บทความนี้ไม่มีจาก |
วรรณกรรม (อังกฤษ: literature) หมายถึง งานเขียนที่แต่งขึ้นหรืองานศิลปะ ที่เป็นผลงานอันเกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง นำมาบอกเล่า บันทึก ขับร้อง หรือสื่อออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว จะแบ่งวรรณกรรมเป็น 2 ประเภท คือ วรรณกรรมลายลักษณ์ คือวรรณกรรมที่บันทึกเป็นตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ อันได้แก่วรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จดบันทึก อาทิ ตำนานพื้นบ้าน
ด้วยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้าง ถึงประวัติ นิทาน ตำนาน เรื่องเล่า เรื่องสั้น นวนิยาย บทเพลง เป็นต้น
วรรณกรรมเป็นผลงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสารเรื่องราวให้เข้าใจระหว่างมนุษย์ ภาษาเป็นสิ่งที่มนุษย์คิดค้น และสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้สื่อความหมาย เรื่องราวต่าง ๆ ภาษาที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารได้แก่
- ภาษาพูด โดยการใช้เสียง
- ภาษาเขียน โดยการใช้ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ และภาพ
- ภาษาท่าทาง โดยการใช้กิริยาท่าทาง หรือประกอบวัสดุอย่างอื่น
ความงามหรือศิลปะในการใช้ภาษาขึ้นอยู่กับ การใช้ภาษาให้ถูกต้อง ชัดเจน และ เหมาะสมกับเวลา โอกาส และบุคคล นอกจากนี้ ภาษาแต่ละภาษายังสามารถปรุงแต่ง ให้เกิดความเหมาะสม ไพเราะ หรือสวยงามได้ นอกจากนี้ ยังมีการบัญญัติคำราชาศัพท์ คำสุภาพ ขึ้นมาใช้ได้อย่างเหมาะสม แสดงให้เห็นวัฒนธรรมที่เป็นเลิศทางการใช้ภาษาที่ควรดำรงและยึดถือต่อไป ผู้สร้างสรรค์งานวรรณกรรม เรียกว่า นักเขียน นักประพันธ์ หรือ กวี (Writer or Poet)
วรรณกรรมไทย แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
วรรณกรรม
มีความหมายตามนัยยะ หมายถึง กรรม ที่เกิดขึ้นต่างคน ต่างวรรณะ หมายความว่า วรรณะหรือชนชั้นต่างกันก็จะใช้คำต่างกัน คำคำนี้ มีปรากฏขึ้นครั้งแรกใน คำว่า วรรณกรรม อาจเทียบเคียงได้กับคำภาษาอังกฤษว่า Literary work หรือ general literature ความหมายแปลตามรูปศัพท์ว่า ทำให้เป็นหนังสือ ซึ่งดูตามความหมายนี้แล้วจะเห็นว่ากว้างขวางมาก นั่นก็คือการเขียนหนังสือจะเป็นข้อความสั้น ๆ หรือเรื่องราวสมบูรณ์ก็ได้ เช่น ข้อความที่เขียนตามใบปลิว ป้ายโฆษณาต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงบทความ หรือ หนังสือที่พิมพ์เป็นเล่มทุกชนิด เช่น ตำรับตำราต่าง ๆ นวนิยาย กาพย์ กลอนต่าง ๆ ก็ถือเป็นวรรณกรรมทั้งสิ้น จากลักษณะกว้าง ๆ ของวรรณกรรม สามารถทำให้ทราบถึงคุณค่ามากน้อยของวรรณกรรมได้โดยขึ้นอยู่กับ วรรณศิลป์ คือ ศิลปะในการแต่งหนังสือนั้นเป็นสำคัญ ถ้าวรรณกรรมเรื่องใดมีคุณค่าทางวรรณศิลป์สูง เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นหนังสือดี วรรณกรรมก็อาจได้รับยกย่องว่าเป็น วรรณคดี อย่างไรก็ตามการที่จะกำหนดว่า วรรณกรรมเรื่องใดควรเป็นวรรณคดีหรือไม่นั้น ต้องคำนึงถึงระยะเวลาที่แต่งหนังสือนั้นยาวนานพอควรด้วย เพื่อพิสูจน์ว่าคุณค่าของวรรณกรรมนั้นเป็นอมตะ เป็นที่ยอมรับกันทุกยุคทุกสมัยหรือไม่ เพราะอาจมีวรรณกรรมบางเรื่องที่ดีเหมาะสมกับระยะเวลาเพียงบางช่วงเท่านั้น ดังนั้นอาจสรุปได้ว่า วรรณคดีนั้นก็คือวรรณกรรมชนิดหนึ่งนั่นเอง กล่าวคือ เป็นวรรณกรรมที่กลั่นกรองและตกแต่งให้ประณีต มีความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ อันเป็นคุณค่าของการประพันธ์ หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่ง วรรณคดีนั้นเป็นวรรณกรรม วรรณกรรมไม่จำเป็นต้องเป็นวรรณคดีเสมอไป
ประเภทของวรรณกรรม
วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ แฟนวรรณกรรม 2006-05-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir wrrnkrrm xngkvs literature hmaythung nganekhiynthiaetngkhunhruxngansilpa thiepnphlnganxnekidcakkarkhid aelacintnakar aelweriyberiyng namabxkela bnthuk khbrxng hruxsuxxxkmadwyklwithitang odythwipaelw caaebngwrrnkrrmepn 2 praephth khux wrrnkrrmlaylksn khuxwrrnkrrmthibnthukepntwhnngsux aelawrrnkrrmmukhpatha xnidaekwrrnkrrmthieladwypak imidcdbnthuk xathi tananphunbanhnngsuxekainhxngsmud dwyehtuni wrrnkrrmcungmikhwamhmaykhrxbkhlumkwang thungprawti nithan tanan eruxngela eruxngsn nwniyay bthephlng epntn wrrnkrrmepnphlngansilpathiaesdngxxkdwykarichphasa ephuxkarsuxsareruxngrawihekhaicrahwangmnusy phasaepnsingthimnusykhidkhn aelasrangsrrkhkhunephuxichsuxkhwamhmay eruxngrawtang phasathimnusyichinkarsuxsaridaek phasaphud odykarichesiyng phasaekhiyn odykarichtwxksr twelkh sylksn aelaphaph phasathathang odykarichkiriyathathang hruxprakxbwsduxyangxun khwamngamhruxsilpainkarichphasakhunxyukb karichphasaihthuktxng chdecn aela ehmaasmkbewla oxkas aelabukhkhl nxkcakni phasaaetlaphasayngsamarthprungaetng ihekidkhwamehmaasm ipheraa hruxswyngamid nxkcakni yngmikarbyytikharachasphth khasuphaph khunmaichidxyangehmaasm aesdngihehnwthnthrrmthiepnelisthangkarichphasathikhwrdarngaelayudthuxtxip phusrangsrrkhnganwrrnkrrm eriykwa nkekhiyn nkpraphnth hrux kwi Writer or Poet wrrnkrrmithy aebngxxkid 2 chnid khux rxyaekw epnkhxkhwameriyngthiaesdngenuxha eruxngrawtang rxykrxng epnkhxkhwamthimikarichkhathismphs khlxngcxng thaihsmphsidthungkhwamngamkhxngphasaithy rxykrxngmihlayaebb khux okhlng chnth kaphy klxn aelaraywrrnkrrmmikhwamhmaytamnyya hmaythung krrm thiekidkhuntangkhn tangwrrna hmaykhwamwa wrrnahruxchnchntangknkcaichkhatangkn khakhani mipraktkhunkhrngaerkin khawa wrrnkrrm xacethiybekhiyngidkbkhaphasaxngkvswa Literary work hrux general literature khwamhmayaepltamrupsphthwa thaihepnhnngsux sungdutamkhwamhmayniaelwcaehnwakwangkhwangmak nnkkhuxkarekhiynhnngsuxcaepnkhxkhwamsn hruxeruxngrawsmburnkid echn khxkhwamthiekhiyntamibpliw payokhsnatang tlxdipcnthungbthkhwam hrux hnngsuxthiphimphepnelmthukchnid echn tarbtaratang nwniyay kaphy klxntang kthuxepnwrrnkrrmthngsin caklksnakwang khxngwrrnkrrm samarththaihthrabthungkhunkhamaknxykhxngwrrnkrrmidodykhunxyukb wrrnsilp khux silpainkaraetnghnngsuxnnepnsakhy thawrrnkrrmeruxngidmikhunkhathangwrrnsilpsung epnthiyxmrbknodythwipwaepnhnngsuxdi wrrnkrrmkxacidrbykyxngwaepn wrrnkhdi xyangirktamkarthicakahndwa wrrnkrrmeruxngidkhwrepnwrrnkhdihruximnn txngkhanungthungrayaewlathiaetnghnngsuxnnyawnanphxkhwrdwy ephuxphisucnwakhunkhakhxngwrrnkrrmnnepnxmta epnthiyxmrbknthukyukhthuksmyhruxim ephraaxacmiwrrnkrrmbangeruxngthidiehmaasmkbrayaewlaephiyngbangchwngethann dngnnxacsrupidwa wrrnkhdinnkkhuxwrrnkrrmchnidhnungnnexng klawkhux epnwrrnkrrmthiklnkrxngaelatkaetngihpranit mikhwamehmaasmindantang xnepnkhunkhakhxngkarpraphnth hruxcaklawxiknyhnung wrrnkhdinnepnwrrnkrrm wrrnkrrmimcaepntxngepnwrrnkhdiesmxippraephthkhxngwrrnkrrmwrrnkrrmniaebngxxkepn 2 praephth sarkhdi hmaythung hnngsuxthiaetngkhunephuxmungihkhwamru khwamkhid prasbkarnaekphuxan sungxacichrupaebbrxyaekwhruxrxykrxngkid bnethingkhdi khux wrrnkrrmthiaetngkhunephuxmungihkhwamephlidephlin snuksnan bnethingaekphuxan cungmkepneruxngthimiehtukarnaelatwlakhraehlngkhxmulxunsthaniyxyolkwrrnsilpewbist aefnwrrnkrrm 2006 05 13 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk