บทความนี้ไม่มีจาก |
สมุทรโฆษคำฉันท์ เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจาก วรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ว่าเป็นเรื่องที่แต่งดีเป็นเยี่ยมในกระบวน เป็นวรรณกรรมขนาดย่อม มีความยาว ของเนื้อเรื่อง 2,218 บท (นับรวมแถลงท้ายเรื่อง 21 บท ) กับโคลงท้ายเรื่องอีก 4 บท
สมุทรโฆษคำฉันท์ | |
---|---|
กวี | 3 ท่าน (ดูเนื้อเรื่อง) |
ประเภท | นิทาน |
คำประพันธ์ | คำฉันท์ |
ความยาว | 2,218 บท |
ยุค | อยุธยา -รัตนโกสินทร์ |
ปีที่แต่ง | พ.ศ. 2200? - 2392 |
ส่วนหนึ่งของ |
สมุทรโฆษคำฉันท์นับเป็นหนึ่งในวรรณคดีไทย ที่มีประวัติอันยาวนาน สืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา จวบจนถึงช่วงต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อหาแบบนิยายไทยทั่วไป ที่มีความรักและการพลัดพราก กวีได้สอดแทรกขนบการแต่งเรื่องไว้อย่างสมบูรณ์ ขณะเดียวกัน นักประวัติศาสตร์ยังใช้วรรณคดีเล่มนี้สำหรับการอ้างอิงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ด้าน และวัฒนธรรมด้วย
ประวัติและผู้แต่ง
สมุทรโฆษคำฉันท์มีผู้แต่งสามท่าน ซึ่งแต่งในยุคสมัยต่างๆ กัน ดังนี้
- พระมหาราชครู แต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา แต่แต่งตั้งปี พ.ศ. ใดไม่ปรากฏ คาดว่าน่าจะอยู่ในราว พ.ศ. 2200 ท่านได้แต่งไว้ 1,252 บท นับตั้งแต่ต้น จนถึงตอน "งานสยุมพรพระสมุทรโฆษกับนางพินทุมดี" ด้วยกาพย์ฉบัง ที่ว่า
พระเสด็จด้วยน้องลีลาส | ลุอาศรมอาส- | |
นเทพลบุตรอันบนฯ |
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เอง 205 บท แต่ไม่จบเรื่อง ก็สวรรคตเสียก่อน ทรงแต่งตั้งแต่ตอน "พระสมุทรโฆษและนางพินทุมดีไปใช้บน" (แก้บน) จนถึง ตอนที่พิทยาธรสองตนรบกัน (ตนหนึ่งตกลงไปในสวน) แต่ยังรบไม่จบ ทรงแต่งจนถึงสัททุลวิกกีฬิตฉันท์ 19 ที่ว่า
แต่นี้พี่อนุช(ะ)ถึงแก่กรรม(ะ)พิกล | เรียมฤๅจะยากยล พธู | |
ตนกูตายก็จะตายผู้เดียวใครจะแลดู | โอ้แก้วกับตนกู ฤเห็นฯ |
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทรงพระนิพนธ์ต่อจากนั้นจนจบเรื่อง นับได้ 861 บท หลังจากที่ค้างอยู่นานถึง 160 ปี (นับจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 2231) เนื่องจากไม่มีผู้ใดกล้าแต่งต่อ โดยได้ทรงพระนิพนธ์เป็นสองช่วง และสุดท้ายก็จบเรื่อง เมื่อ พ.ศ. 2392 (จ.ศ. 1211) ดังโคลงสี่สุภาพท้ายเรื่องที่ 4 บท ที่ทรงเล่าไว้ชัดแจ้ง ดังนี้
จวบจุลศักราชได้ | พรรษา สหัสแฮ | |
สองสตพรรษเอกา | ทศอ้าง | |
กุกกุฏสังวัจฉรา | กติกมาส หมายเฮย | |
อาทิตย์ดลฤถีข้าง | ปักษ์ขึ้นปัญจมีฯ |
รังสรรค์ฉันท์เสร็จสิ้น | สุดสาร | |
สมุทรโฆษต่อตำนาน | เนิ่นค้าง | |
