บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ที่ตั้ง | |
---|---|
เว็บไซต์ | / สถาบันทักษิณคดีศึกษา |
ประวัติ
ในปี พ.ศ. 2511 เป็นปีแรกที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาได้เปิดวิทยาเขตขึ้นที่จังหวัด สงขลา ศาสตราจารย์ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ซึ่งรับผิดชอบการสอนรายวิชาคติชนวิทยา ของภาควิชา ภาษาไทย ได้นำนิสิตออกเก็บข้อมูลภาคสนามในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2513 ในพื้นที่อำเภอ สทิงพระ และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา การออกเก็บข้อมูล ในครั้งนั้นทำให้ได้ข้อมูลที่มีคุณค่าด้านวัฒนธรรม ทั้งที่เป็นวัตถุของจริง ข้อมูลมุขปาฐะ สมุดข่อย และข้อมูลอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก จึงทำให้ศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ เห็นถึงความสำคัญของ "วัฒนธรรมพื้นบ้าน" ชัดเจนขึ้น ท่านเล็งเห็นถึงการพัฒนาประเทศ ว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีข้อมูลทางด้านวัฒนธรรมเป็นพื้นฐาน ดังนั้นจึงคิดทำ "โครงการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมภาษา และวัฒนธรรมภาคใต้" ขึ้น และพยายามผลักดันทุกวิถีทางที่จะผนวกเข้าเป็นแผนงานส่วนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จนกระทั่งได้รับการยอมรับ และได้รับงบประมาณแผ่นดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2518 โดยได้รับงบประมาณจำนวน 4,589,200 บาท เพื่อก่อสร้างอาคารศูนย์ส่งเสริมภาษาและวัฒนธรรมภาคใต้ขึ้นภายในบริเวณมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา (ในขณะนั้น) อาคารดังกล่าวสร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2521 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนิน เปิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2522 สถาบันทักษิณคดีศึกษาเติบโตและพัฒนามาตามลำดับ แต่โดยเจตนาเดิมที่ต้องการจัดสร้างสถาบันให้เป็นต้นแบบของสถาบัน ทางวัฒนธรรมที่ครบวงจร สามารถนำ "อดีตมารับใช้ปัจจุบัน" ได้อย่าง สมสมัยในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ การศึกษา และความมั่นคงของชาติ ศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ซึ่งเป็นผู้อำนวยการ สถาบันในห้วงเวลาดังกล่าว จึงมีโครงการย้ายที่ตั้งสถาบันจาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้เดิมมาตั้ง ณ บริเวณ บ้าน อ่าวทราย ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และพัฒนา สร้างสรรค์จน เป็นสถาบันทักษิณคดีศึกษาอย่างที่ได้ ประจักษ์ในปัจจุบัน
หลักสูตร
ระดับปริญญาเอก
- หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา
ภาระหน้าที่
สถาบันทักษิณคดีศึกษามีภาระปฏิบัติในเรื่องราวที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมภาคใต้ที่สำคัญคือ รวบรวมและประมวลข้อมูล ศึกษาวิจัย อนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่และพัฒนาวัฒนธรรม จากภาระงานดังกล่าวจึงมีภาระหน้าที่ดังนี้
- งานเก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมภาคใต้ทุกลักษณะ ทั้งที่เป็นวัตถุของจริง วรรณกรรม (ทั้งที่เป็นลายลักษณ์ ข้อมูลมุขปาฐะ) เอกสารท้องถิ่น ภาพ เสียง และอื่น ๆ เพื่อประมวลและจัดระบบทางวิชาการ
- งานพิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา เป็นการจัดแสดงข้อมูลเกี่ยวกับภาคใต้ที่เกี่ยวข้องกับประเพณีวัฒนธรรมทุกด้าน เช่น ประวัติศาสตร์และชาติพันธุ์ ศาสนา การศึกษา อาชีพ วิถีการดำรงชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น
- งานทักษิณสนเทศ เป็นงานให้บริการข้อมูลเกี่ยวข้องกับภาคใต้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เอกสารท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น ภาพและเสียง รวมถึงการบริการฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
- งานศึกษาวิจัย เป็นงานวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลในประเด็นสำคัญ ๆ ทางสังคมเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาและพัฒนาภูมิภาค
- งานส่งเสริมเผยแพร่และพัฒนาวัฒนธรรม เป็นการเผยแพร่ผลงานของสถาบันฯ ในรูปแบบต่าง ๆ มีทั้งการจัดแสดง การผลิตสื่อเพื่อการเผยแพร่ การจัดนิทรรศการ การจัดการสัมมนา-อภิปราย การจัดฝึกอบรมและอื่น ๆ ทั้งภายในและนอกสถาบัน
- งานหอศิลปกรรมทักษิณ ดำเนินการส่งเสริมเกี่ยวกับงานศิลปกรรมภาคใต้ในรูปแบบหอศิลป์ โดยจัดแสดงงานศิลปะทั้งรูปแบบนิทรรศการถาวรและนิทรรศการหมุนเวียน ทั้งที่เป็นงานศิลปะสมัยใหม่และศิลปะพื้นบ้าน
