ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: prehistory) มีอีกชื่อว่า ประวัติศาสตร์ก่อนวรรณกรรม (pre-literary history) เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์มนุษย์ระหว่างการใช้เครื่องมือหินครั้งแรกโดย ป. 3.3 ล้านปีก่อนจนถึงจุดเริ่มต้นของ (recorded history) ที่มีการคิดค้นระบบการเขียน การใช้สัญลักษณ์ เครื่องหมาย และภาพปรากฏในกลุ่มมนุษย์ยุคแรก แต่ระบบการเขียนแบบแรกสุดปรากฏขึ้น ป. 5,000 ปีก่อน ต้องใช้เวลาหลายพันปีกว่าระบบการเขียนจะได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยกระจายไปเกือบทุกวัฒนธรรมในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ดังนั้น จุดสิ้นสุดของยุคก่อนประวัติศาสตร์จึงเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แตกต่างกันมากตามพื้นที่ต่าง ๆ และคำนี้มักไม่ค่อยใช้ในการอภิปรายสังคมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่สิ้นสุดลงเมื่อไม่นานนี้
ในยุคสำริดตอนต้น ซูเมอร์ในเมโสโปเตเมีย อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ และอียิปต์โบราณเป็นอารยธรรมแแรกที่พัฒนาอักษรของตนเองและบันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยที่เพื่อนบ้านตามมาให้หลัง อารยธรรมอื่น ๆ ส่วนใหญ่ถึงจุดสิ้นสุดยุคก่อนประวัติศาสตร์ในช่วงยุคเหล็ก ของยุคก่อนประวัติศาสตร์ไปเป็นยุคหิน, ยุคสัมฤทธิ์ และยุคเหล็กยังคงใช้งานในยูเรเชียและแอฟริกาเหนือ แต่ไม่พบในบริเวณที่ปรากฏอย่างกระทันหันจากการติดต่อกับ เช่น โอเชียเนีย, ออสตราเลเซีย แอฟริกาใต้สะฮาราส่วนหนึ่ง และบางส่วนของทวีปอเมริกา ยกเว้นในทวีปอเมริกาที่ไม่ได้พัฒนาระบบการเขียนที่ซับซ้อนก่อนการมาของชาวยูเรเชีย ทำให้ยุคก่อนประวัติศาสตร์เปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคล่าสุดอย่างรวดเร็ว เช่น ค.ศ. 1788 มักเป็นจุดสิ้นสุดของ
ส่วนยุคที่มีผู้อื่นเขียนถึงวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ยังไม่พัฒนาระบบการเขียนของตนเองมักเรียกว่ายุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ของวัฒนธรรม ตามคำนิยาม ไม่มีบันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษรจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ โดยเราสามารถรู้เฉพาะจากหลักฐานทางโบราณคดีและมานุษยวิทยา: วัตถุยุคก่อนประวัติศาสตร์และสิ่งหลงเหลือของมนุษย์ ตอนแรกเป็นที่เข้าใจด้วยชุดคติชนและอุปมัยกับก่อนรู้หนังสือที่สังเกตได้ในยุคปัจจุบัน กุญแจสู่ความเข้าใจหลักฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์คือวันที่ และเทคนิคการหาวันที่ที่เชื่อถือได้ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 หลักฐานเพิ่มเติมาจากการสร้างภาษาพูดโบราณขึ้นมาใหม่ เทคนิคล่าสุดรวมถึงการวิเคราะห์ทางเคมีในด้านนิติเวชเพื่อเปิดเผยการใช้และที่มาของวัสดุ และการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมของกระดูกเพื่อกำหนดความสัมพันธ์ทางเครือญาติและลักษณะทางกายภาพของคนยุคก่อนประวัติศาสตร์
คำนิยาม
เริ่มต้น
คำว่า "ก่อนประวัติศาสตร์" สามารถสื่อถึงช่วงเวลาที่ยาวนานตั้งแต่จุดเริ่มต้นของเอกภพหรือโลก แต่ส่วนใหญ่มักสื่อถึงสมัยตั้งแต่เกิดชีวิตบนโลก หรือนับตั้งแต่สิ่งมีชีวิตคล้ายมนุษย์กลุ่มแรกปรากฏขึ้น
สิ้นสุด
จุดสิ้นสุดของยุคก่อนประวัติศาสตร์มักกำหนดที่การคิดค้นประวัติศาสตร์ที่มีการบันทึก ทำให้วันที่แตกต่างกันไปตามภูมิภาค ขึ้นอยู่กับวันที่บันทึกที่เกี่ยวข้องกลายเป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นประโยชน์ เช่น โดยทั่วไปยอมรับว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ของอียิปต์สิ้นสุดประมาณ 3100 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในขณะที่นิวกินีสิ้นสุดที่คริสต์ทศวรรษ 1870