รจิตเรื่องบิพิสดาร | อดีตเหตุ แสดงเฮย | |
โดยพุทธพจนรสอ้าง | อรรถแจ้งแถลงธรรมฯ |
(จุลศักราช 1211 ปีระกา เดือนสิบสอง วันอาทิตย์ ขึ้น 5 ค่ำ)
เนื้อเรื่อง
เนื้อเรื่องสมุทรโฆษนั้น เป็นการดัดแปลงมาจากสมุทรโฆษชาดก ในปัญญาสชาดก ซึ่งเป็นชาดกนอกนิบาต แต่เนื้อหาในเรื่องที่พระราชครูแต่งนั้น แตกต่างไปจากชาดกอยู่บ้าง ทว่าเมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงแต่ง พระองค์ได้ดำเนินตามปัญญาสชาดกจนจบเรื่อง
คำประพันธ์
คำประพันธ์ในสมุทรโฆษคำฉันท์ ระบุไว้ในชื่อของหนังสือเล่มนี้อยู่แล้ว ว่าเป็น คำฉันท์ นั่นคือ ประกอบด้วยฉันท์ และกาพย์
กวีทั้งสามได้แต่งฉันท์ตามขนบฉันท์โบราณ กล่าวคือ เสียงหนักเบา (ครุ ลหุ) มิได้กำหนดจากเสียงสระเสียงยาวหรือเสียงสั้นอย่างในชั้นหลัง หากแต่เน้น “หนักเบา”จากเสียง ฉันท์ทั้งหมดนี้ขึ้นเพื่อการอ่านทำนองเสนาะ ที่มีจังหวะจะโคนไพเราะ โดยมีการใช้เลขกำกับจำนวนคำในแต่ละบาทของฉันท์นั้น
คำฉันท์ในเรื่อง ไม่ได้ระบุชนิด แต่บอกจำนวนคณะเอาไว้ เช่น 11, 12 เป็นต้น เลขระบุฉันท์และกาพย์ มีดังนี้
กาพย์
ฉันท์
- อินทรวิเชียรฉันท์11
- โตฏกฉันท์12
- วสันตดิลกฉันท์14
- มาลินีฉันท์15
- สัททุลวิกกีฬิตฉันท์19
- สัทธราฉันท์21
- สุรางคนางค์ฉันท์28
ภาษาที่ใช้
ด้วยวรรณกรรมเรื่องนี้แต่งขึ้นในสมัยอยุธยา ภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาเก่า อ่านเข้าใจไม่ง่ายนัก ทั้งยังมีฉันท์อยู่หลายตอน ซึ่งนิยมแต่งด้วยคำภาษาบาลีและสันสกฤต ทั้งยังมีเขมรแทรกอยู่ด้วย แต่ก็ไม่ถึงกับเป็นหนังสือที่อ่านยากจนเกินไป และยังมีหลายตอนที่ใช้ภาษาไทยอย่างง่ายๆ อย่างเข้าใจได้ดีแม้ในปัจจุบัน
ความสำคัญของสมุทรโฆษคำฉันท์
สมุทรโฆษคำฉันท์เป็นวรรณกรรมชิ้นแรกๆ ของไทย ที่มีขนบการเล่าเรื่องที่ละเอียด คล้ายกับบทละคร มีการเล่าเรื่องโดยสังเขปไว้ในตอนต้น เล่าเรื่องเบิกโรงที่เล่น ก่อนเล่าเรื่องจริง โดยเฉพาะการเล่นเบิกโรงนั้น บ่งบอกถึงประวัติการละเล่นของไทยได้เป็นดี เช่น การเล่นหัวล้านชนกัน เล่นชวาแทงหอก เล่นจระเข้กัดกัน เป็นต้น
ในขณะเดียวกัน สมุทรโฆษคำฉันท์ ยังเป็นวรรณกรรมคำสอน ที่นำนิทานอิงธรรม มาแต่งด้วยถ้อยคำอันไพเราะ ใช้อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน และมีคติธรรม นอกจากนี้ นักวรรณคดีบางท่านยังอ้างว่า เป็นการแต่งเพื่อเฉลิมฉลองงานพระชนมายุครบ 25 พรรษาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชด้วย
บางตอนจากสมุทรโฆษคำฉันท์
- พระสมุทรโฆษและนางพินทุมดีเสด็จป่าหิมพานต์
บรรพตรจเรขประไพ | ช่องชั้นไฉไล | |
คือช่างฉลุเลขา |
วุ้งเวิ้งเพิงตระพักเสลา | หุบห้องคูหา | |
แลห้วงแลห้วยเหวลหาร |
พุน้ำชำเราะเซาะธาร | ไหลลั่นบันดาล | |
ดั่งสารพิรุณธารา |
เงื้อมง้ำโชงกชง่อนภูผา | พึงพิศโสภา | |
เปนชานเปนช่องปล่องปน |
สีสลับยยับพรรณอำพน | เหลืองหลากกาญจน | |
แลขาวคือเพชรรัศมีฯ |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir smuthrokhskhachnth epnwrrnkhdithiidrbkarykyxngcak wrrnkhdisomsr insmyrchkalthi 6 waepneruxngthiaetngdiepneyiyminkrabwn epnwrrnkrrmkhnadyxm mikhwamyaw khxngenuxeruxng 2 218 bth nbrwmaethlngthayeruxng 21 bth kbokhlngthayeruxngxik 4 bthsmuthrokhskhachnthkwi3 than duenuxeruxng praephthnithankhapraphnthkhachnthkhwamyaw2 218 bthyukhxyuthya rtnoksinthrpithiaetngph s 2200 2392swnhnungkhxngsaranukrmwrrnsilp smuthrokhskhachnthnbepnhnunginwrrnkhdiithy thimiprawtixnyawnan subenuxngmatngaetkhrngkrungsrixyuthya cwbcnthungchwngtnaehngkrungrtnoksinthr mienuxhaaebbniyayithythwip thimikhwamrkaelakarphldphrak kwiidsxdaethrkkhnbkaraetngeruxngiwxyangsmburn khnaediywkn nkprawtisastryngichwrrnkhdielmnisahrbkarxangxinghlkthanthangprawtisastrdan aelawthnthrrmdwyprawtiaelaphuaetngsmuthrokhskhachnthmiphuaetngsamthan sungaetnginyukhsmytang kn dngni phramharachkhru aetngkhuninsmysmedcphranaraynmharach aehngkrungsrixyuthya aetaetngtngpi ph s idimprakt khadwanacaxyuinraw ph s 2200 thanidaetngiw 1 252 bth nbtngaettn cnthungtxn ngansyumphrphrasmuthrokhskbnangphinthumdi dwykaphychbng thiwaphraesdcdwynxnglilas luxasrmxas nethphlbutrxnbnsmedcphranaraynmharach thrngphrarachniphnthdwyphraxngkhexng 205 bth aetimcberuxng kswrrkhtesiykxn thrngaetngtngaettxn phrasmuthrokhsaelanangphinthumdiipichbn aekbn cnthung txnthiphithyathrsxngtnrbkn tnhnungtklngipinswn aetyngrbimcb thrngaetngcnthungsththulwikkilitchnth 19 thiwaaetniphixnuch a thungaekkrrm a phikl eriymvicayakyl phthutnkutaykcatayphuediywikhrcaaeldu oxaekwkbtnku vehnsmedcphramhasmneca krmphraprmanuchitchionrs insmyrchkalthi 3 aehngkrungrtnoksinthrthrngphraniphnthtxcaknncncberuxng nbid 861 bth hlngcakthikhangxyunanthung 160 pi nbcaksmedcphranaraynmharachesdcswrrkht emux ph s 2231 enuxngcakimmiphuidklaaetngtx odyidthrngphraniphnthepnsxngchwng aelasudthaykcberuxng emux ph s 2392 c s 1211 dngokhlngsisuphaphthayeruxngthi 4 bth thithrngelaiwchdaecng dngnicwbculskrachid phrrsa shsaehsxngstphrrsexka thsxangkukkutsngwcchra ktikmas hmayehyxathitydlvthikhang pkskhunpycmirngsrrkhchnthesrcsin sudsarsmuthrokhstxtanan eninkhangrciteruxngbiphisdar xditehtu