- งานบริการทางวิชาการและด้านอื่น ๆ ให้บริการการบรรยายสรุปการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา ชมวีดิทัศน์แนะนำสถาบัน ให้บริการสำเนาข้อมูลทางด้านวัฒนธรรม เช่น ภาพ เสียง วรรณกรรมท้องถิ่น ให้คำปรึกษาทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น และเป็นวิทยากรด้านวัฒนธรรมให้หน่วยงานอื่นทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีงานบริการด้านอื่น ๆ เช่น
- บริการสารสนเทศและฐานข้อมูลพื้นฐานของสถาบันทักษิณดคีศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับภาคใต้ และฐานข้อมูลต่าง ๆ เช่น ฐานข้อมูลเอกสารภาคใต้ ฐานข้อมูลวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ ฐานข้อมูลสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้
- บริการห้องประชุมสัมมนา มีห้องประชุมที่สะดวกสบายหลายขนาดตามความเหมาะสมกับการประชุมไว้เพื่อบริการ ทั้งขนาดประชุมได้ 20 คน 30 คน 100 คน จนถึง 1,500 คน
- บริการสินค้าพื้นเมือง มีร้านจำหน่ายสินค้าของที่ระลึก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน เช่น ผลิตภัณฑ์จากปาหนัน ย่านลิเพา หนัง ผ้าทอเกาะยอ ผลิตภัณฑ์จากเปลือกหอย ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เครื่องเงิน เครื่องปั้นดินเผาและเซรามิค เป็นต้น
- บริการห้องพัก มีห้องไว้บริการในลักษณะโรงแรมและรีสอร์ท ห้องมีความสะดวกสบาย ออกแบบตกแต่งอย่างปราณีต ท่ามกลางภูมิทัศน์ที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติที่งดงามที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้
พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา
- เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา
พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา
ตั้งอยู่ที่สถาบันทักษิณคดีศึกษา ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านที่จัดแสดงข้อมูล เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวใต้และขนบนิยมในท้องถิ่นซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะ ตลอดจนประวัติศาสตร์โบราณคดี และศิลปหัตถกรรมอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงให้เห็นภูมิปัญญาของกลุ่มชนซึ่งอาศัยอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย
พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยาเริ่มเปิดเป็นทางการ เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2534 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารกลุ่มบ้านหลังคาจั่ว อาคารกลุ่มบ้านหลังคาปั้นหยา อาคารกลุ่มบ้านหลังคาบลานอ ต่อมาเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระบรมโอสาธิราชสยามบรมราชกุมารพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงเปิดอาคารนวมภูมินทร์
การจัดพิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา ใช้วัตถุของจริงประมาณ 49,000 ชิ้น นอกจากนี้ยังมี หุ่นจำลอง เสียง ภาพ วีดิทัศน์และมัลติมีเดีย (Multimedia) แสดงประกอบเนื้อหา เป็นแบบนิทรรศการถาวร ในอาคาร 4 กลุ่มดังกล่าวมาแล้วคิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 3,300 ตารางเมตร ซึ่งจัดแสดงเรื่องราวทางทักษิณคดีศึกษาโดยจัดแบ่งเป็นห้อง
อาคารนวมภูมินทร์
- ห้องประวัติศาสตร์และชาติพันธุ์ (History and Ethnology)
จัดแสดงข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี อาทิโบราณวัตถุที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น และโบราณวัตถุที่แสดงว่ามีการติดต่อระหว่างคนพื้นเมืองภาคใต้กับกลุ่มชนภายนอก เช่น จีน อินเดีย มลายู อาหรับ และกลุ่มประเทศ ทางตะวันตก เป็นต้น
นอกจากนี้ยังจัดแสดงเกี่ยวกับศูนย์กลางทางวัฒนธรรมอาณาจักรโบราณในภาคใต้ ได้แก่ อาณาจักรตามพรลิงก์ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช อาณาจักรลังกาสุกะที่จังหวัดปัตตานี-ยะลา อาณาจักรศรีวิชัยที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และสทิงปุระ-พัทลุง ที่บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ตลอดจนจัดแสดงเรื่องราวของชนกลุ่มน้อยในภาคใต้ ได้แก่ ชาวเล และชาวซาไกหรือเงาะป่า
อาคารกลุ่มบ้านหลังคาบลานอ
- ห้องกระต่ายขูดมะพร้าว (Coconut Graters)
จัดแสดงเหล็กขูด หรือกระต่ายขูดมะพร้าวรูปทรงต่าง ๆ ซึ่งทำมากจากวัสดุหลายชนิด เช่น ไม้ เหล็ก กระดูกช้าง เป็นต้น ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำเนื้อมะพร้าวมาใช้ประโยชน์ เช่น เหล็กปอกเปลือกมะพร้าว เหล็กแงะเนื้อมะพร้าว กรามช้าง และตรอง ที่ใช้กรอง สำหรับทำอาหาร เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์จาก เช่น เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องดนตรี (ซออู้) เป็นต้น
- ห้องเครื่องมือช่างไม้และงานศิลปหัตถกรรม (Carpenter's Tools and Handicrafts)
จัดแสดงเครื่องใช้ ชนิดต่าง ๆ เช่น เลื่อย รางทัด กบไสไม้ เครื่องเจาะ เครื่องกลึง เป็นต้น และงาน หัตถกรรม ได้แก่ งานไม้แกะสลัก ที่ใช้ตกแต่งอาคารและเรือกอและ พิมพ์ทำขนม งานแกะสลัก รูปหนังตะลุง จัดแสดงลวดลาย และขั้นตอน งานจักสาน กระจูดและย่านลิเพา นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์จักสานจากวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม่ไผ่ ใยตาล เตย หวาย คล้า คลุ้ม เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนบ่งชี้ให้เห็นถึงภูมิปัญญาและฝีมือ เชิงช่าง ของชาวใต้ในการปรับใช้พืชที่มีในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์
- ห้องการศึกษา (Educational Organization in the South)
จัดแสดงเกี่ยวกับการศึกษาตามประเพณีโบราณของชาวใต้ โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางการศึกษา จัดการศึกษาในมณฑลเทศาภิบาลมีการจัดตั้งโรงเรียนประจำมณฑลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาด้านฝึกหัดครู อาชีวะ และมหาวิทยาลัยตลอดจนการศึกษาของในภาคใต้
- ห้องนันทนาการ (Recreation)
จัดแสดงอุปกรณ์ตัวอย่างจำลอง และภาพถ่ายเกี่ยวกับการเล่นและกีฬาในท้องถิ่นภาคใต้ เช่น สะบ้า ลูกข่าง ชักว่าว ชนวัว เป็นต้น ซึ่งการเล่นและกีฬาบางอย่าง เป็นการแข่งขันเพื่อบันเทิงสนุกสนาน แต่บางอย่างนอกจากเล่นเพื่อความสนุกรื่นเริงแล้วก็ยังเป็นการพนันอีกด้วย
- ห้องเครื่องประทีป (Lamps for Lighting)
จัดแสดงเกี่ยวกับ เครื่องกำเนิดไฟและเครื่องตามไฟ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการการใช้ไฟให้แสงสว่างของชาวใต้ เช่น และรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตะเกียงคางคก ตะเกียงไข่เป็ด ตะเกียงแสงจันทร์ ตะเกียงกลีบบัว ตะเกียงรั้ว ตะเกียงกล้อง เป็นต้น
- ห้องเครื่องแก้ว (Glassware)
จัดแสดงที่พบและใช้กันในภาคใต้ มีการใช้แก้วเป็นเครื่องประดับมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เช่น แก้ว เป็นต้น จัดแสดงภาชนะแก้วชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในครัวเรือน โดยจำแนกตามสี ภาชนะแก้วที่ใช้ใส่เครื่องสำอาง เครื่องหอม ขวดแก้วและขวดโหล หลายรูปแบบตลอดจนทุ่นแก้วอวนทะเล และลูกแก้วซึ่งเป็นของเล่นสำหรับเด็ก
อาคารกลุ่มบ้านหลังคาปั้นหยา
- ห้องวัฒนธรรมโลหะและโลหัช (Metalware)
จัดแสดงเครื่องใช้ที่ทำด้วยโลหะ และโลหะผสม เช่น เงิน ตะกั่ว ทองแดง สำริด นาก ทองเหลือง เป็นต้น ซึ่งภาชนะบางชนิดจัดแสดงให้เห็นถึงลักษณะการใช้สอย เช่น เครื่อง กระบอกขนมจีน เป็นต้น
- ห้องอิสลามศึกษา (Islam Studies)
จัดแสดงเกี่ยวกับประวัติพัฒนาการ และการแพร่กระจายของศาสนาอิสลามในภาคใต้ รวมทั้งวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชาวใต้ที่นับถือศาสนาอิสลาม
- ห้องการละเล่นพื้นเมือง (Folk Plays and Music Instruments)
จัดแสดงเกี่ยวกับการละเล่นและดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ด้วยระบบมัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ หนังตะลุง โนรา ลิเกป่า ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีโรงหนังตะลุงจำลอง รูปหนังตะลุง หุ่นแสดงท่ารำโนรา หุ่นนักดนตรีโนรา เครื่องดนตรีพื้นบ้าน และประวัติศิลปินแห่งชาติที่เป็นชาวใต้
- ห้องเหรียญและเงินตรา (Coins and Currencies)
จัดแสดงพัฒนาการของเหรียญและเงินตราที่ใช้ในประเทศไทย และในภาคใต้ รวมทั้งเหรียญและ เงินตราต่างชาติที่พบในภาคใต้ เช่น เหรียญจีนสมัยราชวงศ์ต่าง ๆ เหรียญเงินตราของชาวชวา มลายู ตลอดจนเหรียญเงินตราของประเทศในยุโรปที่ใช้ในประเทศอาณานิคม เป็นต้น
- ห้องศาสนา (Religion)
จัดแสดงเกี่ยวกับศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์ในภาคใต้ โดยใช้ศาสนวัตถุที่เป็นวัตถุของจริง จำลองภาพเขียนและภาพถ่าย เช่น ฐานศิวลึงค์ ใบเสมา ธรรมาสน์ ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง จังหวัดสงขลา วัดชลธาราสิงเห จังหวัดนราธิวาส จังหวัดพัทลุง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีภาพเขียนท่านพุทธทาสภิกขุ และท่านปัญญานันทะภิกขุ อีกด้วย
อาคารกลุ่มบ้านหลังคาจั่ว
- อาคารหลังที่ 1 (ห้องที่ 1)
จัดแสดงรูปหล่อสามสมเด็จเพื่อนเกลอ ได้แก่ () และ และจัดแสดงประเพณีการเกิดแบบโบราณ หมอตำแยเป็นผู้ทำคลอด การอยู่ไฟ เครื่องใช้ในการบริบาลทารก และการเลี้ยงดูทารก เช่น จัดแสดงหุ่นเด็กหัดเดินโดยใช้กระบอกเวียน
- อาคารหลังที่ 2 (ห้องที่ 2) )
จัดแสดงการละเล่นของเด็ก โดยใช้หุ่นแสดงการละเล่นของเด็ก ได้แก่ การเล่นซัดราว การเล่นปั้นวัวปั้นควาย นอกจากนี้ยังแสดงของเล่นเด็กพื้นบ้านภาคใต้จากวัตถุจริง เช่น ว่าว ลูกข่าง เป็นต้น
- อาคารหลังที่ 3 (ห้องที่ 3)
จัดแสดงการฝากตัวเข้าเรียน การช่วยการ โดยใช้หุ่นแสดงประกอบการนำเด็กไปฝากตนเข้าเรียนกับพระสงฆ์ที่วัด หุ่นการตกลงเป็นเพื่อนเกลอ และหุ่นที่แสดงกิจกรรมช่วยกันทำงานหรือเรียกว่า "ช่วยการ" เช่น การช่วยกันสร้างบ้าน เป็นต้น
- อาคารหลังที่ 4 (ห้องที่ 4)
จัดแสดงประเพณีการบวช โดยใช้หุ่นจัดแสดงการลาบิดามารดาไปบวช การโกนผม การแห่นาค พิธีบวชภายในอุโบสถ และพระสงค์บวชใหม่ ออกบิณฑบาตร
- อาคารหลังที่ 5 (ห้องที่ 5, 6, 7)
จัดแสดง 3 เรื่อง ได้แก่ จัดแสดงความเชื่อ และวัฒนธรรมการรักษาพยาบาล โดยจัดหุ่นจำลองการแสดงดูหมอ การรักษาโดยการนวด และห้องแสดงการรักษาพยาบาลแบบโบราณ จัดแสดง โดยใช้หุ่นแสดงการเตรียมอาหารเพื่อเลี้ยงแขกที่มาช่วยงาน การช่วยกันในนา และการเก็บข้าวไว้ในยุ้งฉาง นอกจากนี้ยังจัดแสดง โดยจำลองเรือนยอดเบญจา ท่อน้ำที่แกะสลักเป็นรูปพญานาค และเรือสำหรับใส่น้ำ รวมทั้งเสื้อผ้าสำหรับผลัดเปลี่ยนเมื่ออาบน้ำเสร็จแล้ว โดยแยกเป็น 2 สำรับ ได้แก่ สบงจีวร สำหรับพระสงฆ์ และเสื้อผ้าใหม่สำหรับผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของคนในหมู่บ้าน
ลานบนอาคารนวภูมินทร์
- ห้องสงขลาศึกษา (Songkhla Studies)
จัดแสดงข้อมูลที่เกี่ยวกับเมืองสงขลาทั้งที่เป็นวัตถุของจริง เอกสารหรือสื่อที่ให้ความรู้ในด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีรวมทั้งสถานที่สำคัญ เช่น แผนที่เมืองสงขลา หัวเขาแดง เมืองสงขลาฝั่งแหลมสน เมืองสงขลาปัจจุบัน ตลอดจนหุ่นจำลองประตูเมืองสงขลา เป็นตน นอกจากนี้ยังจัดทำบันทึกเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเมืองสงขลา และรวบรวมประวัติบุคคลชาวเมืองสงขลาที่ทำคุณประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติอีกด้วย
- ห้องวรรณกรรมท้องถิ่น (Local Literature)
จัดแสดงวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทลายลักษณ์ ได้แก่ หนังสือบุดหรือสมุดข่อย และสมุดใบลาน นอกจากนี้ ได้จัดแสดงวรรณกรรมท้องถิ่นที่ปริวรรตแล้ว และเปิดบริการข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอกเข้าศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่น
- ห้องเอกสารท้องถิ่น (Local Documentation)
จัดเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ทักษิณคดีที่ใช้สิ่งพิมพ์เป็นสื่อ ทั้งที่เป็นข่าวสาร บทความ บทวิจารณ์ รายงานประจำปี เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา ตำรา งานวิจัย และรวบรวมเอกสารเก่า ๆ ที่เกี่ยวกับทักษิณคดีโดยวิธีถ่ายสำเนา นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าให้บริการข้อมูลแก่ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป
- ห้องพิพิธภัณฑ์เสียง (Sound Collection)
จัดเก็บรวบรวมข้อมูลประเภท เสียง ในรูปของเทปบันทึกเสียง โดยจำแนกหมวดหมู่ตามเนื้อหา เป็นคลังข้อมูลเสียงที่ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ ซึ่งเปิดบริการให้บุคคลทั่วไปได้ศึกษาค้นคว้า ด้วยเครื่องบริการที่ทันสมัย สะดวก และรวดเร็ว
- ห้องพิพิธภัณฑ์ภาพ (Visual Collection)
จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับทักษิณคดี ด้วยระบบภาพ ทั้งภาพถ่าย ภาพพิมพ์ ภาพลายเส้น สไลด์ แถบวีดีทัศน์ และภาพยนตร์ รวมทั้งผลิตรายการเป็นโสตทัศนูปกรณ์เกี่ยวกับทักษิณคดี ด้วยระบบวีดีทัศน์ และ CD-ROM ซึ่งเปิดบริการด้านข้อมูลแก่นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป
- ห้องศูนย์บริการข้อมูล (Information Service Center)
จัดรวบรวมและบริการข้อมูลที่เกี่ยวกับทักษิณคดี ด้วยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมโยงกับสถาบันทางวัฒนธรรมอื่น ๆ และให้บริการสืบค้นข้อมูลทางวัฒนธรรมภาคใต้
อาศรมศิลปกรรมทักษิณ
อาศรมศิลปกรรมทักษิณ ฝ่ายส่งเสริมเผยแพร่และพัฒนา สถาบันทักษิณคดีศึกษา มีภาระหน้าที่ในการเก็บรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการศิลปกรรม และนำผลงานทาง ศิลปกรรมตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนกระทั่งสมัยปัจจุบันมาจัดระบบ จัดเก็บ และจัดแสดงข้อมูลเป็นห้องนิทรรศการถาวร ประกอบด้วย
- ห้องประวัติศาสตร์ศิลปะในภาคใต้
จัดแสดง โดยการจำลองบรรยากาศในถ้ำและนำเสนอภาพถ่ายศิลปะถ้ำตาม และจัดแสดงวัดสำคัญต่าง ๆ ในภาคใต้ ซึ่งประกอบด้วยภาพพุทธประวัติประกอบกับลวดลายต่าง ๆ แบบไทยโบราณ
- ห้องอัครศิลปิน
จัดแสดงพระราชประวัติด้านศิลปะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และแสดงผลงานศิลปกรรมจากฝีพระหัตถ์
- ห้องศิลปินเกียรติคุณ
จัดแสดงประวัติและผลงานของศิลปินแห่งชาติชาวภาคใต้ทุกสาขา อาทิ ทัศนศิลป์ และ นับตั้งแต่เริ่มประกาศรางวัลศิลปินแห่งชาติจนกระทั่งปัจจุบัน
- ห้องนิทรรศการศิลปกรรมศิลปินและเยาวชนภาคใต้
แสดงประวัติและผลงานของศิลปินภาคใต้ ผู้มีชื่อเสียงและมีคุณูปการต่อสังคมภาคใต้รวมทั้งผลงานของเยาวชนที่ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานศิลปกรรมเยาวชนทักษิณ
นอกจากนี้ยังมีภาระงานส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งคือ การจัดกิจกรรมทางศิลปกรรม การประกวดศิลปกรรมเยาวชนทักษิณ การแสดงนิทรรศการศิลปกรรม การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการทางศิลปะ การอบรมสัมมนาทางวิชาการศิลปกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีส่วนช่วยในการส่งเสริมและพัฒนางานทางศิลปกรรมให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เพื่อสนองตอบต่อภารกิจของสถาบันทักษิณคดีศึกษา ในฐานะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าเป็นศูนย์กลางของการศึกษาข้อมูล และส่งเสริมเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการ และ ผลงานทางศิลปกรรมที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคใต้
แหล่งข้อมูลอื่น
- สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ 2008-07-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng sthabnthksinkhdisuksa mhawithyalythksin hmuthi 1 tablekaayx xaephxemuxngsngkhla cnghwdsngkhlasthabnthksinkhdisuksathitngtablekaayx xaephxemuxngsngkhla cnghwdsngkhlaewbist sthabnthksinkhdisuksaprawtiinpi ph s 2511 epnpiaerkthiwithyalywichakarsuksaidepidwithyaekhtkhunthicnghwd sngkhla sastracary suthiwngs phngsiphbuly sungrbphidchxbkarsxnraywichakhtichnwithya khxngphakhwicha phasaithy idnanisitxxkekbkhxmulphakhsnaminchwngeduxnphvsphakhm ph s 2513 inphunthixaephx sthingphra aelaxaephxraond cnghwdsngkhla karxxkekbkhxmul inkhrngnnthaihidkhxmulthimikhunkhadanwthnthrrm thngthiepnwtthukhxngcring khxmulmukhpatha smudkhxy aelakhxmulxun epncanwnmak cungthaihsastracarysuthiwngs phngsiphbuly ehnthungkhwamsakhykhxng wthnthrrmphunban chdecnkhun thanelngehnthungkarphthnapraeths wamikhwamcaepnxyangying thicatxngmikhxmulthangdanwthnthrrmepnphunthan dngnncungkhidtha okhrngkarcdtngsunysngesrimphasa aelawthnthrrmphakhit khun aelaphyayamphlkdnthukwithithangthicaphnwkekhaepnaephnnganswnhnungkhxng mhawithyalysrinkhrinthrwiorth cnkrathngidrbkaryxmrb aelaidrbngbpramanaephndinepnkhrngaerkinpi ph s 2518 odyidrbngbpramancanwn 4 589 200 bath ephuxkxsrangxakharsunysngesrimphasaaelawthnthrrmphakhitkhunphayinbriewnmhawithyalysrinkhrinthrwiorth withyaekhtsngkhla inkhnann xakhardngklawsrangesrcemux ph s 2521 odyphrabathsmedcphraecaxyuhw smedcphranangeca phrabrmrachininath phrxmdwysmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari idesdcphrarachdaenin epidemuxwnthi 13 knyayn ph s 2522 sthabnthksinkhdisuksaetibotaelaphthnamatamladb aetodyectnaedimthitxngkarcdsrangsthabnihepntnaebbkhxngsthabn thangwthnthrrmthikhrbwngcr samarthna xditmarbichpccubn idxyang smsmyinthukdan thngdanesrsthkic karsuksa aelakhwammnkhngkhxngchati sastracarysuthiwngs phngsiphbuly sungepnphuxanwykar sthabninhwngewladngklaw cungmiokhrngkaryaythitngsthabncak mhawithyalysrinkhrinthrwiorth withyaekhtphakhitedimmatng n briewn ban xawthray tablekaayx xaephxemuxng cnghwdsngkhla aelaphthna srangsrrkhcn epnsthabnthksinkhdisuksaxyangthiid pracksinpccubnhlksutrradbpriyyaexk hlksutrprchyadusdibnthit sakhawichawthnthrrmsuksapharahnathisthabnthksinkhdisuksamipharaptibtiineruxngrawthiekiywkbwthnthrrmphakhitthisakhykhux rwbrwmaelapramwlkhxmul suksawicy xnurks sngesrim ephyaephraelaphthnawthnthrrm cakpharangandngklawcungmipharahnathidngni nganekbrwbrwmkhxmul daeninkarcdekbkhxmulthiekiywkhxngkbwthnthrrmphakhitthuklksna thngthiepnwtthukhxngcring wrrnkrrm thngthiepnlaylksn khxmulmukhpatha exksarthxngthin phaph esiyng aelaxun ephuxpramwlaelacdrabbthangwichakar nganphiphithphnthkhtichnwithya epnkarcdaesdngkhxmulekiywkbphakhitthiekiywkhxngkbpraephniwthnthrrmthukdan echn prawtisastraelachatiphnthu sasna karsuksa xachiph withikardarngchiwit esrsthkic aelasngkhm epntn nganthksinsneths epnnganihbrikarkhxmulekiywkhxngkbphakhitinrupaebbtang echn exksarthxngthin wrrnkrrmthxngthin phaphaelaesiyng rwmthungkarbrikarthankhxmulkhxmphiwetxr ngansuksawicy epnnganwiekhraahaelasngekhraahkhxmulinpraednsakhy thangsngkhmephuxichepnkhxmulinkaraekpyhaaelaphthnaphumiphakh ngansngesrimephyaephraelaphthnawthnthrrm epnkarephyaephrphlngankhxngsthabn inrupaebbtang mithngkarcdaesdng karphlitsuxephuxkarephyaephr karcdnithrrskar karcdkarsmmna xphipray karcdfukxbrmaelaxun thngphayinaelanxksthabn nganhxsilpkrrmthksin daeninkarsngesrimekiywkbngansilpkrrmphakhitinrupaebbhxsilp odycdaesdngngansilpathngrupaebbnithrrskarthawraelanithrrskarhmunewiyn thngthiepnngansilpasmyihmaelasilpaphunban nganbrikarthangwichakaraeladanxun ihbrikarkarbrryaysrupkareyiymchmphiphithphnthkhtichnwithya chmwidithsnaenanasthabn ihbrikarsaenakhxmulthangdanwthnthrrm echn phaph esiyng wrrnkrrmthxngthin ihkhapruksathwipekiywkbwthnthrrmthxngthin aelaepnwithyakrdanwthnthrrmihhnwynganxunthngphakhrthaelaexkchn nxkcakniyngminganbrikardanxun echn brikarsarsnethsaelathankhxmulphunthankhxngsthabnthksindkhisuksa khxmulekiywkbphakhit aelathankhxmultang echn thankhxmulexksarphakhit thankhxmulwrrnkrrmthxngthinphakhit thankhxmulsaranukrmwthnthrrmphakhit brikarhxngprachumsmmna mihxngprachumthisadwksbayhlaykhnadtamkhwamehmaasmkbkarprachumiwephuxbrikar thngkhnadprachumid 20 khn 30 khn 100 khn cnthung 1 500 khn brikarsinkhaphunemuxng mirancahnaysinkhakhxngthiraluk sungepnphlitphnthphunban echn phlitphnthcakpahnn yanliepha hnng phathxekaayx phlitphnthcakepluxkhxy phlitphnthcakkalamaphraw ekhruxngengin ekhruxngpndinephaaelaesramikh epntn brikarhxngphk mihxngiwbrikarinlksnaorngaermaelarisxrth hxngmikhwamsadwksbay xxkaebbtkaetngxyangpranit thamklangphumithsnthiaewdlxmdwythrrmchatithingdngamthisudaehnghnungkhxngphakhitphiphithphnthkhtichnwithyaekiywkbphiphithphnthkhtichnwithya phiphithphnthkhtichnwithya tngxyuthisthabnthksinkhdisuksa tablekaayx xaephxemuxng cnghwdsngkhla epnphiphithphnthphunbanthicdaesdngkhxmul ekiywkbwithichiwitkhxngchawitaelakhnbniyminthxngthinsungmiexklksnechphaa tlxdcnprawtisastrobrankhdi aelasilphtthkrrmxnepnmrdkthangwthnthrrmthiaesdngihehnphumipyyakhxngklumchnsungxasyxyuinphakhitkhxngpraethsithy phiphithphnthkhtichnwithyaerimepidepnthangkar emuxwnthi 22 knyayn ph s 2534 odysmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari esdcphrarachdaeninthrngepidxakharklumbanhlngkhacw xakharklumbanhlngkhapnhya xakharklumbanhlngkhablanx txmaemuxwnthi 6 knyayn ph s 2539 phrabathsmedcphraecaxyuhwthrngphrakrunaoprdeklaihsmedcphrabrmoxsathirachsyambrmrachkumarphrarachdaeninaethnphraxngkhthrngepidxakharnwmphuminthr karcdphiphithphnthkhtichnwithya ichwtthukhxngcringpraman 49 000 chin nxkcakniyngmi huncalxng esiyng phaph widithsnaelamltimiediy Multimedia aesdngprakxbenuxha epnaebbnithrrskarthawr inxakhar 4 klumdngklawmaaelwkhidepnenuxthipraman 3 300 tarangemtr sungcdaesdngeruxngrawthangthksinkhdisuksaodycdaebngepnhxngxakharnwmphuminthrhxngprawtisastraelachatiphnthu History and Ethnology cdaesdngkhxmulthangprawtisastr aelaobrankhdi xathiobranwtthuthiekidcakphumipyyakhxngkhninthxngthin aelaobranwtthuthiaesdngwamikartidtxrahwangkhnphunemuxngphakhitkbklumchnphaynxk echn cin xinediy mlayu xahrb aelaklumpraeths thangtawntk epntn nxkcakniyngcdaesdngekiywkbsunyklangthangwthnthrrmxanackrobraninphakhit idaek xanackrtamphrlingkthicnghwdnkhrsrithrrmrach xanackrlngkasukathicnghwdpttani yala xanackrsriwichythicnghwdsurasdrthani aelasthingpura phthlung thibriewnlumthaelsabsngkhla tlxdcncdaesdngeruxngrawkhxngchnklumnxyinphakhit idaek chawel aelachawsaikhruxengaapaxakharklumbanhlngkhablanxhxngkrataykhudmaphraw Coconut Graters cdaesdngehlkkhud hruxkrataykhudmaphrawrupthrngtang sungthamakcakwsduhlaychnid echn im ehlk kradukchang epntn tlxdcnekhruxngmuxaelaxupkrnthicanaenuxmaphrawmaichpraoychn echn ehlkpxkepluxkmaphraw ehlkaengaenuxmaphraw kramchang aelatrxng thiichkrxng sahrbthaxahar epntn nxkcakniyngmiphlitphnthcak echn ekhruxngichinkhrweruxn ekhruxngdntri sxxu epntn hxngekhruxngmuxchangimaelangansilphtthkrrm Carpenter s Tools and Handicrafts cdaesdngekhruxngich chnidtang echn eluxy rangthd kbisim ekhruxngecaa ekhruxngklung epntn aelangan htthkrrm idaek nganimaekaslk thiichtkaetngxakharaelaeruxkxaela phimphthakhnm nganaekaslk ruphnngtalung cdaesdnglwdlay aelakhntxn ngancksan kracudaelayanliepha nxkcakni yngmiphlitphnthcksancakwsdutang echn imiph iytal ety hway khla khlum epntn sungsingehlanilwnbngchiihehnthungphumipyyaaelafimux echingchang khxngchawitinkarprbichphuchthimiinthxngthinihepnpraoychn hxngkarsuksa Educational Organization in the South cdaesdngekiywkbkarsuksatampraephniobrankhxngchawit odymiwdepnsunyklangkarsuksa cdkarsuksainmnthlethsaphibalmikarcdtngorngeriynpracamnthlkhuninsmyrchkalthi 5 aehngkrungrtnoksinthr nxkcakniyngmikarsuksadanfukhdkhru xachiwa aelamhawithyalytlxdcnkarsuksakhxnginphakhit hxngnnthnakar Recreation cdaesdngxupkrntwxyangcalxng aelaphaphthayekiywkbkarelnaelakilainthxngthinphakhit echn saba lukkhang chkwaw chnww epntn sungkarelnaelakilabangxyang epnkaraekhngkhnephuxbnethingsnuksnan aetbangxyangnxkcakelnephuxkhwamsnukruneringaelwkyngepnkarphnnxikdwy hxngekhruxngprathip Lamps for Lighting cdaesdngekiywkb ekhruxngkaenidifaelaekhruxngtamif sungaesdngihehnthungphthnakarkarichifihaesngswangkhxngchawit echn aelarupaebbtang echn taekiyngkhangkhk taekiyngikhepd taekiyngaesngcnthr taekiyngklibbw taekiyngrw taekiyngklxng epntn hxngekhruxngaekw Glassware cdaesdngthiphbaelaichkninphakhit mikarichaekwepnekhruxngpradbmatngaetsmykxnprawtisastr echn aekw epntn cdaesdngphachnaaekwchnidtang thiichinkhrweruxn odycaaenktamsi phachnaaekwthiichisekhruxngsaxang ekhruxnghxm khwdaekwaelakhwdohl hlayrupaebbtlxdcnthunaekwxwnthael aelalukaekwsungepnkhxngelnsahrbedkxakharklumbanhlngkhapnhyahxngwthnthrrmolhaaelaolhch Metalware cdaesdngekhruxngichthithadwyolha aelaolhaphsm echn engin takw thxngaedng sarid nak thxngehluxng epntn sungphachnabangchnidcdaesdngihehnthunglksnakarichsxy echn ekhruxng krabxkkhnmcin epntn hxngxislamsuksa Islam Studies cdaesdngekiywkbprawtiphthnakar aelakaraephrkracaykhxngsasnaxislaminphakhit rwmthngwthnthrrm praephni aelawithichiwitkhxngchawitthinbthuxsasnaxislam hxngkarlaelnphunemuxng Folk Plays and Music Instruments cdaesdngekiywkbkarlaelnaeladntriphunbanphakhitdwyrabbmltimiediy Multimedia idaek hnngtalung onra liekpa l nxkcakniyngmiornghnngtalungcalxng ruphnngtalung hunaesdngtharaonra hunnkdntrionra ekhruxngdntriphunban aelaprawtisilpinaehngchatithiepnchawit hxngehriyyaelaengintra Coins and Currencies cdaesdngphthnakarkhxngehriyyaelaengintrathiichinpraethsithy aelainphakhit rwmthngehriyyaela engintratangchatithiphbinphakhit echn ehriyycinsmyrachwngstang ehriyyengintrakhxngchawchwa mlayu tlxdcnehriyyengintrakhxngpraethsinyuorpthiichinpraethsxananikhm epntn hxngsasna Religion cdaesdngekiywkbsasnaphuthth aelasasnaphrahmninphakhit odyichsasnwtthuthiepnwtthukhxngcring calxngphaphekhiynaelaphaphthay echn thansiwlungkh ibesma thrrmasn phaphthaycitrkrrmfaphnng cnghwdsngkhla wdchltharasingeh cnghwdnrathiwas cnghwdphthlung epntn nxkcakniyngmiphaphekhiynthanphuthththasphikkhu aelathanpyyannthaphikkhu xikdwyxakharklumbanhlngkhacwxakharhlngthi 1 hxngthi 1 cdaesdngruphlxsamsmedcephuxneklx idaek aela aelacdaesdngpraephnikarekidaebbobran hmxtaaeyepnphuthakhlxd karxyuif ekhruxngichinkarbribalthark aelakareliyngduthark echn cdaesdnghunedkhdedinodyichkrabxkewiyn xakharhlngthi 2 hxngthi 2 cdaesdngkarlaelnkhxngedk odyichhunaesdngkarlaelnkhxngedk idaek karelnsdraw karelnpnwwpnkhway nxkcakniyngaesdngkhxngelnedkphunbanphakhitcakwtthucring echn waw lukkhang epntn xakharhlngthi 3 hxngthi 3 cdaesdngkarfaktwekhaeriyn karchwykar odyichhunaesdngprakxbkarnaedkipfaktnekhaeriynkbphrasngkhthiwd hunkartklngepnephuxneklx aelahunthiaesdngkickrrmchwyknthanganhruxeriykwa chwykar echn karchwyknsrangban epntn xakharhlngthi 4 hxngthi 4 cdaesdngpraephnikarbwch odyichhuncdaesdngkarlabidamardaipbwch karoknphm karaehnakh phithibwchphayinxuobsth aelaphrasngkhbwchihm xxkbinthbatr xakharhlngthi 5 hxngthi 5 6 7 cdaesdng 3 eruxng idaek cdaesdngkhwamechux aelawthnthrrmkarrksaphyabal odycdhuncalxngkaraesdngduhmx karrksaodykarnwd aelahxngaesdngkarrksaphyabalaebbobran cdaesdng odyichhunaesdngkaretriymxaharephuxeliyngaekhkthimachwyngan karchwykninna aelakarekbkhawiwinyungchang nxkcakniyngcdaesdng odycalxngeruxnyxdebyca thxnathiaekaslkepnrupphyanakh aelaeruxsahrbisna rwmthngesuxphasahrbphldepliynemuxxabnaesrcaelw odyaeykepn 2 sarb idaek sbngciwr sahrbphrasngkh aelaesuxphaihmsahrbphuethaphuaek sungepnthiekharphnbthuxkhxngkhninhmubanlanbnxakharnwphuminthrhxngsngkhlasuksa Songkhla Studies cdaesdngkhxmulthiekiywkbemuxngsngkhlathngthiepnwtthukhxngcring exksarhruxsuxthiihkhwamruindanprawtisastraelaobrankhdirwmthngsthanthisakhy echn aephnthiemuxngsngkhla hwekhaaedng emuxngsngkhlafngaehlmsn emuxngsngkhlapccubn tlxdcnhuncalxngpratuemuxngsngkhla epntn nxkcakniyngcdthabnthukehtukarnsakhy thiekiywkhxngkbemuxngsngkhla aelarwbrwmprawtibukhkhlchawemuxngsngkhlathithakhunpraoychnihaekpraethschatixikdwy hxngwrrnkrrmthxngthin Local Literature cdaesdngwrrnkrrmthxngthinphakhitpraephthlaylksn idaek hnngsuxbudhruxsmudkhxy aelasmudiblan nxkcakni idcdaesdngwrrnkrrmthxngthinthipriwrrtaelw aelaepidbrikarkhxmulihaekbukhkhlphaynxkekhasuksakhnkhwawicyekiywkbwrrnkrrmthxngthin hxngexksarthxngthin Local Documentation cdekbrwbrwmkhxmulekiywkb thksinkhdithiichsingphimphepnsux thngthiepnkhawsar bthkhwam bthwicarn raynganpracapi exksarprakxbkarprachumsmmna tara nganwicy aelarwbrwmexksareka thiekiywkbthksinkhdiodywithithaysaena nxkcakniyngepnaehlngsuksa khnkhwaihbrikarkhxmulaek nkwichakar nisit nksuksa aelaphusnicthwip hxngphiphithphnthesiyng Sound Collection cdekbrwbrwmkhxmulpraephth esiyng inrupkhxngethpbnthukesiyng odycaaenkhmwdhmutamenuxha epnkhlngkhxmulesiyngthiihkhwamruekiywkbsilpwthnthrrmphakhit sungepidbrikarihbukhkhlthwipidsuksakhnkhwa dwyekhruxngbrikarthithnsmy sadwk aelarwderw hxngphiphithphnthphaph Visual Collection cdekbkhxmulekiywkbthksinkhdi dwyrabbphaph thngphaphthay phaphphimph phaphlayesn sild aethbwidithsn aelaphaphyntr rwmthngphlitraykarepnostthsnupkrnekiywkbthksinkhdi dwyrabbwidithsn aela CD ROM sungepidbrikardankhxmulaeknkwichakar nisit nksuksa aelaphusnicthwip hxngsunybrikarkhxmul Information Service Center cdrwbrwmaelabrikarkhxmulthiekiywkbthksinkhdi dwyrabbkhxmphiwetxrephuxechuxmoyngkbsthabnthangwthnthrrmxun aelaihbrikarsubkhnkhxmulthangwthnthrrmphakhitxasrmsilpkrrmthksinxasrmsilpkrrmthksin faysngesrimephyaephraelaphthna sthabnthksinkhdisuksa mipharahnathiinkarekbrwbrwm suksa wiekhraahkhxmulthangwichakarsilpkrrm aelanaphlnganthang silpkrrmtngaetsmykxnprawtisastrcnkrathngsmypccubnmacdrabb cdekb aelacdaesdngkhxmulepnhxngnithrrskarthawr prakxbdwy hxngprawtisastrsilpainphakhit cdaesdng odykarcalxngbrryakasinthaaelanaesnxphaphthaysilpathatam aelacdaesdngwdsakhytang inphakhit sungprakxbdwyphaphphuththprawtiprakxbkblwdlaytang aebbithyobran hxngxkhrsilpin cdaesdngphrarachprawtidansilpakhxngphrabathsmedcphraecaxyuhwphumiphlxdulyedch aelasmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari aelaaesdngphlngansilpkrrmcakfiphrahtth hxngsilpinekiyrtikhun cdaesdngprawtiaelaphlngankhxngsilpinaehngchatichawphakhitthuksakha xathi thsnsilp aela nbtngaeterimprakasrangwlsilpinaehngchaticnkrathngpccubn hxngnithrrskarsilpkrrmsilpinaelaeyawchnphakhit aesdngprawtiaelaphlngankhxngsilpinphakhit phumichuxesiyngaelamikhunupkartxsngkhmphakhitrwmthngphlngankhxngeyawchnthiidrbrangwlcakkarprakwdphlngansilpkrrmeyawchnthksin nxkcakniyngmipharanganswnsakhyxikswnhnungkhux karcdkickrrmthangsilpkrrm karprakwdsilpkrrmeyawchnthksin karaesdngnithrrskarsilpkrrm karfukxbrmechingptibtikarthangsilpa karxbrmsmmnathangwichakarsilpkrrm aelakickrrmxun thimiswnchwyinkarsngesrimaelaphthnanganthangsilpkrrmihepnipxyangtxenuxngaelamiprasiththiphaph ephuxsnxngtxbtxpharkickhxngsthabnthksinkhdisuksa inthanathiepnaehlngthxngethiywthangwthnthrrmxnthrngkhunkhaepnsunyklangkhxngkarsuksakhxmul aelasngesrimephyaephrkhxmulthangwichakar aela phlnganthangsilpkrrmthisakhyaehnghnungkhxngphakhitaehlngkhxmulxunsthabnthksinkhdisuksa mhawithyalythksin 2008 07 12 thi ewyaebkaemchchin