อนิรุทธคำฉันท์ เป็นบทประพันธ์ไม่ปรากฏผู้แต่ง เพื่อแสดงความสามารถในการแต่งฉันท์เป็นเรื่องยาวให้สมบูรณ์ ลักษณะการแต่ง เป็นฉันท์ มีกาพย์และร่ายสุภาพปนอยู่ เป็นวรรณกรรมสมัยอยุธยา
อนิรุทธ์คำฉันท์ | |
---|---|
กวี | ไม่ปรากฏ |
ประเภท | นิทาน |
คำประพันธ์ | คำฉันท์ |
ยุค | อยุธยา |
ส่วนหนึ่งของ |
อนิรุทธคำฉันท์มาจากเรื่อง อุณรุท หรืออาณาจักรล้านนารู้จักในชื่อ อุสสาบารส ในอาณาจักรอยุธยา มีเรื่อง อุณรุท เผยแพร่เข้ามาในอาณาจักรอยุธยาก่อนที่จะมีการแต่งเรื่องอนิรุทธคำฉันท์ ดังพบหลักฐานในวรรณคดีเรื่องทวาทศมาสโคลงดั้นและสมุทรโฆษคำฉันท์
เดิมเชื่อกันว่าศรีปราชญ์เป็นผู้แต่ง เพราะมีผู้เขียนโดยเติมไว้ข้างท้ายว่า "ศรีปราชญ์ปัญญายง แต่งไว้" แต่การศึกษายุคหลังเชื่อว่าศรีปราชญ์ไม่มีตัวตนอาจเป็นไปได้ที่อนิรุทธ์คำฉันท์จะแต่งในสมัยเดียวกับสมุทรโฆษคำฉันท์เพราะสำนวนโวหารใกล้เคียงกันทั้งแนวนิยมด้านวรรณศิลป์และความเก่าใหม่ของภาษา
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศก็ยังแต่งเรื่องนี้กันอยู่ โดยแต่งเรื่องอุณรุทเป็นกลอนบทละครและใช้แสดงละครใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงพระราชนิพนธ์เรื่องอุณรุทเป็นบทละครใน เป็นบทละครตามเรื่องที่มีมาแต่โบราณ ดังปรากฏในข้อความว่า "ทรงไว้ ตามเรื่องโบราณ"
อ้างอิง
- "คำฉันท์ (4)".
- ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. "เสน่ห์ของบทละครในเรื่องอุณรุท พระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช".
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xniruththkhachnth epnbthpraphnthimpraktphuaetng ephuxaesdngkhwamsamarthinkaraetngchnthepneruxngyawihsmburn lksnakaraetng epnchnth mikaphyaelaraysuphaphpnxyu epnwrrnkrrmsmyxyuthyaxniruththkhachnthkwiimpraktpraephthnithankhapraphnthkhachnthyukhxyuthyaswnhnungkhxngsaranukrmwrrnsilp xniruththkhachnthmacakeruxng xunruth hruxxanackrlannaruckinchux xussabars inxanackrxyuthya mieruxng xunruth ephyaephrekhamainxanackrxyuthyakxnthicamikaraetngeruxngxniruththkhachnth dngphbhlkthaninwrrnkhdieruxngthwathsmasokhlngdnaelasmuthrokhskhachnth edimechuxknwasriprachyepnphuaetng ephraamiphuekhiynodyetimiwkhangthaywa sriprachypyyayng aetngiw aetkarsuksayukhhlngechuxwasriprachyimmitwtnxacepnipidthixniruththkhachnthcaaetnginsmyediywkbsmuthrokhskhachnthephraasanwnowhariklekhiyngknthngaenwniymdanwrrnsilpaelakhwamekaihmkhxngphasa insmysmedcphraecaxyuhwbrmokskyngaetngeruxngniknxyu odyaetngeruxngxunruthepnklxnbthlakhraelaichaesdnglakhrin phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharachthrngphrarachniphntheruxngxunruthepnbthlakhrin epnbthlakhrtameruxngthimimaaetobran dngpraktinkhxkhwamwa thrngiw tameruxngobran xangxing khachnth 4 chlda eruxngrkslikhit esnhkhxngbthlakhrineruxngxunruth phrarachniphnth khxngphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach bthkhwamwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk