykmmyytta cittkmmyytta kiriyathikhwraekkarngan khwamkhwraekkarngan phawathikhwraekkarngan thakaycitkhwraekkarngan khuxphxpraman kayxuchuta cittxuchuta khwamtrng kiriyathitrng khwamimkhd khwamimokhng khwamimngx thakaycitihtrng khuxaemnya thuktxng kaypssththi cittpssththi karsngb karsngbrangb kiriyathisngbrangbkhwamsngbrangb thakaycitihsngb kaypakhuyyta cittpakhuyyta kiriyathikhlxngaekhlw khwamkhlxngaekhlw phawathikhlxngaekhlw thakaycitihkhlxngaekhlw wirtti 3 smmawaca ecrcachxb karngd karewn karelikla ectnaekhruxngewn karimtha karimprakxb karimlwnglaemid karimlaekht karkacdtnehtuwcithucrit 4 wacachxb xnepnxngkhaehngmrrkh nbenuxnginmrrkh smmakmmnta krathachxb karngd karewn karelikla ectnaekhruxngewn karimtha karimprakxb karimlwnglaemid karimlaekht karkacdtnehtukaythucrit 3 karnganchxb xnepnxngkhaehngmrrkh nbenuxnginmrrkh smmaxachiwa eliyngchiphchxb karngd karewn karelikla ectnaekhruxngewn karimtha karimprakxb karimlwnglaemid karimlaekht karkacdtnehtumicchachiph kareliyngchiphchxb xnepnxngkhaehngmrrkh nbenuxnginmrrkhxppmyya2 kruna khwamsngsarphuthungthukkh karsngsar kiriyathisngsar khwamsngsarinstwthnghlay krunaecotwimutti muthita khwamyinditxphuidsukh karphlxyyindi kiriyathiphlxyyindi khwamphlxyyindiinstwthnghlay muthitaecotwimuttipyya1 pyya pyyinthriy xomha khwamekhaic imhlng pyya kiriyathiruchd khwamwicy khwameluxksrr khwamwicythrrm khwamkahndhmaymikhwamekhaipkahnd khwamekhaipkahndechphaa phawathiru phawathichlad phawathirulaexiyd khwamruaecmaecng khwamkhnkhid khwamikhrkhrwy pyyaehmuxnaephndin pyyaekhruxngthalaykiels pyyaekhruxngnathang khwamehnaecng khwamruchd pyyaehmuxnptk pyya xinthriykhuxpyya pyyaphla pyyaehmuxnsatra pyyaehmuxnprasath khwamswang khux pyya aesngswang khux pyya pyyaehmuxnprathip pyyaehmuxndwngaekw khwamimhlng khwamwicythrrm smmathitthixangxingphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 phraitrpidk elmthi 34 phraxphithrrmpidk elmthi 1 thrrmsngkhnipkrnbthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk pricechththi 2 thepathofpurity phasaxngkvsaebbxemrikn