ช่วงเวลา
ในการแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ในยูเรเชีย นักประวัติศาสตร์มักใช้ (three-age system) ในขณะที่นักวิชาการด้านสมัยก่อนมนุษย์มักใช้และชั้นฐานในธรณีกาล ระบบสามยุคเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ออกเป็น 3 ช่วง ตามเทคโนโลยีผลิตเครื่องมือที่โดดเด่นของพวกเขา:
ยุคหิน
ยุคหิน (Stone Age) แบ่งออกเป็นยุคย่อย ๆ 3 ยุค คือ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่
ยุคหินเก่า
ยุคหินเก่า (Paleolithic Periode หรือ Old Stone Age) ประมาณ 5,000,000 ปีล่วงมาแล้ว มนุษย์ในยุคนี้เริ่มทำเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอ่อนอย่างง่ายก่อน เมื่อเวลาผ่านไปก็สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับการใช้งาน เครื่องมือหินอ่อน มนุษย์ใช้
วัสดุจำพวก ซึ่งในยุคนี้สามารถแบ่งเครื่องมือสมัยเก่าออกเป็น 3 ช่วงได้แก่
หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนต้น ได้แก่ โครงกระดูกของมนุษย์ในสมัยนั้น เครื่องสังคโลก ในทวีปยุโรปมีการค้นพบมนุษย์ไฮดรา (Hydra) มนุษย์อมิรา (Amira) ในทวีปเอเชียมีการค้นพบมนุษย์ชวา (Java Man) และมนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man) ในทวีปแอฟริกามีการค้นพบมนุษย์ Homo erectus มนุษย์กินมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีหลักฐานประเภทโครงกระดูกของสัตว์ที่มนุษย์กินเป็นอาหาร ซึ่งสามารถบอกให้เราทราบถึงสภาพแวดล้อมของมนุษย์ในขณะนั้นซึ่งยังมีความเป็นสัตว์อยู่มากเนื่องจากกระดูกสันหลังยังคงเหมือนลิงอยู่ และหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินมีลักษณะเป็นขวาน ดาบ มีด ค้อน กระเทาะแบบกำปั้น
- หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนกลาง ได้แก่ โครงกระดูกของมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์ปัจจุบันมากขึ้น เช่น โครงกระดูกมนุษย์นีแอนเดอร์ทาลในประเทศรัสเซีย นอกจากนี้ยังมีหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีลักษณะแหลมคมมากขึ้น มีด้ามยาวมากขึ้นและมีประโยชน์ในการใช้สอยมากขึ้น และยังมีหลักฐานพฤติกรรมทางสังคม เช่น หลักฐานการประกอบพิธีฝังศพ
- หลักฐานในสมัยยุคหินเก่าตอนปลาย ได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์ที่ค้นพบในยุโรป เช่น โครงกระดูก (Cro-Magnons) (Alti) และ (Chanceled) นอกจากนี้ยังมีหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีลักษณะหลายประเภทกว่ายุคก่อน ได้แก่ หลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก เช่น เข็มเย็บผ้า เครื่องประดับหินอ่อน ฉมวก หัวลูกศร คันเบ็ด และเครื่องประดับทำด้วยเปลือกไม้ และกระดูกสัตว์
ยุคโลหะ
โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนำมาหลอมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้คือ ทองแดง ปรากฏหลักฐานในบริเวณลุ่มแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทีส นำทองแดงมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เมื่อประมาณ 4,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช
ยุคโลหะ (Metal Age) แบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อยคือ ยุคทองแดง ยุคสำริด และยุคเหล็ก
ยุคทองแดง
ยุคทองแดง (Chalcolithic Age) มนุษย์ยุคนี้ได้มีการนำทองแดงมาทำอาวุธ สิ่งของเครื่องใช้และเครื่องประดับแต่ก็ยังคงมีเครื่องมือหินขัดใช้อยู่
ยุคสำริด
ยุคสำริดเริ่มต้นในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกไม่พร้อมกัน แต่โดยเฉลี่ยแล้วแหล่งถิ่นฐานส่วนใหญ่สามารถถลุงสำริดได้เมื่อประมาณ 5,000 ปี มาแล้ว สำริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก กรรมวิธีการทำสำริดค่อนข้างยุ่งยาก ตั้งแต่การหาแหล่งแร่ การเตรียม การถลุงแร่ และการผสมแร่ในเบ้าหลอม จากนั้นจึงเป็นการขึ้นรูปทำเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยการตีหรือการหล่อในแม่พิมพ์หินทราย หรือแม่พิมพ์ดินเผา
เครื่องมือเครื่องใช้ในยุคสำริดที่พบตามแหล่งต่าง ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก นอกจากทำด้วยสำริดแล้วยังพบเครื่องมือเครื่องใช้ทำจากดินเผา หิน และแร่ ในบางแหล่งมีการใช้สำริดต่อเนื่องมาจนถึงยุคเหล็กเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากสำริดมีขวาน หอก ภาชนะ กำไล ตุ้มหู ลูกปัด เป็นต้น
ในยุคนี้ความเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนไปมากทั้งด้านการเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชนเมือง จึงมีการจัดแบ่งความสัมพันธ์ตามความสามารถ เช่น กลุ่มอาชีพ มีการจัดระเบียบสังคมเป็นกลุ่มชนชั้นต่าง ๆ ซึ่งเอื้ออำนวยต่อการผลิตอันนำไปสู่ความมั่นคงด้านปัจจัยพื้นฐานและความมั่งคั่งแก่สังคม มนุษย์จึงมีความมั่นคงปลอดภัยกว่าเดิมและมีความสะดวกสบายมากขึ้น นำไปสู่พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็นรัฐในเวลาต่อมา
แหล่งอารยธรรมที่สำคัญ ๆ ของโลกล้วนมีการพัฒนาการสังคมจากช่วงเวลาสมัยหินใหม่และสมัยสำริด แหล่งอารยธรรมของโลกที่สำคัญและแหล่งวัฒนธรรมบางแห่ง เช่น แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียในภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ในอียิปต์ แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุในอินเดีย แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโหของจีน และแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงในประเทศไทย
ยุคเหล็ก
ช่วงเวลานี้เริ่มต้นจากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์สามารถหลอมโลหะประเภทเหล็กขึ้นมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ได้ ซึ่งการผลิตเหล็กต้องใช้อุณหภูมิสูงมีกรรมวิธีที่ยุ่งยาก แต่ถึงอย่างไรเหล็กก็มีความแข็งแกร่งคงทนกว่าโลหะสำริดมาก
สังคมที่สามารถพัฒนาการผลิตเหล็ก จะสามารถพัฒนาสู่ความเป็นรัฐ เพราะการผลิตเหล็กทำให้สังคมสามารถผลิตอาวุธได้ง่ายและแข็งแกร่งขึ้น จนสามารถขยายกองทัพได้ และมีเครื่องมือที่เหมาะสมต่อการทำเกษตรที่มีความคงทนกว่า
แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียหรือก็คืออาณาจักรฮิตไทต์ เมื่อ 1,200 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือประมาณ 3,200 ปีมาแล้ว
โดยสรุปแล้ว ยุคเหล็กมีความแตกต่างจากยุคสำริดหลายประการ คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กทำให้เกิดการเพิ่มผลผลิต การผลิตเหล็กทำให้กองทัพมีอาวุธที่แข็งแกร่ง นำไปสู่พัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกำลังทหารที่แข็งแกร่งเข้ายึดครองสังคมอื่น ๆ ขยายเป็นอาณาจักรในเวลาต่อมารวมรัฐไทยด้วย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- McCall, Daniel F.; Struever, Stuart; Van Der Merwe, Nicolaas J.; Roe, Derek (1973). "Prehistory as a Kind of History". The Journal of Interdisciplinary History. 3 (4): 733–739. doi:10.2307/202691. JSTOR 202691.
- "Dictionary Entry". จากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2017. สืบค้นเมื่อ 8 August 2017.
- Graslund, Bo. 1987. The birth of prehistoric chronology. Cambridge:Cambridge University Press.
- Fagan, Brian. 2007. World Prehistory: A brief introduction New York: Prentice-Hall, Seventh Edition, Chapter One
- Renfrew, Colin. 2008. Prehistory: The Making of the Human Mind. New York: Modern Library
- Fagan, Brian (2017). World prehistory: a brief introduction (Ninth ed.). London: Routledge. p. 8. ISBN . OCLC 958480847.
- Forsythe, Gary (2005). A critical history of early Rome : from prehistory to the first Punic War. Berkeley: University of California Press. p. 12. ISBN . OCLC 70728478.
- Connah, Graham (2007-05-11). "Historical Archaeology in Africa: An Appropriate Concept?". African Archaeological Review. 24 (1–2): 35–40. doi:10.1007/s10437-007-9014-9. ISSN 0263-0338. S2CID 161120240.
- Matthew Daniel Eddy, บ.ก. (2011). Prehistoric Minds: Human Origins as a Cultural Artefact. Royal Society of London. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-01. สืบค้นเมื่อ 2014-09-19.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yukhkxnprawtisastr xngkvs prehistory mixikchuxwa prawtisastrkxnwrrnkrrm pre literary history epnchwngewlainprawtisastrmnusyrahwangkarichekhruxngmuxhinkhrngaerkody p 3 3 lanpikxncnthungcuderimtnkhxng recorded history thimikarkhidkhnrabbkarekhiyn karichsylksn ekhruxnghmay aelaphaphpraktinklummnusyyukhaerk aetrabbkarekhiynaebbaerksudpraktkhun p 5 000 pikxn txngichewlahlayphnpikwarabbkarekhiyncaidrbkaryxmrbxyangkwangkhwang odykracayipekuxbthukwthnthrrminchwngkhriststwrrsthi 19 dngnn cudsinsudkhxngyukhkxnprawtisastrcungekidkhuninchwngewlathiaetktangknmaktamphunthitang aelakhanimkimkhxyichinkarxphipraysngkhmsmykxnprawtisastrthisinsudlngemuximnannilwdlaybnchinekhakwang inyukhsaridtxntn suemxrinemosopetemiy xarythrrmlumaemnasinthu aelaxiyiptobranepnxarythrrmaeaerkthiphthnaxksrkhxngtnexngaelabnthukehtukarnthangprawtisastr odythiephuxnbantammaihhlng xarythrrmxun swnihythungcudsinsudyukhkxnprawtisastrinchwngyukhehlk khxngyukhkxnprawtisastripepnyukhhin yukhsmvththi aelayukhehlkyngkhngichnganinyuerechiyaelaaexfrikaehnux aetimphbinbriewnthipraktxyangkrathnhncakkartidtxkb echn oxechiyeniy xxstraelesiy aexfrikaitsaharaswnhnung aelabangswnkhxngthwipxemrika ykewninthwipxemrikathiimidphthnarabbkarekhiynthisbsxnkxnkarmakhxngchawyuerechiy thaihyukhkxnprawtisastrepliynphanipsuyukhlasudxyangrwderw echn kh s 1788 mkepncudsinsudkhxng swnyukhthimiphuxunekhiynthungwthnthrrmhnung aetyngimphthnarabbkarekhiynkhxngtnexngmkeriykwayukhkungkxnprawtisastrkhxngwthnthrrm tamkhaniyam immibnthukthiepnlaylksnxksrcakyukhkxnprawtisastrkhxngmnusy odyerasamarthruechphaacakhlkthanthangobrankhdiaelamanusywithya wtthuyukhkxnprawtisastraelasinghlngehluxkhxngmnusy txnaerkepnthiekhaicdwychudkhtichnaelaxupmykbkxnruhnngsuxthisngektidinyukhpccubn kuyaecsukhwamekhaichlkthanyukhkxnprawtisastrkhuxwnthi aelaethkhnikhkarhawnthithiechuxthuxididphthnamaxyangtxenuxngtngaetkhriststwrrsthi 19 hlkthanephimetimacakkarsrangphasaphudobrankhunmaihm ethkhnikhlasudrwmthungkarwiekhraahthangekhmiindannitiewchephuxepidephykarichaelathimakhxngwsdu aelakarwiekhraahthangphnthukrrmkhxngkradukephuxkahndkhwamsmphnththangekhruxyatiaelalksnathangkayphaphkhxngkhnyukhkxnprawtisastrkhaniyamesahinkhnadyksthiinphakhtawnxxkechiyngitkhxngturki srangkhunephuxichinphithikrrmodyprachakrinyukhhinihmtxntnemux 11 000 pikxnphaphsekchcintnakarthungphuihyaelaedkyukhkxnprawtisastrkalngsrangekhruxngmuxhinaenwkhidmnusyyukhaerkinthinthurkndar emuxkhriststwrrsthi 19 erimtn khawa kxnprawtisastr samarthsuxthungchwngewlathiyawnantngaetcuderimtnkhxngexkphphhruxolk aetswnihymksuxthungsmytngaetekidchiwitbnolk hruxnbtngaetsingmichiwitkhlaymnusyklumaerkpraktkhun sinsud cudsinsudkhxngyukhkxnprawtisastrmkkahndthikarkhidkhnprawtisastrthimikarbnthuk thaihwnthiaetktangkniptamphumiphakh khunxyukbwnthibnthukthiekiywkhxngklayepnaehlngkhxmulthangwichakarthiepnpraoychn echn odythwipyxmrbwayukhkxnprawtisastrkhxngxiyiptsinsudpraman 3100 pikxnkhristskrach inkhnathiniwkinisinsudthikhristthswrrs 1870 chwngewla inkaraebngyukhkxnprawtisastrkhxngmnusyinyuerechiy nkprawtisastrmkich three age system inkhnathinkwichakardansmykxnmnusymkichaelachnthaninthrnikal rabbsamyukhepnyukhkxnprawtisastrkhxngmnusyxxkepn 3 chwng tamethkhonolyiphlitekhruxngmuxthioddednkhxngphwkekha yukhhin yukhsmvththi yukhehlkyukhhinyukhhin Stone Age aebngxxkepnyukhyxy 3 yukh khux yukhhineka yukhhinklang aelayukhhinihm yukhhineka yukhhineka Paleolithic Periode hrux Old Stone Age praman 5 000 000 pilwngmaaelw mnusyinyukhnierimthaekhruxngmuxekhruxngichdwyhinxxnxyangngaykxn emuxewlaphanipksamarthddaeplngihehmaasmkbkarichngan ekhruxngmuxhinxxn mnusyich wsducaphwk sunginyukhnisamarthaebngekhruxngmuxsmyekaxxkepn 3 chwngidaek hlkthaninsmyyukhhinekatxntn idaek okhrngkradukkhxngmnusyinsmynn ekhruxngsngkholk inthwipyuorpmikarkhnphbmnusyihdra Hydra mnusyxmira Amira inthwipexechiymikarkhnphbmnusychwa Java Man aelamnusypkking Peking Man inthwipaexfrikamikarkhnphbmnusy Homo erectus mnusykinmnusy nxkcakniyngmihlkthanpraephthokhrngkradukkhxngstwthimnusykinepnxahar sungsamarthbxkiherathrabthungsphaphaewdlxmkhxngmnusyinkhnannsungyngmikhwamepnstwxyumakenuxngcakkraduksnhlngyngkhngehmuxnlingxyu aelahlkthanekhruxngmuxekhruxngichthithadwyhinmilksnaepnkhwan dab mid khxn kraethaaaebbkapn hlkthaninsmyyukhhinekatxnklang idaek okhrngkradukkhxngmnusythimilksnakhlaykbmnusypccubnmakkhun echn okhrngkradukmnusyniaexnedxrthalinpraethsrsesiy nxkcakniyngmihlkthanekhruxngmuxekhruxngichthimilksnaaehlmkhmmakkhun midamyawmakkhunaelamipraoychninkarichsxymakkhun aelayngmihlkthanphvtikrrmthangsngkhm echn hlkthankarprakxbphithifngsph hlkthaninsmyyukhhinekatxnplay idaek okhrngkradukmnusythikhnphbinyuorp echn okhrngkraduk Cro Magnons Alti aela Chanceled nxkcakniyngmihlkthanekhruxngmuxekhruxngichthimilksnahlaypraephthkwayukhkxn idaek hlkthanekhruxngmuxekhruxngichthithacakhinaelakradukstwodykaraekaslk echn ekhmeybpha ekhruxngpradbhinxxn chmwk hwluksr khnebd aelaekhruxngpradbthadwyepluxkim aelakradukstwyukholhaolhachnidaerkthimnusyrucknamahlxmepnekhruxngmuxekhruxngichkhux thxngaedng prakthlkthaninbriewnlumaemnaithkrisaelayuefrthis nathxngaedngmaichpraoychnindantang emuxpraman 4 000 pi kxnkhristskrach yukholha Metal Age aebngxxkepn 3 yukhyxykhux yukhthxngaedng yukhsarid aelayukhehlk yukhthxngaedng yukhthxngaedng Chalcolithic Age mnusyyukhniidmikarnathxngaedngmathaxawuth singkhxngekhruxngichaelaekhruxngpradbaetkyngkhngmiekhruxngmuxhinkhdichxyu yukhsarid yukhsariderimtninphumiphakhtang khxngolkimphrxmkn aetodyechliyaelwaehlngthinthanswnihysamarththlungsarididemuxpraman 5 000 pi maaelw saridepnolhaphsmrahwangthxngaedngkbdibuk krrmwithikarthasaridkhxnkhangyungyak tngaetkarhaaehlngaer karetriym karthlungaer aelakarphsmaerinebahlxm caknncungepnkarkhunrupthaekhruxngmuxekhruxngichdwykartihruxkarhlxinaemphimphhinthray hruxaemphimphdinepha ekhruxngmuxekhruxngichinyukhsaridthiphbtamaehlngtang inphumiphakhtang khxngolk nxkcakthadwysaridaelwyngphbekhruxngmuxekhruxngichthacakdinepha hin aelaaer inbangaehlngmikarichsaridtxenuxngmacnthungyukhehlkekhruxngmuxekhruxngichthithacaksaridmikhwan hxk phachna kail tumhu lukpd epntn inyukhnikhwamepnxyukhxngmnusyepliynipmakthngdankaremuxngaelasngkhm chumchnekstrkrrmkhyaytwcnklayepnchumchnemuxng cungmikarcdaebngkhwamsmphnthtamkhwamsamarth echn klumxachiph mikarcdraebiybsngkhmepnklumchnchntang sungexuxxanwytxkarphlitxnnaipsukhwammnkhngdanpccyphunthanaelakhwammngkhngaeksngkhm mnusycungmikhwammnkhngplxdphykwaedimaelamikhwamsadwksbaymakkhun naipsuphthnakarthangsngkhmsukhwamepnrthinewlatxma aehlngxarythrrmthisakhy khxngolklwnmikarphthnakarsngkhmcakchwngewlasmyhinihmaelasmysarid aehlngxarythrrmkhxngolkthisakhyaelaaehlngwthnthrrmbangaehng echn aehlngxarythrrmemosopetemiyinphumiphakhexechiytawntk aehlngxarythrrmlumaemnainlinxiyipt aehlngxarythrrmlumaemnasinthuinxinediy aehlngxarythrrmlumaemnahwngohkhxngcin aelaaehlngwthnthrrmbanechiynginpraethsithy yukhehlk chwngewlanierimtncakkarphthnathangdanethkhonolyikarphlitolhakhxngmnusysamarthhlxmolhapraephthehlkkhunmathaepnekhruxngmuxekhruxngichid sungkarphlitehlktxngichxunhphumisungmikrrmwithithiyungyak aetthungxyangirehlkkmikhwamaekhngaekrngkhngthnkwaolhasaridmak sngkhmthisamarthphthnakarphlitehlk casamarthphthnasukhwamepnrth ephraakarphlitehlkthaihsngkhmsamarthphlitxawuthidngayaelaaekhngaekrngkhun cnsamarthkhyaykxngthphid aelamiekhruxngmuxthiehmaasmtxkarthaekstrthimikhwamkhngthnkwa aehlngxarythrrmaehngaerkthisamarthphlitehlkidkhux aehlngxarythrrmemosopetemiyhruxkkhuxxanackrhititht emux 1 200 pikxnkhristskrach hruxpraman 3 200 pimaaelw odysrupaelw yukhehlkmikhwamaetktangcakyukhsaridhlayprakar khux karphthnaethkhonolyikarphlitehlkthaihekidkarephimphlphlit karphlitehlkthaihkxngthphmixawuththiaekhngaekrng naipsuphthnakarthangsngkhmcnklayepnrththimikalngthharthiaekhngaekrngekhayudkhrxngsngkhmxun khyayepnxanackrinewlatxmarwmrthithydwyduephimsthaniyxyprawtisastrxangxingMcCall Daniel F Struever Stuart Van Der Merwe Nicolaas J Roe Derek 1973 Prehistory as a Kind of History The Journal of Interdisciplinary History 3 4 733 739 doi 10 2307 202691 JSTOR 202691 Dictionary Entry cakaehlngedimemux 8 August 2017 subkhnemux 8 August 2017 Graslund Bo 1987 The birth of prehistoric chronology Cambridge Cambridge University Press Fagan Brian 2007 World Prehistory A brief introduction New York Prentice Hall Seventh Edition Chapter One Renfrew Colin 2008 Prehistory The Making of the Human Mind New York Modern Library Fagan Brian 2017 World prehistory a brief introduction Ninth ed London Routledge p 8 ISBN 978 1 317 27910 5 OCLC 958480847 Forsythe Gary 2005 A critical history of early Rome from prehistory to the first Punic War Berkeley University of California Press p 12 ISBN 978 0 520 94029 1 OCLC 70728478 Connah Graham 2007 05 11 Historical Archaeology in Africa An Appropriate Concept African Archaeological Review 24 1 2 35 40 doi 10 1007 s10437 007 9014 9 ISSN 0263 0338 S2CID 161120240 Matthew Daniel Eddy b k 2011 Prehistoric Minds Human Origins as a Cultural Artefact Royal Society of London cakaehlngedimemux 2021 04 01 subkhnemux 2014 09 19