บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
ตามหลักพระพุทธศาสนา ศรัทธา (สันสกฤต: श्रद्धा ศฺรทฺธา) หรือสัทธา (บาลี: สทฺธา) หมายถึงความเชื่อ ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล
ศรัทธา 4
ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนา มีสี่อย่าง คือ
- กัมมสัทธา เชื่อกรรม เชื่อกฎแห่งกรรม เชื่อว่ากรรมมีอยู่จริง คือ เชื่อว่า เมื่อทำอะไรโดยมีเจตนา คือ จงใจทำทั้งรู้ ย่อมเป็นกรรม คือ เป็นความชั่วความดีมีขึ้นในตน เป็นเหตุปัจจัยก่อให้เกิดผลดีผลร้ายสืบเนื่องต่อไป การกระทำไม่ว่างเปล่า และเชื่อว่าผลที่ต้องการ จะสำเร็จได้ด้วยการกระทำ มิใช่ด้วยอ้อนวอนหรือนอนคอยโชค เป็นต้น
- วิปากสัทธา เชื่อวิบาก เชื่อผลของกรรม เชื่อว่าผลของกรรมมีจริง คือ เชื่อว่ากรรมที่ทำแล้วย่อมมีผล และผลต้องมีเหตุ ผลดีเกิดจากกรรมดี ผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ว
- กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตน เชื่อว่าแต่ละคนเป็นเจ้าของ จะต้องรับผิดชอบเสวยวิบาก เป็นไปตามกรรมของตน
- ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า มั่นใจในองค์พระตถาคต ว่าเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ ทรงพระคุณทั้ง 9 ประการ ตรัสธรรม บัญญัติวินัยไว้ด้วยดี ทรงเป็นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นว่า มนุษย์ คือเราทุกคนนี้ หากฝึกตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมสูงสุด บริสุทธิ์หลุดพ้นได้ ดังที่พระองค์ทรงบำเพ็ญไว้
ธรรมะที่เกี่ยวข้อง
ศรัทธา หรือ สัทธาเป็นองค์ประกอบในหลายๆหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่
- พละ ๕ และ อินทรีย์ ๕ (สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา)
- สมชีวิธรรม ๔ (สมสัทธา สมสีลา สมจาคา สมปัญญา)
- ๕ (ศรัทธา ศีล พาหุสัจจะ วิริยารัมภะ ปัญญา)
- อริยวัฑฒิ หรือ อารยวัฑฒิ ๕ (ศรัทธา ศีล จาคะ ปัญญา)
- อริยทรัพย์ ๗ (ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา)
- สัปปุริสธรรม ข้อแรก คือ สัทธัมมสมันนาคโต ประกอบด้วยธรรมเจ็ดประการ อันได้แก่ มีศรัทธา มีหิริ มีโอตตัปปะ เป็นพหูสูต มีความเพียรอันปรารภแล้ว มีสติมั่นคง มีปัญญา
จะเห็นได้ว่าหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่วนใหญ่ ที่ถ้าขึ้นต้นด้วยศรัทธานั้น จะสังเกตได้ว่าจะมีต้องปัญญากำกับลงท้ายอยู่ด้วยเสมอ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเมื่อมีศรัทธาใดๆล้วน ก็ต้องมีปัญญาพิจารณาร่วมอยู่ด้วยเสมอ เพื่อไม่ให้พุทธศาสนิกชนมีศรัทธาผิดๆจนงมงายไร้สาระ
สัทธาเจตสิก
ในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงสัทธา ในลักษณะที่เป็นเจตสิก (คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า สัทธาเจตสิก มีลักษณะดังนี้ คือ
- มีความเชื่อในกุศลธรรม เป็นลักษณะ
- มีความเลื่อมใส เป็นกิจ
- มีความไม่ขุ่นมัว เป็นผล
- มีวัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเชื่อ เป็นเหตุใกล้
สัทธานี้จัดเป็นธรรมเบื้องต้น ในอันที่จะทำให้บุคคล ได้ประกอบคุณงามความดี เป็นบุญกุศลขึ้นมา และสัทธาที่จะเกิดขึ้นได้นั้น ย่อมต้องอาศัยวัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเชื่อ ได้แก่ พระรัตนตรัย ผลของกรรม เป็นต้น สัทธานั้นเมื่อเกิดขึ้นย่อมทำให้เกิดความผ่องใส ไม่ขุ่นมัว สามารถดำเนินไปจนเข้าถึงปีติได้
เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธา ได้แก่
- รูปปฺปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะเห็นรูปสมบัติสวยงาม
- ลูขปฺปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัย
- โฆสฺปปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะได้ฟังเสียงอันไพเราะ
- ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสศรัทธาเพราะได้สดับฟังธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง
ดูเพิ่ม
- จากศรัทธาจนถึงการบรรลุสัจจะ เก็บถาวร 2006-09-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
อ้างอิง
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena tamhlkphraphuththsasna srththa snskvt श रद ध s rth tha hruxsththa bali sth tha hmaythungkhwamechux khwamechuxthiprakxbdwyehtuphlsrththa 4srththainthangphraphuththsasna misixyang khux kmmsththa echuxkrrm echuxkdaehngkrrm echuxwakrrmmixyucring khux echuxwa emuxthaxairodymiectna khux cngicthathngru yxmepnkrrm khux epnkhwamchwkhwamdimikhunintn epnehtupccykxihekidphldiphlraysubenuxngtxip karkrathaimwangepla aelaechuxwaphlthitxngkar casaerciddwykarkratha miichdwyxxnwxnhruxnxnkhxyochkh epntn wipaksththa echuxwibak echuxphlkhxngkrrm echuxwaphlkhxngkrrmmicring khux echuxwakrrmthithaaelwyxmmiphl aelaphltxngmiehtu phldiekidcakkrrmdi phlchwekidcakkrrmchw kmmssktasththa echuxkhwamthistwmikrrmepnkhxngtn echuxwaaetlakhnepnecakhxng catxngrbphidchxbeswywibak epniptamkrrmkhxngtn tthakhtophthisththa echuxkhwamtrsrukhxngphraphuththeca mnicinxngkhphratthakht waepnphrasmmasmphuththa thrngphrakhunthng 9 prakar trsthrrm byytiwinyiwdwydi thrngepnphunathangthiaesdngihehnwa mnusy khuxerathukkhnni hakfuktndwydiksamarthekhathungphumithrrmsungsud brisuththihludphnid dngthiphraxngkhthrngbaephyiwthrrmathiekiywkhxngsrththa hrux sththaepnxngkhprakxbinhlayhlkthrrminthangphraphuththsasna idaek phla 5 aela xinthriy 5 sththa wiriya sti smathi pyya smchiwithrrm 4 smsththa smsila smcakha smpyya 5 srththa sil phahuscca wiriyarmpha pyya xriywththi hrux xarywththi 5 srththa sil cakha pyya xriythrphy 7 srththa sil hiri oxttppa phahuscca cakha pyya sppuristhrrm khxaerk khux sththmmsmnnakhot prakxbdwythrrmecdprakar xnidaek misrththa mihiri mioxttppa epnphhusut mikhwamephiyrxnprarphaelw mistimnkhng mipyya caehnidwahlkthrrmthangphraphuththsasnaswnihy thithakhuntndwysrththann casngektidwacamitxngpyyakakblngthayxyudwyesmx ephuxaesdngihehnwaemuxmisrththaidlwn ktxngmipyyaphicarnarwmxyudwyesmx ephuximihphuththsasnikchnmisrththaphidcnngmngayirsarasththaectsikinkhmphirphraxphithrrm mikarklawthungsththa inlksnathiepnectsik khux thrrmchatithixasycitekid eriykwa sththaectsik milksnadngni khux mikhwamechuxinkuslthrrm epnlksna mikhwameluxmis epnkic mikhwamimkhunmw epnphl miwtthuxnepnthitngaehngkhwamechux epnehtuikl sththanicdepnthrrmebuxngtn inxnthicathaihbukhkhl idprakxbkhunngamkhwamdi epnbuykuslkhunma aelasththathicaekidkhunidnn yxmtxngxasywtthuxnepnthitngaehngkhwamechux idaek phrartntry phlkhxngkrrm epntn sththannemuxekidkhunyxmthaihekidkhwamphxngis imkhunmw samarthdaeninipcnekhathungpitiid ehtuxnepnthitngaehngkhwameluxmissrththa idaek rupp pman eluxmissrththaephraaehnrupsmbtiswyngam lukhp pman eluxmissrththaephraaehnkhwampraphvtieriybrxyekhrnginthrrmwiny okhs ppman eluxmissrththaephraaidfngesiyngxnipheraa thm mp pman eluxmissrththaephraaidsdbfngthrrmkhxngphuthichladinkaraesdngduephimcaksrththacnthungkarbrrluscca ekbthawr 2006 09 13 thi ewyaebkaemchchinxangxingphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phraxphithmmtthsngkhha aela xphithmmtthwiphawinidika