บทความนี้ไม่มีจาก |
วิตามินเค เป็นวิตามินในกลุ่มที่ละลายได้ดีในไขมัน รูปแบบที่พบในธรรมชาติ มี 2 รูปแบบ ได้แก่ วิตามินเค I (Vitamin K I) หรือ ฟิลโลควิโนน (phylloquinone) เป็นรูปแบบที่พบในพืชและสัตว์ และ วิตามินเค II (Vitamin K II) หรือ เมนาควิโนน (menaquinone) เป็นรูปแบบที่พบในเนื้อเยื่อตับ และยังสามารถสร้างได้โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในร่างกาย สำหรับวิตามินเค III (Vitamin K III) หรือ เมนาไดโอน (menadione) นั้น เป็นโมเลกุลที่สังเคราะห์ขึ้น ซึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็น เมนาควิโนน โดยตับ
หน้าที่
วิตามินเค มีความสำคัญต่อการแข็งตัวของเลือด
ร่างกายใช้วิตามินเคในกระบวนการเติมหมู่คาร์บอกซิลหลังการแปลรหัสอาร์เอ็นเอเป็นโปรตีน (posttranslational carboxylation) ของกรดกลูตามิก (glutamic acid) ซึ่งจำเป็นต่อการจับกับแคลเซียมของโปรตีนที่มีหมู่คาร์บอกซิลในตำแหน่งแกมมา (γ-carboxylated proteins) เช่น โปรธรอมบิน หรือ แฟคเตอร์ II (prothrombin or factor II) , แฟคเตอร์ VII, IX และ X (factors VII, IX and X) , โปรตีนซี (protein C) , โปรตีนเอส (protein S) และโปรตีนอื่นๆที่เป็นองค์ประกอบของกระดูก
ยาในกลุ่ม (Warfarin) จะขัดขวางกระบวนการนี้ ทำให้วิตามินเคไม่สามารถเปลี่ยนไปเป็น (hydroquinone) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ออกฤทธิ์ได้
แหล่งที่พบ
วิตามินเคพบมากในอาหารประเภทผักใบเขียว นอกจากนี้ยังพบในเนื้อสัตว์ นม เนย น้ำมันมะกอก น้ำมันถั่วเหลือง กาแฟ และแพร์
ปริมาณที่ร่างกายต้องการ คือ 100 ไมโครกรัมต่อวัน
ภาวะขาดวิตามินเค
อาการที่แสดงถึง ภาวะขาดวิตามินเค (Hypovitaminosis K) คือ มีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่น ช่องกะโหลกศีรษะ ลำไส้ หรือ ผิวหนัง โดยจะพบมากในช่วงอายุ 1 สัปดาห์แรกของทารกแรกเกิด ทั้งนี้เป็นเพราะทารกมีไขมันสะสมน้อย ตับของทารกยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ลำไส้ยังปราศจากเชื้อแบคทีเรียที่สังเคราะห์วิตามิน ประกอบกับวิตามินเคที่ผ่านมาทางรกและน้ำนมจากมารดานั้นมีปริมาณน้อย
สำหรับภาวะขาดวิตามินเคในผู้ใหญ่นั้น มักเกิดร่วมกับสาเหตุบางอย่าง เช่น โรคเรื้อรังของระบบทางเดินอาหารบางชนิด โรคทางเดินน้ำดีอุดตัน หลังจากการผ่าตัดลำไส้เล็ก หรือได้รับยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อกว้าง
การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจ (prothrombin time ; PT) ซึ่งผู้ที่มีภาวะขาดวิตามินเคจะใช้เวลานานกว่าปกติ หรือตรวจปริมาณวิตามินเคโดยตรงด้วยวิธี HPLC
การรักษาทำได้โดยให้วิตามินเคในรูปยาฉีด 10 มิลลิกรัมครั้งเดียว ในผู้ป่วยที่โรคเรื้อรังอื่นอาจเสริมด้วยวิตามินเคในรูปยากิน 1-2 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ ในรูปยาฉีด 1-2 มิลลิกรัมต่อสัปดาห์
ภาวะวิตามินเคเป็นพิษ
ภาวะวิตามินเคเป็นพิษ (Hypervitaminosis K) คือ การได้รับวิตามินเคมากเกินไป สามารถทำให้เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก และภาวะบิลิรูบินในเลือดต่ำในทารกได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir witaminekh epnwitamininklumthilalayiddiinikhmn rupaebbthiphbinthrrmchati mi 2 rupaebb idaek witaminekh I Vitamin K I hrux filolkhwionn phylloquinone epnrupaebbthiphbinphuchaelastw aela witaminekh II Vitamin K II hrux emnakhwionn menaquinone epnrupaebbthiphbinenuxeyuxtb aelayngsamarthsrangidodyaebkhthieriythixasyxyuinrangkay sahrbwitaminekh III Vitamin K III hrux emnaidoxn menadione nn epnomelkulthisngekhraahkhun sungcathukepliynepn emnakhwionn odytbwitamin K1 phylloquinone witamin K2 menaquinone hnathiwitaminekh mikhwamsakhytxkaraekhngtwkhxngeluxd rangkayichwitaminekhinkrabwnkaretimhmukharbxksilhlngkaraeplrhsxarexnexepnoprtin posttranslational carboxylation khxngkrdklutamik glutamic acid sungcaepntxkarcbkbaekhlesiymkhxngoprtinthimihmukharbxksilintaaehnngaekmma g carboxylated proteins echn oprthrxmbin hrux aefkhetxr II prothrombin or factor II aefkhetxr VII IX aela X factors VII IX and X oprtinsi protein C oprtinexs protein S aelaoprtinxunthiepnxngkhprakxbkhxngkraduk yainklum Warfarin cakhdkhwangkrabwnkarni thaihwitaminekhimsamarthepliynipepn hydroquinone sungepnrupaebbthixxkvththiidaehlngthiphbwitaminekhphbmakinxaharpraephthphkibekhiyw nxkcakniyngphbinenuxstw nm eny namnmakxk namnthwehluxng kaaef aelaaephr primanthirangkaytxngkar khux 100 imokhrkrmtxwnphawakhadwitaminekhxakarthiaesdngthung phawakhadwitaminekh Hypovitaminosis K khux mieluxdxxkinxwywatang echn chxngkaohlksirsa lais hrux phiwhnng odycaphbmakinchwngxayu 1 spdahaerkkhxngtharkaerkekid thngniepnephraatharkmiikhmnsasmnxy tbkhxngtharkyngphthnaimsmburn laisyngprascakechuxaebkhthieriythisngekhraahwitamin prakxbkbwitaminekhthiphanmathangrkaelananmcakmardannmiprimannxy sahrbphawakhadwitaminekhinphuihynn mkekidrwmkbsaehtubangxyang echn orkheruxrngkhxngrabbthangedinxaharbangchnid orkhthangedinnadixudtn hlngcakkarphatdlaiselk hruxidrbyaptichiwnathimivththikhrxbkhlumechuxkwang karwinicchythaidodykartrwc prothrombin time PT sungphuthimiphawakhadwitaminekhcaichewlanankwapkti hruxtrwcprimanwitaminekhodytrngdwywithi HPLC karrksathaidodyihwitaminekhinrupyachid 10 millikrmkhrngediyw inphupwythiorkheruxrngxunxacesrimdwywitaminekhinrupyakin 1 2 millikrmtxwn hrux inrupyachid 1 2 millikrmtxspdahphawawitaminekhepnphisphawawitaminekhepnphis Hypervitaminosis K khux karidrbwitaminekhmakekinip samarththaihekidphawaemdeluxdaedngaetk aelaphawabilirubinineluxdtaintharkid bthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk