หญ้าฝรั่น | |
---|---|
ยอดเกสรเพศเมียสีแดงบนดอกหญ้าฝรั่น | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Magnoliophyta |
ชั้น: | Liliopsida |
อันดับ: | Asparagales |
วงศ์: | Iridaceae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | C. sativus |
ชื่อทวินาม | |
Crocus sativus L. |
หญ้าฝรั่น [ฝะ-หฺรั่น] หรือ สรั่น [สะ-หฺรั่น] จัดเป็นเครื่องเทศและเครื่องยาที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีการนำเข้าในประเทศไทยจากประเทศแถบอาหรับ เปอร์เซีย และยุโรปมาช้านาน หญ้าฝรั่นในภาษาอาหรับเรียก ซะฟะรัน เป็นไม้ดอกสีม่วง เพาะพันธุ์ด้วยหัว อยู่ในตระกูลเดียวกับไอริส จึงมีเกสรข้างในสีเหลืองทอง เมื่อแห้ง ใช้เติมรสและกลิ่นในอาหาร และใช้เป็นสีย้อมได้ด้วย หญ้าฝรั่นมีกลิ่นฉุนเฉพาะตัวและมีรสค่อนข้างขม ชาวตะวันออกและผู้คนแถบทะเลเมดิเตอเรเนียนนิยมใช้ในการปรุงรสและแต่งสีแต่งกลิ่นอาหารมาแต่ครั้งโบราณกาล โดยเฉพาะในข้าวและอาหารจำพวกปลา ส่วนชาวอังกฤษ สแกนดิเนเวีย และผู้คนแถบคาบสมุทรบอลข่านใช้ผสมกับขนมปัง นับว่าเป็นส่วนผสมที่สำคัญในตำรับอาหารฝรั่งเศสด้วย
สีเหลืองทองสำหรับย้อมผ้าละลายน้ำได้นั้น กลั่นมาจากเกสรหญ้าฝรั่นในอินเดียสมัยโบราณ หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานไม่นานนัก เหล่าสงฆ์ทั้งหลายก็ใช้หญ้าฝรั่นเป็นสีย้อมจีวรอย่างกว้างขวาง สีย้อมดังกล่าวยังใช้สำหรับภูษาอาภรณ์ของกษัตริย์ ในหลายวัฒนธรรม
มีการหว่านเครื่องเทศหญ้าฝรั่นนี้ภายในอาคารต่าง ๆ เช่น ภายในราชสำนัก หอประชุม โรงละคร และโรงอาบน้ำของกรีกและโรมัน เพื่อเป็นเครื่องหอม ภายหลังมีความผูกพันเป็นพิเศษกับ (ἑταίρα) หรือนางคณิกาของกรีก บรรดาถนนสายต่าง ๆ ของโรมก็ล้วนโปรยปรายไปด้วยหญ้าฝรั่น เมื่อจักรพรรดิเนโรเสด็จเข้ามายังพระนคร
หญ้าฝรั่นนี้เชื่อกันว่าเป็นพืชพื้นเมืองแถบทะเลเมดิเตอเรเนียน เอเชียไมเนอร์ และอิหร่าน โดยมีการปลูกมาช้านานแล้วในอิหร่าน และแคว้นกัศมีร์ของอินเดีย และเข้าใจว่ามีการนำเข้าไปยังแผ่นดินจีนเมื่อครั้งพวกมองโกลบุกรุก
ในตำราแพทย์แผนโบราณของจีน สมัยยุคศตวรรษที่ 16 นั้นก็ยังมีกล่าวถึงหญ้าฝรั่นโดยแพทย์จีนเรียกหญ้าฝรั่นนี้ว่า "ซีหงฮวา" (西紅花) ซึ่งแปลว่า ดอกไม้สีแดงจากตะวันตก ส่วนชาวอาหรับและพวกแขกมัวร์ในประเทศสเปนก็รู้จักการปลูกหญ้าฝรั่นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1504 และยังมีการกล่าวไว้ในตำราทางการแพทย์ของอังกฤษ เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 10 (พ.ศ. 1444–1543) แต่อาจสูญหายไปจากยุโรป กระทั่งพวกครูเสดนำเข้าไปอีกครั้ง ในช่วงสมัยต่าง ๆ หญ้าฝรั่นมีค่ามากกว่าทองคำเมื่อเทียบน้ำหนักกัน และยังคงเป็นเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุดในโลกจนปัจจุบัน
ส่วนตำราการแพทย์แผนโบราณของไทยนั้น หญ้าฝรั่นถือได้ว่าเป็นของที่สูงค่ามีราคาแพงมาก จัดเป็นตัวยาที่ช่วยในการแก้ลมวิงเวียน บำรุงหัวใจ เป็นตัวยาหลักที่ใช้ในตำรับต่าง ๆ และยังใช้บดเป็นผงให้ละเอียด แล้วละลายในน้ำต้มสุกที่ทิ้งไว้ให้เย็น กินเป็นน้ำกระสายยาคู่กับการกินยาตำรับต่าง ๆ อีกด้วย
ปัจจุบันนี้มีการปลูกหญ้าฝรั่นกันมากในสเปน, ฝรั่งเศส, เกาะซิซิลีของอิตาลี, อิหร่าน, และแคว้นกัศมีร์ในอินเดีย โดยจะเก็บเกสรตัวเมียที่มีอยู่เพียงดอกละสามอัน แล้วนำไปวางแผ่ไว้ในถาด ย่างไฟที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง นำมาแต่งรสชาติและกลิ่นของอาหาร หญ้าฝรั่นแห้งที่ได้ 1 กิโลกรัม เท่ากับผลผลิต 120,000–160,000 ดอก ดังนั้นจึงต้องเก็บเกสรตัวเมียจากดอกของหญ้าฝรั่นด้วยมือจำนวนมากถึงจะได้ปริมาณตามที่ต้องการ ทำให้หญ้าฝรั่นจัดเป็นเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุดในโลกโดยน้ำหนักในบรรดาเครื่องเทศทั้งหลาย ซึ่งโดยเฉลี่ยขายปลีกกันประมาณกิโลกรัมละ 77,700 บาท ทำให้ในปัจจุบันมีการเอาดอกคำฝอย ซึ่งมีลักษณะที่ค่อนข้างคล้ายคลึงกันมากกับหญ้าฝรั่น แต่มีราคาที่ถูกกว่ามากมาผสมปนปลอมอยู่ด้วยในเวลาที่ขายในร้านขายเครื่องเทศและสมุนไพรต่าง ๆ
ศัพท์มูลวิทยา
คำว่า saffron ในภาษาอังกฤษมีต้นกำเนิดมาจากภาษาละติน safranum ผ่านทางคำในภาษาฝรั่งเศสเก่าสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 12 safran ขณะเดียวกันคำ Safranum กลายมาจากคำในภาษาเปอร์เซีย زعفران (za'ferân) ขณะที่บางคนเชื่อว่าท้ายสุดแล้วมาจากภาษาอาหรับคำว่า زَعْفَرَان (za'farān) ซึ่งมาจากคำคุณศัพท์ أَصْفَر (aṣfar, "สีเหลือง") อย่างไรก็ตาม บางคนแย้งว่าคำ زَعْفَرَان (za'farān) มีต้นกำเนิดมาจากการกลายเป็นคำอาหรับจากคำเปอร์เซีย زرپران (zarparān) ซึ่งแปลว่า "มีรอยด่างสีทอง" คำในภาษาละติน safranum ยังเป็นต้นกำเนิดของคำ zafferano ในภาษาอิตาลีและคำ azafrán ในภาษาสเปน
ในภาษาไทยคำว่า หญ้าฝรั่น น่าจะมาจากการเลียนเสียงคำในภาษาเบงกอล জাফরান (jafran) ที่จริงแล้วควรเขียนว่า ญ่าฝรั่น แต่ หญ้าฝรั่น เป็นที่แพร่หลายมากกว่า ส่วนบรรจบ พันธุเมธาว่า "ฝรั่น" หรือ "สรั่น" มาจากการยืมคำในภาษาเปอร์เซีย และมีการแทรกเสียงสระลงไปให้ออกเสียงง่ายขึ้น
ชีววิทยา
สัณฐานวิทยา | |
→ ยอดเกสรเพศเมีย | |
→ | |
→ วงกลีบดอก | |
→ หัว |
หญ้าฝรั่นที่ปลูกเลี้ยง (C. sativus) เป็นพืชดอกฤดูใบไม้ร่วงอายุหลายปีไม่พบในธรรมชาติ เป็นรูปแบบหนึ่งของพืชดอกฤดูใบไม้ร่วงทางตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน () ที่เป็นหมัน ซึ่งมีต้นกำเนิดจากเอเชียกลาง หญ้าฝรั่นเป็นผลของ C. cartwrightianus เมื่อมีการคัดเลือกพันธุ์โดยเกษตรกรเพื่อให้ได้ยอดเกสรเพศเมียที่ยาวขึ้น จากการที่เป็นหมัน ชนิดดอกสีม่วงชนิดนี้จึงไม่สามารถสร้างผลที่สามารถเจริญต่อไปได้ การสืบพันธุ์จึงเกิดขึ้นจากการช่วยเหลือของมนุษย์ หัวใต้ดินที่มีรูปร่างคล้ายกับหัวหอม เป็นอวัยวะที่สะสมกักตุนแป้ง จะถูกขุดขึ้นจากดิน แยกออกจากกัน และนำไปเพาะปลูกอีกครั้ง หัวหญ้าฝรั่นที่มีชีวิตอยู่มาหนึ่งฤดูจะสร้างและแบ่งออกได้มาถึง 10 หัวย่อยที่สามารถนำไปปลูกเป็นต้นใหม่ได้ หัวเป็นเมล็ดกลมสีน้ำตาลมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 4.5 ซม. และห่อด้วยเส้นใยขนานกันหนา
หลังการเรียงกลีบในฤดูใบไม้ผลิ ต้นไม้จะแทงใบสีเขียวแคบขึ้นมาในแนวเกือบตั้งฉาก 5–11 ใบ แต่ละใบยาวถึง 40 ซม. ในฤดูใบไม้ร่วงจะเริ่มแทงตาสีม่วงขึ้นมา ในเดือนตุลาคม หลังไม้ดอกชนิดอื่นส่วนมากออกเมล็ดแล้ว พืชจะออกดอกเป็นกระจุกสีม่วงอ่อนเหมือนแรเงาด้วยดินสอสีถึงม่วงเข้มที่มีริ้วสีม่วงซีด ลักษณะดอกมีรูปร่างคล้ายดอกบัว กลีบดอกเรียวยาวคล้ายรูปไข่ เมื่อมีดอก หญ้าฝรั่นมีความสูงเฉลี่ยน้อยกว่า 30 ซม. มียอดเกสรเพศเมียสีแดงสดยื่นออกมายาวโผล่พ้นเหนือดอกมีลักษณะเป็นง่ามสามง่าม ยาว 25-30 มม.
การเพาะปลูก
C. sativus เจริญเติบโตในชีวนิเวศแบบทุ่งไม้พุ่มทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทุ่งไม้พุ่มหรือทุ่งไม้พุ่มแคระอเมริกาเหนือ และสถานที่ภูมิอากาศร้อน กึ่งแห้งแล้งมีลมโชย กระนั้นก็สามารถอยู่รอดในฤดูหนาวที่หนาวเย็นได้โดยสามารถทนความเย็นได้ถึง −10 °C (14 °F) และถูกหิมะปกคลุมในช่วงเวลาสั้น ๆ ต้องมีการชลประทานถ้าไม่ได้เพาะปลูกในบริเวณที่สิ่งแวดล้อมมีความชื้น เช่น รัฐชัมมูและกัศมีร์ที่ซึ่งมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปี 1,000–1,500 มม. (39–59 นิ้ว) พื้นที่เพาะปลูกหญ้าฝรั่นในประเทศกรีก (500 มม.หรือ 20 นิ้วต่อปี) และสเปน (400 มม.หรือ 16 นิ้ว) แต่ก็ยังห่างไกลนักเมื่อเทียบกับพื้นที่เพาะปลูกในประเทศอิหร่าน เวลาเป็นหัวใจหลักที่สำคัญ ฝนที่เหลือเฟือในฤดูใบไม้ผลิและอากาศแห้งในฤดูร้อนนั้นเหมาะสมที่สุด ฝนที่ตกก่อนหน้าจะช่วยเพิ่มผลผลิตให้หญ้าฝรั่นออกดอกมากขึ้น ฝนตกหรืออากาศหนาวระหว่างช่วงการออกดอกจะทำให้ผลผลิตลดต่ำลง สภาวะร้อนและชื้นติดต่อกันจะสร้างความเสียหายให้กับพืช เช่นเดียวกับการขุดดินที่เกิดจากกระต่าย หนู และนก นีมาโทดา โรคใบสนิม และโรคหัวเน่า เป็นภัยคุกคามการเพาะปลูกหญ้าฝรั่นเช่นกัน
หญ้าฝรั่นเจริญเติบโตได้ดีที่สุดในเมื่อได้รับแสงแดดจัด การปลูกเลี้ยงกระทำได้ดีในพื้นราบที่เอียงเข้าหาแสงแดด (นั่นคือ เอียงไปทางทิศใต้ในซีกโลกเหนือ) เพื่อให้ได้รับแสงมากที่สุด การเพาะปลูกมักกระทำในเดือนมิถุนายนในซีกโลกเหนือ หัวหญ้าฝรั่นจะถูกฝังลงไปในดินลึก 7–15 ซม. (2.8–5.9 นิ้ว) ทั้งนี้ความลึกและระยะห่างของการฝังหัวหญ้าฝรั่นขึ้นกับภูมิอากาศซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อผลผลิต การปลูกด้วยหัวแม่พันธุ์จะให้ผลิตผลหญ้าฝรั่นที่มีคุณภาพสูงกว่าแม้ว่าจะแทงตาดอกและให้หัวลูกน้อยกว่า เพื่อให้ได้หญ้าฝรั่นที่คล้ายเส้นด้าย เกษตรกรชาวอิตาลีจะปลูกโดยการฝังหัวลึก 15 ซม. (5.9 นิ้ว) แต่ละแถวห่างกัน 2–3 ซม. การสร้างหัวและดอกที่เหมาะสมที่สุดคือ 8–10 ซม. เกษตรกรชาวกรีก, โมร็อกโก และสเปนมีการวางแผนปลูกด้านความลึกและระยะห่างที่ต่างกันไป ตามแต่ละพื้นที่ตามความเหมาะสม
C. sativus ชอบดินร่วนซุย ไม่จับตัวแน่น น้ำไหลผ่านและอุ้มน้ำได้ดี และดินเป็นดินเหนียวปนหินปูนที่มีสารอินทรีย์สูง การยกร่องช่วยให้สามารถระบายน้ำได้ดี การใส่ปุ๋ยคอก 20–30 ตันต่อเฮกตาร์จะช่วยเพิ่มสารอินทรีย์ให้แก่ดินได้ หลังจากนั้นจะทำการปลูกหัวหญ้าฝรั่นลงไป หลังจากพักตัวตลอดฤดูร้อน หัวหญ้าฝรั่นจะแทงใบแคบสีเขียวขึ้นมาและเริ่มมีตาดอกในต้นฤดูใบไม้ร่วง ดอกจะบานช่วงกลางฤดูใบไม้ร่วง การเก็บเกี่ยวจำเป็นต้องกระทำอย่างรวดเร็วเพราะหลังจากที่ดอกบานในตอนเช้า ดอกจะเหี่ยวอย่างรวดเร็วหลังผ่านไปหนึ่งวัน ดอกของหญ้าฝรั่นจะบานพร้อมกันในช่วงเวลา 1–2 สัปดาห์ ดอกหญ้าฝรั่น 150 ดอกจะได้ผลผลิตหญ้าฝรั่นแห้ง 1 กรัม (0.035 ออนซ์) ถ้าต้องการหญ้าฝรั่นแห้ง 12 กรัม (ผลผลิตหญ้าฝรั่นสด 72 กรัม) ต้องใช้ดอก 1 กก. (1 ปอนด์สำหรับผลผลิตหญ้าฝรั่นแห้ง 0.2 ออนซ์) ดอกหนึ่งดอกจะมีผลผลิตหญ้าฝรั่นสดเฉลี่ย 30 มิลลิกรัม (0.46 กรัม) หรือหญ้าฝรั่นแห้ง 7 มิลลิกรัม (0.11 กรัม)
พันธุ์
ความหลากหลายสายพันธุ์ของหญ้าฝรั่นก่อให้เกิดรูปแบบผลผลิตแยกตามภูมิภาคและลักษณะ พันธุ์จากประเทศสเปนประกอบด้วยสายพันธุ์ที่มีชื่อการค้าว่า "Spanish Superior" และ "Creme" ซึ่งมีสีสว่าง มีรสชาติและกลิ่นนุ่มนวล ได้รับการจัดลำดับมาตรฐานโดยรัฐบาล พันธุ์อิตาเลียนมีกลิ่นและรสชาติแรงกว่าพันธุ์สเปนเล็กน้อย พันธุ์ที่มีกลิ่นและรสชาติแรงที่สุดเป็นพันธุ์อิหร่าน มีการปลูกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในประเทศนิวซีแลนด์, ฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์, อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่น ๆ มีบางส่วนที่ปลูกเป็นหญ้าฝรั่นอินทรีย์ ในสหรัฐอเมริกา พันธุ์ Pennsylvania Dutch มีผลผลิตออกจำหน่ายในปริมาณน้อย
ผู้บริโภคจัดให้บางสายพันธุ์เป็นหญ้าฝรั่นคุณภาพสูง หญ้าฝรั่น "Aquila (ดาว)" หรือ zafferano dell'Aquila มีสารซาฟราแนล (safranal) และโครซิน (crocin) สูง มีรูปร่างใกล้เคียงกับเส้นด้าย มีกลิ่นหอมฉุนผิดปกติและสีเข้ม สายพันธุ์นี้ปลูกในพื้นที่แปดเฮกตาร์ในหมู่บ้านนาเวลลิ (Navelli) ของแคว้นอาบรุซโซ ประเทศอิตาลีใกล้กับเมืองลากวีลา หญ้าฝรั่นถูกนำเข้ามาปลูกในประเทศอิตาลีโดยพระลัทธิโดมินิกันจากยุคมืดของสเปน พืนที่เพาะปลูกหญ้าฝรั่นใหญ่ที่สุดของประเทศอิตาลีอยู่ในซัน กาวีโน มอนเรอาลี (San Gavino Monreale) แคว้นปกครองตนเองซาร์ดิเนีย ซึ่งมีพื้นที่เพาะปลูกถึง 40 เฮกตาร์หรือคิดเป็นผลผลิต 60% ของประเทศ ผลผลิตมีสารโครซิน ไพโครโครซิน (picrocrocin) และซาฟราแนลสูงเช่นเดียวกัน สายพันธุ์ "Mongra" หรือ "Lacha" ของรัฐชัมมูและกัศมีร์ (Crocus sativus 'Cashmirianus') เป็นสายพันธุ์ที่ผู้บริโภคหาซื้อได้ยากที่สุด เนื่องด้วยภัยแล้งซ้ำซาก, และความล้มเหลวของการเพาะปลูกในพื้นที่ควบคุมโดยประเทศอินเดียของรัฐชัมมูและกัศมีร์ รวมถึงการห้ามการส่งออกของอินเดีย หญ้าฝรั่นของกัศมีร์มีสีแดง-ม่วงเข้ม ซึ่งถือได้ว่ามีสีเข้มที่สุดในโลก มีรสชาติและกลิ่นที่รุนแรง รวมถึงการให้สีด้วย
คุณสมบัติทางเคมี
ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ ระหว่างและ | |
— -D-เจนทิโอไบโอส | |
— โครซีทิน |
หญ้าฝรั่นประกอบด้วยสารระเหยและสารประกอบให้ความหอมมากกว่า 150 ชนิด และยังประกอบด้วยส่วนประกอบที่นำไปใช้งานได้อีกหลายชนิด ส่วนมากเป็นแคโรทีนอยด์ ประกอบด้วย ซีแซนทีน, ไลโคปีน, และ α- และ β-แคโรทีนหลายชนิด อย่างไรก็ตาม สีส้ม-เหลืองทองของหญ้าฝรั่นเป็นผลของ α-โครซิน
ประวัติ
ประวัติการเพาะปลูกหญ้าฝรั่นสามารถนับย้อนหลังกลับไปได้มากกว่า 3,000 ปี พืชป่าที่เป็นต้นเค้าของหญ้าฝรั่นคือ Crocus cartwrightianus มนุษย์ได้ทำการเพาะปลูกผสมพันธุ์ต้นไม้ป่าโดยคัดเลือกให้มียอดเกสรเพศเมียยาวกว่าปกติ ดังนั้นรูปแบบที่เป็นหมันของ C. cartwrightianus นั่นก็คือ C. sativus ได้เกิดขึ้นเมื่อตอนปลายยุคสำริดที่เกาะครีต ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่ามีบันทึกถึงหญ้าฝรั่นในเอกสารอายุ 700 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นเอกสารอ้างอิงทางพฤกษศาสตร์ของอัสซีเรียที่ถูกรวบรวมภายใต้อัสเชอร์บานิปาล (Ashurbanipal) เอกสารได้บันทึกถึงการใช้หญ้าฝรั่นในการรักษาโรคกว่า 90 ชนิดมาเป็นช่วงเวลามากกว่า 4,000 ปี
ซีกโลกตะวันออก
มีการพบสีที่มาจากหญ้าฝรั่นในภาพเขียนฝาผนังยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุ 50,000 ปีในทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอิหร่าน ต่อมา ชาวซูเมอร์ใช้หญ้าฝรั่นที่เติบโตในธรรมชาติในยารักษาโรคและน้ำยาเวทมนตร์ หญ้าฝรั่นเป็นสินค้าในการค้าขายทางไกลก่อนกลายที่เป็นที่นิยมสูงสุดในวัฒนธรรมของพระราชวังมิโนอัน (Minoan) ในช่วง 2 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ชาวเปอร์เซียโบราณได้มีการเพาะปลูกหญ้าฝรั่นเปอร์เซีย (Crocus sativus 'Hausknechtii') ในเดอร์บีนา (Derbena), อิสฟาฮัน (Isfahan) และโคราซอน (Khorasan) ในช่วงศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสตกาล ที่เดียวกันนี้ ได้มีการนำหญ้าฝรั่นถักทอไปกับสิ่งทอ ใช้เป็นเครื่องบรรณาการแก่เทพเจ้าในพิธีกรรมทางศาสนา และใช้เป็นสีย้อม น้ำหอม ยารักษาโรค และสิ่งชำระล้างร่างกาย ดังนั้น จึงมีการโปรยหญ้าฝรั่นลงบนเตียงและผสมลงไปในชาร้อนเพื่อเยียวยารักษาภาวะซึมเศร้าชั่วคราว ชนชาติอื่นที่ไม่ใช่ชาวเปอร์เซียกลัวว่าการใช้หญ้าฝรั่นแบบเปอร์เซียนั้นจะเป็นการใช้ในแบบสารเสพติดหรือยาโป๊ ในระหว่างทำศึกในเอเชีย อเล็กซานเดอร์มหาราชใช้หญ้าฝรั่นเปอร์เซียในยาชง, ข้าว และการชำระร่างกาย เพื่อเยียวยารักษาอาการบาดเจ็บจากการทำศึก เหล่าทหารของอเล็กซานเดอร์ได้กระทำตามอย่างชาวเปอร์เซียและได้นำการอาบหญ้าฝรั่นไปสู่กรีก
มีทฤษฎีที่ขัดแย้งกันซึ่งได้อธิบายการมาถึงของหญ้าฝรั่นในภูมิภาคเอเชียใต้ บันทึกของจีนและกัศมีร์บันทึกว่าหญ้าฝรั่นได้เดินทางมาถึงทุก ๆ แห่งในช่วงเวลา 900–2,500 ปีมาแล้ว จากการศึกษาประวัติศาสตร์เปอร์เซียโบราณมีบันทึกว่าได้เดินทางมาถึงในช่วงเวลาเมื่อ 500 ปีก่อนคริสตกาล โดยเป็นไปในลักษณะนำหัวหญ้าฝรั่นมาปลูกในสวนหลังบ้านหรือสวนสาธารณะหรือการเข้ารุกรานและตั้งอาณานิคมในเปอร์เซียของกัศมีร์ ซึ่งชาวฟินิเชียในขณะนั้นได้เข้ามาค้าขายหญ้าฝรั่นกัศมีร์เพื่อใช้เป็นสีย้อมผ้าหรือบำบัดภาวะซึมเศร้า จากนั้น ก็มีการนำหญ้าฝรั่นไปใช้ในอาหารและสีย้อมกระจายไปทั่วเอเชียใต้ พระสงฆ์ในประเทศอินเดียได้ใช้หญ้าฝรั่นเป็นสีย้อมจีวรอย่างกว้างขวางหลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน อย่างไรก็ตามจีวรที่ย้อมด้วยหญ้าฝรั่นนั่นเป็นสิ่งฟุ่มเฟือยและมีราคาแพง โดยปกติแล้วจะย้อมด้วย ขมิ้นหรือขนุนซึ่งมีราคาถูกกว่าชาวทมิฬมีการใช้หญ้าฝรั่นมานานกว่า 2,000 ปี ในภาษาทมิฬนั้นเรียกว่า "gnaazhal poo" (ஞாழல் பூ) ใช้รักษาอาการปวดหัว รักษาอาการปวดจากการทำงานหนัก เป็นต้น
นักประวัติศาสตร์บางคนเชื่อว่าหญ้าฝรั่นมาถึงประเทศจีนจากเปอร์เซียโดยผู้รุกรานชาวมองโกล ในทางกลับกัน มีการกล่าวถึงหญ้าฝรั่นในตำราแพทย์จีนโบราณ ตำราแพทย์ เฉินหนงเปิ๋นเฉ่า (神農本草經 "ยาสมุนไพรเฉินหนง" หรือที่รู้จักกันในชื่อ Pen Ts'ao หรือ Pun Tsao) ประกอบด้วยเอกสารจำนวน 40 เล่ม ซึ่งหนังสือจัดทำขึ้นในช่วงเวลา 200–300 ปีก่อนคริสตกาล ตามตำนานของจักรพรรดิหยาน (炎帝) ตำราแพทย์เฉินหนงแต่โบราณนี้มีสูตรยาสำหรับรักษาโรคต่าง ๆ ที่ได้จากพืช 252 สูตร แต่เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 มีการอ้างว่าหญ้าฝรั่นในประเทศจีนมีต้นกำเนิดจากกัศมีร์ เช่น วาน เจิน (Wan Zhen) แพทย์แผนจีนผู้เชี่ยวชาญ รายงานว่า "ถิ่นกำเนิดของหญ้าฝรั่นอยู่ในกัศมีร์ สถานที่ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ปลูกหญ้าฝรั่นเพื่อใช้มันบูชาพระพุทธเจ้า" วานยังสะท้อนให้เห็นถึงการใช้งานหญ้าฝรั่นในช่วงเวลานั้น: "ดอกหญ้าฝรั่นจะเหี่ยวแห้งหลังจากนั้น 2–3 วัน รวมถึงเกสรของดอกที่อยู่ในนั้นด้วย ซึ่งค่าของหญ้าฝรั่นอยู่ที่สีเหลืองของมัน หญ้าฝรั่นสามารถใช้ทำไวน์ที่มีกลิ่นหอมได้"
ซีกโลกตะวันตก
การค้าและการใช้ประโยชน์
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 1,298 กิโลจูล (310 กิโลแคลอรี) |
65.37 g | |
ใยอาหาร | 3.9 g |
5.85 g | |
อิ่มตัว | 1.586 g |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว | 0.429 g |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ | 2.067 g |
11.43 g | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | 530 IU |
ไทอามีน (บี1) | (10%) 0.115 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (22%) 0.267 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (10%) 1.460 มก. |
วิตามินซี | (97%) 80.8 มก. |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (11%) 111 มก. |
เหล็ก | (85%) 11.10 มก. |
แมกนีเซียม | (74%) 264 มก. |
ฟอสฟอรัส | (36%) 252 มก. |
โพแทสเซียม | (37%) 1724 มก. |
โซเดียม | (10%) 148 มก. |
สังกะสี | (11%) 1.09 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 11.90 g |
ซีลีเนียม | 5.6 μg |
โฟเลต | 93 μg |
วิตามินบี6 | 1.010 mg |
5.45 g | |
เฉพาะส่วนที่รับประทานได้เท่านั้น | |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
การค้า
หญ้าฝรั่นเกือบจะทั้งหมดเพาะปลูกในบริเวณที่ล้อมรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในทางตะวันตก และพื้นที่ซึ่งโอบล้อมด้วยประเทศอิหร่านและกัศมีร์ในทางตะวันออก ส่วนทวีปอื่น (ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา) มีผลผลิตเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในปีหนึ่ง ๆ มีผลผลิตหญ้าฝรั่นแห้งและผงประมาณ 300 ตัน 50 ตัน เป็นหญ้าฝรั่นเกรดดีที่สุด "coupe" ประเทศอิหร่านมีผลผลิตอยู่ราว 90-93% ของผลผลิตหญ้าฝรั่นทั่วโลกและเป็นประเทศที่ส่งออกมากที่สุด สองสามจังหวัดที่แห้งแล้งทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของอิหร่าน ประกอบด้วย จังหวัดฟอร์ส, กริมาน และในภูมิภาคโคราซาน เป็นพื้นที่การเพาะปลูกที่มากที่สุดของผลผลิตในปัจจุบันทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2548 กรีซเป็นอันดับสองมีผลผลิต 5.7 ตัน ในขณะที่โมร็อกโกและกัศมีร์เป็นอันดับที่สามโดยในแต่ละที่มีผลผลิต 2.3 ตัน
ในปีที่ผ่านมา การเพาะปลูกในประเทศอัฟกานิสถานได้เพิ่มขึ้น ในกัศมีร์กลับลดลง อาเซอร์ไบจาน, โมร็อกโก และอิตาลีมีผู้ผลิตจำนวนน้อย มีผลผลิตลดหลั่นกันตามลำดับ
การใช้ประโยชน์
กลิ่นหอมของหญ้าฝรั่นได้รับการบรรยายโดยผู้เชียวชาญว่าทำให้นึกถึงน้ำผึ้งที่มีกลิ่นรสผิดปกติด้วยกลิ่นเหมือนหญ้าหรือฟางแห้ง ขณะที่มีรสชาติคล้ายฟางแห้งและหวาน หญ้าฝรั่นยังมีส่วนช่วยให้อาหารมีสีเหลืองส้มสว่าง มีการใช้หญ้าฝรั่นอย่างแพร่หลายในอาหารเปอร์เซีย, ยุโรป, อาหรับ และตุรกี มักมีการผสมหญ้าฝรั่นในลูกกวาดและสุราด้วย โดยทั่วไปแล้ว มีการนำคำฝอย (Carthamus tinctorius มีการขายในชื่อ "หญ้าฝรั่นโปรตุเกส (Portuguese saffron)" หรือ "açafrão"), ชาด และขมิ้น (Curcuma longa) มาใช้แทนหญ้าฝรั่น นอกจากนี้ยังมีการนำหญ้าฝรั่นมาใช้เป็นสีย้อมผ้าโดยเฉพาะในประเทศจีนและอินเดีย และนำมาใช้ในน้ำหอม มันยังถูกนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางศาสนาในประเทศอินเดีย และมีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในการปรุงอาหารในอาหารหลากหลายเชื้อชาติ เช่น รีซอตโต อาหารของเมืองมิลาน ประเทศอิตาลี หรือ บูยาแบ็ส (bouillabaise) อาหารของประเทศฝรั่งเศส ไปจนถึงข้าวหมกที่รับประทานเคียงกับเนื้อหลายชนิดในเอเชียใต้
มีประวัติการใช้หญ้าฝรั่นในการแพทย์แผนโบราณมาอย่างยาวนาน การศึกษาวิจัยหลายชิ้นในปัจจุบันแสดงให้เห็นว่าเครื่องเทศชนิดนี้อาจมีคุณสมบัติในการต้านมะเร็ง ต่อต้านสารก่อกลายพันธุ์ ฤทธิ์ปรับภูมิคุ้มกัน และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ การศึกษาในปี พ.ศ. 2538 ชี้ให้เห็นว่ายอดเกสรเพศเมียและกลีบดอกของหญ้าฝรั่นมีประโยชน์ในการรักษาภาวะซึมเศร้า การศึกษายังแสดงว่าหญ้าฝรั่นอาจช่วยป้องกันดวงตาจากผลกระทบโดยตรงจากแสงสว่างและความเครียดที่จอตานอกเหนือจากจุดรับภาพเสื่อม (macular degeneration) และโรคตาบอดกลางคืน (retinitis pigmentosa) (หญ้าฝรั่นส่วนมากในงานวิจัยหมายถึงยอดเกสรเพศเมีย แต่มักจะไม่ระบุชัดเจนในงานวิจัย) งานศึกษาอื่น ๆ ระบุว่าหญ้าฝรั่นอาจมีศักยภาพในคุณสมบัติทางการแพทย์อีกหลายอย่าง
เชิงอรรถ
- "โฟเลต" หมายถึงแค่เพียงรูปแบบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของกรดโฟลิก; ตัวอย่างไม่มีกรดโฟลิกในตัวเอง
อ้างอิง
- คุณบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์ (2003) [1971]. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย (9 ed.). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. p. 67. ISBN .
- ตลาดสดสนามเป้า. โพลีพลัส. ททบ. 5. 19 พฤษภาคม 2013.
- Kumar V (2006), The Secret Benefits of Spices and Condiments, Sterling, p. 103, ISBN , สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2007
- Asya Asbaghi (1988), Persische Lehnwörter im Arabischen, Otto Harrassowitz, p. 145, ISBN
- (Harper 2001)
- หญ้าฝรั่น. พจนานุกรมฉบับมติชน. กรุงเทพฯ: มติชน. 2004. ISBN .
- "Spices, saffron (FW_USDA02037)". FoodWiki. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 มิถุนายน 2013.
- (Deo 2003, p. 1)
- M. Grilli Caiola; P. Caputo; R. Zanier (2004). "RAPD analysis in Crocus sativus L. accessions and related Crocus species" (PDF). Biologia Plantarum. 48 (3): 375–380. 1573-8264. สืบค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2022.
- M. Grilli Caiola (2004). "Saffron reproductive biology". Acta Horticulturae 650. International Society for Horticultural Science. doi:10.17660/ActaHortic.2004.650.1.
- (Willard 2002, p. 3)
- (DPIWE 2005)
- (Willard 2002, pp. 2–3)
- (Deo 2003, p. 2)
- (Deo 2003, p. 3)
- (Willard 2002, pp. 3–4)
- (Willard 2002, p. 4)
- Willard 2002, p. 143.
- Willard 2002, p. 201.
- (Abdullaev 2002, p. 1)
- (Deo 2003, p. 1)
- (Goyns 1999, p. 1)
- (Honan 2004)
- (Willard 2002, p. 2)
- (Humphries 1998, p. 20)
- (Willard 2002, p. 12)
- (Willard 2002, p. 2)
- (Willard 2002, pp. 17–18)
- (Willard 2002, p. 41)
- (Willard 2002, pp. 54–55)
- (Lak 1998b)
- (Fotedar 1999, p. 128)
- (Dalby 2002, p. 95)
- (McGee 2004, p. 422)
- (Dalby 2003, p. 256)
- (Tarvand 2005a)
- Finlay, Victoria (30 ธันวาคม 2002), Colour: A Natural History of the Palette, Random House, p. 224, ISBN
- (Fletcher 2005, p. 11)
- (Tarvand 2005)
- (Hayes 2001, p. 6)
- Park 2005.
- Katzer 2001.
- Negbi 1999, p. 2.
- Ghorbani 2008, p. 1.
- Malik 2007.
- Dalby 2002, p. 138.
- Abdullaev 2002, p. 1.
- Assimopoulou, Papageorgiou & Sinakos 2005, p. 1.
- Chang et al. 1964, p. 1.
- Bailes 1995.
- Maccarone, Di Marco & Bisti 2008.
- Moghaddasi 2010.
บรรณานุกรม
- Kashmiri saffron producers see red over Iranian imports, Australian Broadcasting Corporation, 2003, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Abdullaev, F. I. (2002), "Cancer chemopreventive and tumoricidal properties of saffron (Crocus sativus L.)", Experimental Biology and Medicine, 227 (1): 20–25, PMID 11788779, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Assimopoulou, A. N.; Papageorgiou, V. P.; Sinakos, Z. (2005), "Radical scavenging activity of Crocus sativus L. extract and its bioactive constituents", Phytotherapy Research, 19 (11): 997–1000, doi:10.1002/ptr.1749, PMID 16317646
- Bailes, M. (1995), The Healing Garden, Kangaroo Press, ISBN
- Chang, P. Y.; Kuo, W.; Liang, C. T.; Wang, C. K. (1964), "The pharmacological action of 藏红花 (zà hóng huā—Crocus sativus L.): effect on the uterus and/or estrous cycle", Yao Hsueh Hsueh Pao, 11
- Courtney, P. (2002), "Tasmania's Saffron Gold", Landline, Australian Broadcasting Corporation, สืบค้นเมื่อ 2009-11-23
- Dalby, A. (2002), Dangerous Tastes: The Story of Spices, University of California Press, ISBN , สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2006
- Dalby, A. (2003), Food in the Ancient World from A to Z, Routledge, ISBN
- UCLA (2002), Saffron, Darling Biomedical Library, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Davies, N. W.; Gregory, M. J.; Menary, R. C. (2005), "Effect of drying temperature and air flow on the production and retention of secondary metabolites in saffron", Journal of Agricultural and Food Chemistry., 53 (15): 5969–75, doi:10.1021/jf047989j, PMID 16028982
- Deo, B. (2003), (PDF), Crop & Food Research (New Zealand Institute for Crop & Food Research) (20), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2005-12-27, สืบค้นเมื่อ 2009-11-23.
- Dharmananda, S. (2005), "Saffron: An Anti-Depressant Herb", Institute for Traditional Medicine, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- DPIWE (2005), , Food & Agriculture, Department of Primary Industries, Water, and Environment, Government of Tasmania, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 พฤษภาคม 2005, สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2011
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - Ferrence, S. C.; Bendersky, G (2004), "Therapy with saffron and the Goddess at Thera", Perspectives in Biology and Medicine, 47 (2): 199–226, doi:10.1353/pbm.2004.0026, PMID 15259204
- Fletcher, N. (2005), Charlemagne's Tablecloth: A Piquant History of Feasting, Saint Martin's Press, ISBN
- Fotedar, S. (1999), , Vitasta, Kashmir Sabha of Kolkata, XXXII (1), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กันยายน 2011, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Ghorbani, M. (2008), "The Efficiency of Saffron's Marketing Channel in Iran" (PDF), World Applied Sciences Journal, vol. 4 no. 4, pp. 523–527, ISSN 1818-4952, สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2011
- Goyns, M. H. (1999), Saffron, Taylor and Francis, ISBN , สืบค้นเมื่อ 2009-11-23
- Grigg, D. B. (1974), The Agricultural Systems of the World, Cambridge University Press, ISBN
- Harper, D. (2001), Online Etymology Dictionary, สืบค้นเมื่อ 2009-11-23
- Hasegawa, J. H.; Kurumboor, S. K.; Nair, S. C. (1995), "Saffron chemoprevention in biology and medicine: a review", Cancer Biotherapy, 10 (4): 257–64, PMID 8590890
- Hayes, A. W. (2001), Principles and Methods of Toxicology, Taylor & Francis, ISBN
- Hill, T. (2004), The Contemporary Encyclopedia of Herbs and Spices: Seasonings for the Global Kitchen, Wiley, ISBN
- Honan, W. H. (2004), , The New York Times (ตีพิมพ์ 2 มีนาคม 2004), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 พฤษภาคม 2013, สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2011
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - Humphries, J. (1998), The Essential Saffron Companion, Ten Speed Press, ISBN
- Hussain, A. (28 มกราคม 2005), "Saffron Industry in Deep Distress", BBC News, London: British Broadcasting Corporation, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Jessie, S. W.; Krishnakantha, T. P. (2005), "Inhibition of human platelet aggregation and membrane lipid peroxidation by saffron", Molecular and Cellular Biochemistry, 278 (1–2): 59–63, doi:10.1007/s11010-005-5155-9, PMID 16180089
- Katzer, G. (2001), , Karl-Franzens-Universität Graz, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 กันยายน 2007, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Lak, D. (11 พฤศจิกายน 1998), "Kashmiris Pin Hopes on Saffron", BBC News, London: British Broadcasting Corporation, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Lak, D. (23 พฤศจิกายน 1998), Gathering Kashmir's Saffron, London: British Broadcasting Corporation, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Leffingwell, J. C. (2002), "Saffron" (PDF), Leffingwell Reports, 2 (5), สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Maccarone, R.; Di Marco, S.; Bisti, S. (2008), "Saffron Supplement Maintains Morphology and Function after Exposure to Damaging Light in Mammalian Retina", Investigative Ophthalmology and Visual Science, vol. 49 no. 3, pp. 1254–1261, doi:10.1167/iovs.07-0438, PMID 18326756
- Malik, N. (2007), (PDF), DACAAR Rural Development Program, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 12 พฤษภาคม 2013, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2011
- McGee, H (2004), On Food and Cooking: The Science and Lore of the Kitchen, Simon and Schuster, ISBN , สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Moghaddasi, M. S. (2010), "Saffron Chemicals and Medicine Usage" (PDF), Journal of Medicinal Plant Research, vol. 4 no. 6, pp. 427–430, สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2011
- Nair, S. C.; Pannikar, B.; Panikkar, K. R. (1991), "Antitumour activity of saffron (Crocus sativus)", Cancer Letters, 57 (2): 109–14, doi:10.1016/0304-3835(91)90203-T, PMID 2025883
- Negbi, M., บ.ก. (1999), Saffron: Crocus sativus L., CRC Press, ISBN
- Park, J. B. (2005), , United States Department of Agriculture, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-11, สืบค้นเมื่อ 2009-11-23
- Pearce, F. (2005), "Returning war-torn farmland to productivity", New Scientist, สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2006
- Rau, S. R. (1969), The Cooking of India, Time Life Education, ISBN
- Tarvand (2005a), , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 กันยายน 2007, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Tarvand (2005), , ISBN , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 ตุลาคม 2007, สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
- Willard, P. (2002), Secrets of Saffron: The Vagabond Life of the World's Most Seductive Spice, Beacon Press, ISBN , สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2009
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ หญ้าฝรั่น
- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Crocus sativus ที่วิกิสปีชีส์
- "Saffron". Darling Biomedical Library. UCLA.
- Duke, J. . Germplasm Resources Information Network. United States Department of Agriculture. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2004. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2011.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hyafrnyxdeksrephsemiysiaedngbndxkhyafrnkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd Magnoliophytachn Liliopsidaxndb Asparagaleswngs Iridaceaeskul spichis C sativuschuxthwinamCrocus sativus L hyafrn fa h rn hrux srn sa h rn cdepnekhruxngethsaelaekhruxngyathisakhyxyanghnung mikarnaekhainpraethsithycakpraethsaethbxahrb epxresiy aelayuorpmachanan hyafrninphasaxahrberiyk safarn epnimdxksimwng ephaaphnthudwyhw xyuintrakulediywkbixris cungmieksrkhanginsiehluxngthxng emuxaehng ichetimrsaelaklininxahar aelaichepnsiyxmiddwy hyafrnmiklinchunechphaatwaelamirskhxnkhangkhm chawtawnxxkaelaphukhnaethbthaelemdietxereniynniymichinkarprungrsaelaaetngsiaetngklinxaharmaaetkhrngobrankal odyechphaainkhawaelaxaharcaphwkpla swnchawxngkvs saekndienewiy aelaphukhnaethbkhabsmuthrbxlkhanichphsmkbkhnmpng nbwaepnswnphsmthisakhyintarbxaharfrngessdwy siehluxngthxngsahrbyxmphalalaynaidnn klnmacakeksrhyafrninxinediysmyobran hlngphraphuththecaesdcpriniphphanimnannk ehlasngkhthnghlaykichhyafrnepnsiyxmciwrxyangkwangkhwang siyxmdngklawyngichsahrbphusaxaphrnkhxngkstriy inhlaywthnthrrm mikarhwanekhruxngethshyafrnniphayinxakhartang echn phayinrachsank hxprachum ornglakhr aelaorngxabnakhxngkrikaelaormn ephuxepnekhruxnghxm phayhlngmikhwamphukphnepnphiesskb ἑtaira hruxnangkhnikakhxngkrik brrdathnnsaytang khxngormklwnopryprayipdwyhyafrn emuxckrphrrdienoresdcekhamayngphrankhr hyafrnniechuxknwaepnphuchphunemuxngaethbthaelemdietxereniyn exechiyimenxr aelaxihran odymikarplukmachananaelwinxihran aelaaekhwnksmirkhxngxinediy aelaekhaicwamikarnaekhaipyngaephndincinemuxkhrngphwkmxngoklbukruk intaraaephthyaephnobrankhxngcin smyyukhstwrrsthi 16 nnkyngmiklawthunghyafrnodyaephthycineriykhyafrnniwa sihnghwa 西紅花 sungaeplwa dxkimsiaedngcaktawntk swnchawxahrbaelaphwkaekhkmwrinpraethssepnkruckkarplukhyafrnemuxpramanpi ph s 1504 aelayngmikarklawiwintarathangkaraephthykhxngxngkvs emuxkhriststwrrsthi 10 ph s 1444 1543 aetxacsuyhayipcakyuorp krathngphwkkhruesdnaekhaipxikkhrng inchwngsmytang hyafrnmikhamakkwathxngkhaemuxethiybnahnkkn aelayngkhngepnekhruxngethsthimirakhaaephngthisudinolkcnpccubn swntarakaraephthyaephnobrankhxngithynn hyafrnthuxidwaepnkhxngthisungkhamirakhaaephngmak cdepntwyathichwyinkaraeklmwingewiyn barunghwic epntwyahlkthiichintarbtang aelayngichbdepnphngihlaexiyd aelwlalayinnatmsukthithingiwiheyn kinepnnakrasayyakhukbkarkinyatarbtang xikdwy pccubnnimikarplukhyafrnknmakinsepn frngess ekaasisilikhxngxitali xihran aelaaekhwnksmirinxinediy odycaekbeksrtwemiythimixyuephiyngdxklasamxn aelwnaipwangaephiwinthad yangifthiichthanhinepnechuxephling namaaetngrschatiaelaklinkhxngxahar hyafrnaehngthiid 1 kiolkrm ethakbphlphlit 120 000 160 000 dxk dngnncungtxngekbeksrtwemiycakdxkkhxnghyafrndwymuxcanwnmakthungcaidprimantamthitxngkar thaihhyafrncdepnekhruxngethsthimirakhaaephngthisudinolkodynahnkinbrrdaekhruxngethsthnghlay sungodyechliykhayplikknpramankiolkrmla 77 700 bath thaihinpccubnmikarexadxkkhafxy sungmilksnathikhxnkhangkhlaykhlungknmakkbhyafrn aetmirakhathithukkwamakmaphsmpnplxmxyudwyinewlathikhayinrankhayekhruxngethsaelasmuniphrtang sphthmulwithyakhawa saffron inphasaxngkvsmitnkaenidmacakphasalatin safranum phanthangkhainphasafrngessekasmykhriststwrrsthi 12 safran khnaediywknkha Safranum klaymacakkhainphasaepxresiy زعفران za feran khnathibangkhnechuxwathaysudaelwmacakphasaxahrbkhawa ز ع ف ر ان za faran sungmacakkhakhunsphth أ ص ف ر aṣfar siehluxng xyangirktam bangkhnaeyngwakha ز ع ف ر ان za faran mitnkaenidmacakkarklayepnkhaxahrbcakkhaepxresiy زرپران zarparan sungaeplwa mirxydangsithxng khainphasalatin safranum yngepntnkaenidkhxngkha zafferano inphasaxitaliaelakha azafran inphasasepn inphasaithykhawa hyafrn nacamacakkareliynesiyngkhainphasaebngkxl জ ফর ন jafran thicringaelwkhwrekhiynwa yafrn aet hyafrn epnthiaephrhlaymakkwa swnbrrcb phnthuemthawa frn hrux srn macakkaryumkhainphasaepxresiy aelamikaraethrkesiyngsralngipihxxkesiyngngaykhunchiwwithyasnthanwithyaCrocus sativus from Kohler s Medicinal Plants 1887 yxdeksrephsemiy wngklibdxk hw hyafrnthiplukeliyng C sativus epnphuchdxkvduibimrwngxayuhlaypiimphbinthrrmchati epnrupaebbhnungkhxngphuchdxkvduibimrwngthangtawnxxkkhxngthaelemdietxrereniyn thiepnhmn sungmitnkaenidcakexechiyklang hyafrnepnphlkhxng C cartwrightianus emuxmikarkhdeluxkphnthuodyekstrkrephuxihidyxdeksrephsemiythiyawkhun cakkarthiepnhmn chniddxksimwngchnidnicungimsamarthsrangphlthisamarthecriytxipid karsubphnthucungekidkhuncakkarchwyehluxkhxngmnusy hwitdinthimiruprangkhlaykbhwhxm epnxwywathisasmkktunaepng cathukkhudkhuncakdin aeykxxkcakkn aelanaipephaaplukxikkhrng hwhyafrnthimichiwitxyumahnungvducasrangaelaaebngxxkidmathung 10 hwyxythisamarthnaipplukepntnihmid hwepnemldklmsinatalmiesnphasunyklangthung 4 5 sm aelahxdwyesniykhnanknhna hlngkareriyngklibinvduibimphli tnimcaaethngibsiekhiywaekhbkhunmainaenwekuxbtngchak 5 11 ib aetlaibyawthung 40 sm invduibimrwngcaerimaethngtasimwngkhunma ineduxntulakhm hlngimdxkchnidxunswnmakxxkemldaelw phuchcaxxkdxkepnkracuksimwngxxnehmuxnaerengadwydinsxsithungmwngekhmthimiriwsimwngsid lksnadxkmiruprangkhlaydxkbw klibdxkeriywyawkhlayrupikh emuxmidxk hyafrnmikhwamsungechliynxykwa 30 sm miyxdeksrephsemiysiaedngsdyunxxkmayawophlphnehnuxdxkmilksnaepnngamsamngam yaw 25 30 mm karephaaplukdxkkhxnghyafrnincnghwdoxsaka praethsyipun C sativus ecriyetibotinchiwniewsaebbthungimphumthaelemdietxrereniyn thungimphumhruxthungimphumaekhraxemrikaehnux aelasthanthiphumixakasrxn kungaehngaelngmilmochy krannksamarthxyurxdinvduhnawthihnaweynidodysamarththnkhwameynidthung 10 C 14 F aelathukhimapkkhluminchwngewlasn txngmikarchlprathanthaimidephaaplukinbriewnthisingaewdlxmmikhwamchun echn rthchmmuaelaksmirthisungmiprimannafnechliytxpi 1 000 1 500 mm 39 59 niw phunthiephaaplukhyafrninpraethskrik 500 mm hrux 20 niwtxpi aelasepn 400 mm hrux 16 niw aetkynghangiklnkemuxethiybkbphunthiephaaplukinpraethsxihran ewlaepnhwichlkthisakhy fnthiehluxefuxinvduibimphliaelaxakasaehnginvdurxnnnehmaasmthisud fnthitkkxnhnacachwyephimphlphlitihhyafrnxxkdxkmakkhun fntkhruxxakashnawrahwangchwngkarxxkdxkcathaihphlphlitldtalng sphawarxnaelachuntidtxkncasrangkhwamesiyhayihkbphuch echnediywkbkarkhuddinthiekidcakkratay hnu aelank nimaothda orkhibsnim aelaorkhhwena epnphykhukkhamkarephaaplukhyafrnechnkn hyafrnecriyetibotiddithisudinemuxidrbaesngaeddcd karplukeliyngkrathaiddiinphunrabthiexiyngekhahaaesngaedd nnkhux exiyngipthangthisitinsikolkehnux ephuxihidrbaesngmakthisud karephaaplukmkkrathaineduxnmithunayninsikolkehnux hwhyafrncathukfnglngipindinluk 7 15 sm 2 8 5 9 niw thngnikhwamlukaelarayahangkhxngkarfnghwhyafrnkhunkbphumixakassungepnpccysakhythimiphltxphlphlit karplukdwyhwaemphnthucaihphlitphlhyafrnthimikhunphaphsungkwaaemwacaaethngtadxkaelaihhwluknxykwa ephuxihidhyafrnthikhlayesnday ekstrkrchawxitalicaplukodykarfnghwluk 15 sm 5 9 niw aetlaaethwhangkn 2 3 sm karsranghwaeladxkthiehmaasmthisudkhux 8 10 sm ekstrkrchawkrik omrxkok aelasepnmikarwangaephnplukdankhwamlukaelarayahangthitangknip tamaetlaphunthitamkhwamehmaasm C sativus chxbdinrwnsuy imcbtwaenn naihlphanaelaxumnaiddi aeladinepndinehniywpnhinpunthimisarxinthriysung karykrxngchwyihsamarthrabaynaiddi karispuykhxk 20 30 tntxehktarcachwyephimsarxinthriyihaekdinid hlngcaknncathakarplukhwhyafrnlngip hlngcakphktwtlxdvdurxn hwhyafrncaaethngibaekhbsiekhiywkhunmaaelaerimmitadxkintnvduibimrwng dxkcabanchwngklangvduibimrwng karekbekiywcaepntxngkrathaxyangrwderwephraahlngcakthidxkbanintxnecha dxkcaehiywxyangrwderwhlngphaniphnungwn dxkkhxnghyafrncabanphrxmkninchwngewla 1 2 spdah dxkhyafrn 150 dxkcaidphlphlithyafrnaehng 1 krm 0 035 xxns thatxngkarhyafrnaehng 12 krm phlphlithyafrnsd 72 krm txngichdxk 1 kk 1 pxndsahrbphlphlithyafrnaehng 0 2 xxns dxkhnungdxkcamiphlphlithyafrnsdechliy 30 millikrm 0 46 krm hruxhyafrnaehng 7 millikrm 0 11 krm phnthu sayphnthuthiaetktangihyxdeksrephsemiythitangknxyangmakindanrschatiaelakhwamwaw khwamhlakhlaysayphnthukhxnghyafrnkxihekidrupaebbphlphlitaeyktamphumiphakhaelalksna phnthucakpraethssepnprakxbdwysayphnthuthimichuxkarkhawa Spanish Superior aela Creme sungmisiswang mirschatiaelaklinnumnwl idrbkarcdladbmatrthanodyrthbal phnthuxitaeliynmiklinaelarschatiaerngkwaphnthusepnelknxy phnthuthimiklinaelarschatiaerngthisudepnphnthuxihran mikarplukepnklumelk inpraethsniwsiaelnd frngess switesxraelnd xngkvs shrthxemrika aelapraethsxun mibangswnthiplukepnhyafrnxinthriy inshrthxemrika phnthu Pennsylvania Dutch miphlphlitxxkcahnayinprimannxy phubriophkhcdihbangsayphnthuepnhyafrnkhunphaphsung hyafrn Aquila daw hrux zafferano dell Aquila misarsafraaenl safranal aelaokhrsin crocin sung miruprangiklekhiyngkbesnday miklinhxmchunphidpktiaelasiekhm sayphnthuniplukinphunthiaepdehktarinhmubannaewlli Navelli khxngaekhwnxabrusos praethsxitaliiklkbemuxnglakwila hyafrnthuknaekhamaplukinpraethsxitaliodyphralththiodminikncakyukhmudkhxngsepn phunthiephaaplukhyafrnihythisudkhxngpraethsxitalixyuinsn kawion mxnerxali San Gavino Monreale aekhwnpkkhrxngtnexngsardieniy sungmiphunthiephaaplukthung 40 ehktarhruxkhidepnphlphlit 60 khxngpraeths phlphlitmisarokhrsin iphokhrokhrsin picrocrocin aelasafraaenlsungechnediywkn sayphnthu Mongra hrux Lacha khxngrthchmmuaelaksmir Crocus sativus Cashmirianus epnsayphnthuthiphubriophkhhasuxidyakthisud enuxngdwyphyaelngsasak aelakhwamlmehlwkhxngkarephaaplukinphunthikhwbkhumodypraethsxinediykhxngrthchmmuaelaksmir rwmthungkarhamkarsngxxkkhxngxinediy hyafrnkhxngksmirmisiaedng mwngekhm sungthuxidwamisiekhmthisudinolk mirschatiaelaklinthirunaerng rwmthungkarihsidwykhunsmbtithangekhmia crocin formation mechanism ptikiriyakarekidexsethxr rahwangaela D ecnthioxiboxs okhrsithin hyafrnprakxbdwysarraehyaelasarprakxbihkhwamhxmmakkwa 150 chnid aelayngprakxbdwyswnprakxbthinaipichnganidxikhlaychnid swnmakepnaekhorthinxyd prakxbdwy siaesnthin ilokhpin aela a aela b aekhorthinhlaychnid xyangirktam sism ehluxngthxngkhxnghyafrnepnphlkhxng a okhrsinprawtiprawtikarephaaplukhyafrnsamarthnbyxnhlngklbipidmakkwa 3 000 pi phuchpathiepntnekhakhxnghyafrnkhux Crocus cartwrightianus mnusyidthakarephaaplukphsmphnthutnimpaodykhdeluxkihmiyxdeksrephsemiyyawkwapkti dngnnrupaebbthiepnhmnkhxng C cartwrightianus nnkkhux C sativus idekidkhunemuxtxnplayyukhsaridthiekaakhrit phuechiywchayechuxwamibnthukthunghyafrninexksarxayu 700 kxnkhristskrach epnexksarxangxingthangphvkssastrkhxngxssieriythithukrwbrwmphayitxsechxrbanipal Ashurbanipal exksaridbnthukthungkarichhyafrninkarrksaorkhkwa 90 chnidmaepnchwngewlamakkwa 4 000 pi raylaexiydkhxngphaphekhiynfaphnng Saffron Gatherers khnekbhyafrn caksingkxsrang Xeste 3 phaphekhiynfaphnngepnhnunginraylaexiydthurkickarkhakhayhyafrnthiphbinkartngthinthaninemuxngxokhrthiri Akrotiri sanotrinisikolktawnxxk ethwrupslkokhmetswr Gomateshwara sung 17 8 emtr srangkhuninsmykhristskrach 978 993 idrbkarsrngdwyhyafrnthuk 12 piodyphusrththanbphninnganethskalmhamstkaphiesk Mahamastakabhisheka mikarphbsithimacakhyafrninphaphekhiynfaphnngyukhkxnprawtisastrxayu 50 000 piinthangtawntkechiyngehnuxkhxngpraethsxihran txma chawsuemxrichhyafrnthietibotinthrrmchatiinyarksaorkhaelanayaewthmntr hyafrnepnsinkhainkarkhakhaythangiklkxnklaythiepnthiniymsungsudinwthnthrrmkhxngphrarachwngmionxn Minoan inchwng 2 shswrrskxnkhristkal chawepxresiyobranidmikarephaaplukhyafrnepxresiy Crocus sativus Hausknechtii inedxrbina Derbena xisfahn Isfahan aelaokhrasxn Khorasan inchwngstwrrsthi 10 kxnkhristkal thiediywknni idmikarnahyafrnthkthxipkbsingthx ichepnekhruxngbrrnakaraekethphecainphithikrrmthangsasna aelaichepnsiyxm nahxm yarksaorkh aelasingcharalangrangkay dngnn cungmikaropryhyafrnlngbnetiyngaelaphsmlngipincharxnephuxeyiywyarksaphawasumesrachwkhraw chnchatixunthiimichchawepxresiyklwwakarichhyafrnaebbepxresiynncaepnkarichinaebbsaresphtidhruxyaop inrahwangthasukinexechiy xelksanedxrmharachichhyafrnepxresiyinyachng khaw aelakarchararangkay ephuxeyiywyarksaxakarbadecbcakkarthasuk ehlathharkhxngxelksanedxridkrathatamxyangchawepxresiyaelaidnakarxabhyafrnipsukrik mithvsdithikhdaeyngknsungidxthibaykarmathungkhxnghyafrninphumiphakhexechiyit bnthukkhxngcinaelaksmirbnthukwahyafrnidedinthangmathungthuk aehnginchwngewla 900 2 500 pimaaelw cakkarsuksaprawtisastrepxresiyobranmibnthukwaidedinthangmathunginchwngewlaemux 500 pikxnkhristkal odyepnipinlksnanahwhyafrnmaplukinswnhlngbanhruxswnsatharnahruxkarekharukranaelatngxananikhminepxresiykhxngksmir sungchawfiniechiyinkhnannidekhamakhakhayhyafrnksmirephuxichepnsiyxmphahruxbabdphawasumesra caknn kmikarnahyafrnipichinxaharaelasiyxmkracayipthwexechiyit phrasngkhinpraethsxinediyidichhyafrnepnsiyxmciwrxyangkwangkhwanghlngcakphraphuththecaesdcpriniphphan xyangirktamciwrthiyxmdwyhyafrnnnepnsingfumefuxyaelamirakhaaephng odypktiaelwcayxmdwy khminhruxkhnunsungmirakhathukkwachawthmilmikarichhyafrnmanankwa 2 000 pi inphasathmilnneriykwa gnaazhal poo ஞ ழல ப ichrksaxakarpwdhw rksaxakarpwdcakkarthanganhnk epntn nkprawtisastrbangkhnechuxwahyafrnmathungpraethscincakepxresiyodyphurukranchawmxngokl inthangklbkn mikarklawthunghyafrnintaraaephthycinobran taraaephthy echinhnngepinecha 神農本草經 yasmuniphrechinhnng hruxthiruckkninchux Pen Ts ao hrux Pun Tsao prakxbdwyexksarcanwn 40 elm sunghnngsuxcdthakhuninchwngewla 200 300 pikxnkhristkal tamtanankhxngckrphrrdihyan 炎帝 taraaephthyechinhnngaetobrannimisutryasahrbrksaorkhtang thiidcakphuch 252 sutr aetemuxrawkhriststwrrsthi 3 mikarxangwahyafrninpraethscinmitnkaenidcakksmir echn wan ecin Wan Zhen aephthyaephncinphuechiywchay raynganwa thinkaenidkhxnghyafrnxyuinksmir sthanthisungprachachnswnihyplukhyafrnephuxichmnbuchaphraphuththeca wanyngsathxnihehnthungkarichnganhyafrninchwngewlann dxkhyafrncaehiywaehnghlngcaknn 2 3 wn rwmthungeksrkhxngdxkthixyuinnndwy sungkhakhxnghyafrnxyuthisiehluxngkhxngmn hyafrnsamarthichthaiwnthimiklinhxmid sikolktawntkkarkhaaelakarichpraoychnhyafrn Crocus sativus L khunkhathangophchnakartx 100 krm 3 5 xxns phlngngan1 298 kiolcul 310 kiolaekhlxri kharobihedrt65 37 giyxahar3 9 gikhmn5 85 gximtw1 586 gimximtwmiphnthakhuediyw0 429 gimximtwmiphnthakhuhlaykhu2 067 goprtin11 43 gwitaminwitaminex530 IUithxamin bi1 10 0 115 mk irobeflwin bi2 22 0 267 mk inxasin bi3 10 1 460 mk witaminsi 97 80 8 mk aerthatuaekhlesiym 11 111 mk ehlk 85 11 10 mk aemkniesiym 74 264 mk fxsfxrs 36 252 mk ophaethsesiym 37 1724 mk osediym 10 148 mk sngkasi 11 1 09 mk xngkhprakxbxunna11 90 gsilieniym5 6 mgofelt93 mgwitaminbi61 010 mg5 45 gechphaaswnthirbprathanidethannhnwy mg imokhrkrm mg millikrm IU hnwysaklpramanrxylakhraw odyichkaraenanakhxngshrthsahrbphuihy aehlngthima USDA FoodData Centralkarkha hyafrnsepn Ispanya saffron thitladinpraethsturki swn hyafrnxinediy India saffron khwamcringkhuxkhmin hyafrnekuxbcathnghmdephaaplukinbriewnthilxmrxbthaelemdietxrereniyninthangtawntk aelaphunthisungoxblxmdwypraethsxihranaelaksmirinthangtawnxxk swnthwipxun ykewnthwipaexntarktika miphlphlitephiyngelknxyethann inpihnung miphlphlithyafrnaehngaelaphngpraman 300 tn 50 tn epnhyafrnekrddithisud coupe praethsxihranmiphlphlitxyuraw 90 93 khxngphlphlithyafrnthwolkaelaepnpraethsthisngxxkmakthisud sxngsamcnghwdthiaehngaelngthangtawnxxkaelatawnxxkechiyngitkhxngxihran prakxbdwy cnghwdfxrs kriman aelainphumiphakhokhrasan epnphunthikarephaaplukthimakthisudkhxngphlphlitinpccubnthwolk inpi ph s 2548 krisepnxndbsxngmiphlphlit 5 7 tn inkhnathiomrxkokaelaksmirepnxndbthisamodyinaetlathimiphlphlit 2 3 tn inpithiphanma karephaaplukinpraethsxfkanisthanidephimkhun inksmirklbldlng xaesxribcan omrxkok aelaxitalimiphuphlitcanwnnxy miphlphlitldhlnkntamladb karichpraoychn hyafrnthuknaipaechinnarxnaetthungkbeduxdepnewlahlaynathikxnthicaichinxahar withinicachwypldplxyswnthimipraoychnxxkma klinhxmkhxnghyafrnidrbkarbrryayodyphuechiywchaywathaihnukthungnaphungthimiklinrsphidpktidwyklinehmuxnhyahruxfangaehng khnathimirschatikhlayfangaehngaelahwan hyafrnyngmiswnchwyihxaharmisiehluxngsmswang mikarichhyafrnxyangaephrhlayinxaharepxresiy yuorp xahrb aelaturki mkmikarphsmhyafrninlukkwadaelasuradwy odythwipaelw mikarnakhafxy Carthamus tinctorius mikarkhayinchux hyafrnoprtueks Portuguese saffron hrux acafrao chad aelakhmin Curcuma longa maichaethnhyafrn nxkcakniyngmikarnahyafrnmaichepnsiyxmphaodyechphaainpraethscinaelaxinediy aelanamaichinnahxm mnyngthuknaipichephuxwtthuprasngkhthangsasnainpraethsxinediy aelamikarnamaichknxyangaephrhlayinkarprungxaharinxaharhlakhlayechuxchati echn risxtot xaharkhxngemuxngmilan praethsxitali hrux buyaaebs bouillabaise xaharkhxngpraethsfrngess ipcnthungkhawhmkthirbprathanekhiyngkbenuxhlaychnidinexechiyit miprawtikarichhyafrninkaraephthyaephnobranmaxyangyawnan karsuksawicyhlaychininpccubnaesdngihehnwaekhruxngethschnidnixacmikhunsmbtiinkartanmaerng txtansarkxklayphnthu vththiprbphumikhumkn aelaepnsartanxnumulxisra karsuksainpi ph s 2538 chiihehnwayxdeksrephsemiyaelaklibdxkkhxnghyafrnmipraoychninkarrksaphawasumesra karsuksayngaesdngwahyafrnxacchwypxngkndwngtacakphlkrathbodytrngcakaesngswangaelakhwamekhriydthicxtanxkehnuxcakcudrbphaphesuxm macular degeneration aelaorkhtabxdklangkhun retinitis pigmentosa hyafrnswnmakinnganwicyhmaythungyxdeksrephsemiy aetmkcaimrabuchdecninnganwicy ngansuksaxun rabuwahyafrnxacmiskyphaphinkhunsmbtithangkaraephthyxikhlayxyangechingxrrth ofelt hmaythungaekhephiyngrupaebbthiekidkhuntamthrrmchatikhxngkrdoflik twxyangimmikrdoflikintwexngxangxingkhunbrrcb phnthuemtha sastracary 2003 1971 phasatangpraethsinphasaithy 9 ed krungethph phakhwichaphasaithyaelaphasatawnxxk khnamnusysastr mhawithyalyramkhaaehng p 67 ISBN 974 594 773 3 tladsdsnamepa ophliphls ththb 5 19 phvsphakhm 2013 Kumar V 2006 The Secret Benefits of Spices and Condiments Sterling p 103 ISBN 1 8455 7585 7 subkhnemux 1 thnwakhm 2007 Asya Asbaghi 1988 Persische Lehnworter im Arabischen Otto Harrassowitz p 145 ISBN 3 447 02757 6 Harper 2001 hyafrn phcnanukrmchbbmtichn krungethph mtichn 2004 ISBN 974 323 264 8 Spices saffron FW USDA02037 FoodWiki 2012 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 29 mithunayn 2013 Deo 2003 p 1 M Grilli Caiola P Caputo R Zanier 2004 RAPD analysis in Crocus sativus L accessions and related Crocus species PDF Biologia Plantarum 48 3 375 380 1573 8264 subkhnemux 14 thnwakhm 2022 M Grilli Caiola 2004 Saffron reproductive biology Acta Horticulturae 650 International Society for Horticultural Science doi 10 17660 ActaHortic 2004 650 1 Willard 2002 p 3 DPIWE 2005 Willard 2002 pp 2 3 Deo 2003 p 2 Deo 2003 p 3 Willard 2002 pp 3 4 Willard 2002 p 4 Willard 2002 p 143 Willard 2002 p 201 Abdullaev 2002 p 1 Deo 2003 p 1 Goyns 1999 p 1 Honan 2004 Willard 2002 p 2 Humphries 1998 p 20 Willard 2002 p 12 Willard 2002 p 2 Willard 2002 pp 17 18 Willard 2002 p 41 Willard 2002 pp 54 55 Lak 1998b Fotedar 1999 p 128 Dalby 2002 p 95 McGee 2004 p 422 Dalby 2003 p 256 Tarvand 2005a Finlay Victoria 30 thnwakhm 2002 Colour A Natural History of the Palette Random House p 224 ISBN 0 8129 7142 6 Fletcher 2005 p 11 Tarvand 2005 Hayes 2001 p 6 Park 2005 Katzer 2001 Negbi 1999 p 2 Ghorbani 2008 p 1 Malik 2007 Dalby 2002 p 138 Abdullaev 2002 p 1 Assimopoulou Papageorgiou amp Sinakos 2005 p 1 Chang et al 1964 p 1 Bailes 1995 Maccarone Di Marco amp Bisti 2008 Moghaddasi 2010 brrnanukrmKashmiri saffron producers see red over Iranian imports Australian Broadcasting Corporation 2003 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Abdullaev F I 2002 Cancer chemopreventive and tumoricidal properties of saffron Crocus sativus L Experimental Biology and Medicine 227 1 20 25 PMID 11788779 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Assimopoulou A N Papageorgiou V P Sinakos Z 2005 Radical scavenging activity of Crocus sativus L extract and its bioactive constituents Phytotherapy Research 19 11 997 1000 doi 10 1002 ptr 1749 PMID 16317646 Bailes M 1995 The Healing Garden Kangaroo Press ISBN 978 0 86417 636 3 Chang P Y Kuo W Liang C T Wang C K 1964 The pharmacological action of 藏红花 za hong hua Crocus sativus L effect on the uterus and or estrous cycle Yao Hsueh Hsueh Pao 11 Courtney P 2002 Tasmania s Saffron Gold Landline Australian Broadcasting Corporation subkhnemux 2009 11 23 Dalby A 2002 Dangerous Tastes The Story of Spices University of California Press ISBN 9780520236745 subkhnemux 10 mkrakhm 2006 Dalby A 2003 Food in the Ancient World from A to Z Routledge ISBN 0 415 23259 7 UCLA 2002 Saffron Darling Biomedical Library subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Davies N W Gregory M J Menary R C 2005 Effect of drying temperature and air flow on the production and retention of secondary metabolites in saffron Journal of Agricultural and Food Chemistry 53 15 5969 75 doi 10 1021 jf047989j PMID 16028982 Deo B 2003 PDF Crop amp Food Research New Zealand Institute for Crop amp Food Research 20 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2005 12 27 subkhnemux 2009 11 23 Dharmananda S 2005 Saffron An Anti Depressant Herb Institute for Traditional Medicine subkhnemux 23 phvscikayn 2009 DPIWE 2005 Food amp Agriculture Department of Primary Industries Water and Environment Government of Tasmania khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 25 phvsphakhm 2005 subkhnemux 27 mkrakhm 2011 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Ferrence S C Bendersky G 2004 Therapy with saffron and the Goddess at Thera Perspectives in Biology and Medicine 47 2 199 226 doi 10 1353 pbm 2004 0026 PMID 15259204 Fletcher N 2005 Charlemagne s Tablecloth A Piquant History of Feasting Saint Martin s Press ISBN 0 312 34068 0 Fotedar S 1999 Vitasta Kashmir Sabha of Kolkata XXXII 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 29 knyayn 2011 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Ghorbani M 2008 The Efficiency of Saffron s Marketing Channel in Iran PDF World Applied Sciences Journal vol 4 no 4 pp 523 527 ISSN 1818 4952 subkhnemux 3 tulakhm 2011 Goyns M H 1999 Saffron Taylor and Francis ISBN 90 5702 394 6 subkhnemux 2009 11 23 Grigg D B 1974 The Agricultural Systems of the World Cambridge University Press ISBN 0 521 09843 2 Harper D 2001 Online Etymology Dictionary subkhnemux 2009 11 23 Hasegawa J H Kurumboor S K Nair S C 1995 Saffron chemoprevention in biology and medicine a review Cancer Biotherapy 10 4 257 64 PMID 8590890 Hayes A W 2001 Principles and Methods of Toxicology Taylor amp Francis ISBN 1 56032 814 2 Hill T 2004 The Contemporary Encyclopedia of Herbs and Spices Seasonings for the Global Kitchen Wiley ISBN 0 471 21423 X Honan W H 2004 The New York Times tiphimph 2 minakhm 2004 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 12 phvsphakhm 2013 subkhnemux 13 knyayn 2011 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Humphries J 1998 The Essential Saffron Companion Ten Speed Press ISBN 1 58008 024 3 Hussain A 28 mkrakhm 2005 Saffron Industry in Deep Distress BBC News London British Broadcasting Corporation subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Jessie S W Krishnakantha T P 2005 Inhibition of human platelet aggregation and membrane lipid peroxidation by saffron Molecular and Cellular Biochemistry 278 1 2 59 63 doi 10 1007 s11010 005 5155 9 PMID 16180089 Katzer G 2001 Karl Franzens Universitat Graz khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 30 knyayn 2007 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Lak D 11 phvscikayn 1998 Kashmiris Pin Hopes on Saffron BBC News London British Broadcasting Corporation subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Lak D 23 phvscikayn 1998 Gathering Kashmir s Saffron London British Broadcasting Corporation subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Leffingwell J C 2002 Saffron PDF Leffingwell Reports 2 5 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Maccarone R Di Marco S Bisti S 2008 Saffron Supplement Maintains Morphology and Function after Exposure to Damaging Light in Mammalian Retina Investigative Ophthalmology and Visual Science vol 49 no 3 pp 1254 1261 doi 10 1167 iovs 07 0438 PMID 18326756 Malik N 2007 PDF DACAAR Rural Development Program khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 12 phvsphakhm 2013 subkhnemux 17 knyayn 2011 McGee H 2004 On Food and Cooking The Science and Lore of the Kitchen Simon and Schuster ISBN 0 684 80001 2 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Moghaddasi M S 2010 Saffron Chemicals and Medicine Usage PDF Journal of Medicinal Plant Research vol 4 no 6 pp 427 430 subkhnemux 30 knyayn 2011 Nair S C Pannikar B Panikkar K R 1991 Antitumour activity of saffron Crocus sativus Cancer Letters 57 2 109 14 doi 10 1016 0304 3835 91 90203 T PMID 2025883 Negbi M b k 1999 Saffron Crocus sativusL CRC Press ISBN 978 90 5702 394 1 Park J B 2005 United States Department of Agriculture khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 05 11 subkhnemux 2009 11 23 Pearce F 2005 Returning war torn farmland to productivity New Scientist subkhnemux 10 mkrakhm 2006 Rau S R 1969 The Cooking of India Time Life Education ISBN 0 8094 0069 3 Tarvand 2005a khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 23 knyayn 2007 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Tarvand 2005 ISBN 0660007797 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 tulakhm 2007 subkhnemux 23 phvscikayn 2009 Willard P 2002 Secrets of Saffron The Vagabond Life of the World s Most Seductive Spice Beacon Press ISBN 0 8070 5008 3 subkhnemux 23 phvscikayn 2009aehlngkhxmulxunWikisource wikisxrsphasaxngkvs English mikhxmultnchbbekiywkb bthkhwam Saffron in 1920 Encyclopedia Americana wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb hyafrn khxmulthiekiywkhxngkb Crocus sativus thiwikispichis Saffron Darling Biomedical Library UCLA Duke J Germplasm Resources Information Network United States Department of Agriculture khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 10 phvscikayn 2004 subkhnemux 27 mkrakhm 2011