aesdngehyodyphuththphcnrsxang xrrthaecngaethlngthrrm culskrach 1211 piraka eduxnsibsxng wnxathity khun 5 kha enuxeruxngenuxeruxngsmuthrokhsnn epnkarddaeplngmacaksmuthrokhschadk inpyyaschadk sungepnchadknxknibat aetenuxhaineruxngthiphrarachkhruaetngnn aetktangipcakchadkxyubang thwaemuxsmedcphramhasmneca thrngaetng phraxngkhiddaenintampyyaschadkcncberuxngkhapraphnthkhapraphnthinsmuthrokhskhachnth rabuiwinchuxkhxnghnngsuxelmnixyuaelw waepn khachnth nnkhux prakxbdwychnth aelakaphy kwithngsamidaetngchnthtamkhnbchnthobran klawkhux esiynghnkeba khru lhu miidkahndcakesiyngsraesiyngyawhruxesiyngsnxyanginchnhlng hakaetenn hnkeba cakesiyng chnththnghmdnikhunephuxkarxanthanxngesnaa thimicnghwacaokhnipheraa odymikarichelkhkakbcanwnkhainaetlabathkhxngchnthnn khachnthineruxng imidrabuchnid aetbxkcanwnkhnaexaiw echn 11 12 epntn elkhrabuchnthaelakaphy midngni kaphy kaphychbng16 kaphysurangkhnangkh28 chnth xinthrwiechiyrchnth11 ottkchnth12 wsntdilkchnth14 malinichnth15 sththulwikkilitchnth19 sththrachnth21 surangkhnangkhchnth28phasathiichdwywrrnkrrmeruxngniaetngkhuninsmyxyuthya phasathiichcungepnphasaeka xanekhaicimngaynk thngyngmichnthxyuhlaytxn sungniymaetngdwykhaphasabaliaelasnskvt thngyngmiekhmraethrkxyudwy aetkimthungkbepnhnngsuxthixanyakcnekinip aelayngmihlaytxnthiichphasaithyxyangngay xyangekhaiciddiaeminpccubnkhwamsakhykhxngsmuthrokhskhachnthsmuthrokhskhachnthepnwrrnkrrmchinaerk khxngithy thimikhnbkarelaeruxngthilaexiyd khlaykbbthlakhr mikarelaeruxngodysngekhpiwintxntn elaeruxngebikorngthieln kxnelaeruxngcring odyechphaakarelnebikorngnn bngbxkthungprawtikarlaelnkhxngithyidepndi echn karelnhwlanchnkn elnchwaaethnghxk elncraekhkdkn epntn inkhnaediywkn smuthrokhskhachnth yngepnwrrnkrrmkhasxn thinanithanxingthrrm maaetngdwythxykhaxnipheraa ichxanephuxkhwamephlidephlin aelamikhtithrrm nxkcakni nkwrrnkhdibangthanyngxangwa epnkaraetngephuxechlimchlxngnganphrachnmayukhrb 25 phrrsakhxngsmedcphranaraynmharachdwybangtxncaksmuthrokhskhachnthphrasmuthrokhsaelanangphinthumdiesdcpahimphantbrrphtrcerkhpraiph chxngchnichilkhuxchangchluelkhawungewingephingtraphkesla hubhxngkhuhaaelhwngaelhwyehwlharphunachaeraaesaathar ihllnbndaldngsarphiruntharaenguxmngaochngkchngxnphupha phungphisosphaepnchanepnchxngplxngpnsislbyybphrrnxaphn ehluxnghlakkaycnaelkhawkhuxephchrrsmi