องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (อังกฤษ: Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; รัสเซีย: Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи, : Dogovor o druzhbe, sotrudnichestve i vzaimnoy pomoshchi) รู้จักกันดีในชื่อ กติกาสัญญาวอร์ซอ (อังกฤษ: Warsaw Pact) เป็นด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท) ในปี พ.ศ. 2498 จากการลงนามใน พ.ศ. 2497 แต่ก็ยังถือว่าก่อตั้งขึ้นเพราะสหภาพโซเวียตต้องการดำรงอำนาจควบคุมทางการทหารในยุโรปตอนกลางและยุโรปตะวันออกด้วยเช่นกัน
รัสเซีย: Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи | |
รัฐสมาชิกของกติกาสัญญาวอร์ซอในปี พ.ศ. 2533 (สีเขียวเข้ม) และอดีตรัฐสมาชิก (สีเขียวอ่อน) | |
คําขวัญ | สหภาพแห่งสันติภาพและสังคมนิยม (รัสเซีย: Союз мира и социализма) |
---|---|
ก่อตั้ง | 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 |
ยุติ | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 |
ประเภท | พันธมิตรทางการทหาร |
สํานักงานใหญ่ | มอสโก, สหภาพโซเวียต |
สมาชิก | แอลเบเนีย (ถอนตัวปี พ.ศ. 2511)1 บัลแกเรีย |
ผู้บัญชาการสูงสุด | อีวาน โคเนฟ (คนสุดท้าย) |
หัวหน้าคณะเจ้าพนักงาน | (คนสุดท้าย) |
1 - แอลเบเนียถอนตัวออกจากกติกาสัญญาวอร์ซอในเดือนกันยายน พ.ศ. 2511 เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ 2 - วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2533 เยอรมันตะวันออกถอนตัวออกจากกติกาสัญญาวอร์ซอเนื่องจากการรวมประเทศ และได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือแทน |
แม้ว่ากติกาสัญญาวอร์ซอจะก่อตั้งขึ้นเพื่อคานอำนาจ หรือต่อกร กับองค์การเนโท แต่ไม่ปรากฏการเผชิญหน้าโดยตรงของทั้งสองฝ่าย หากแต่ความขัดแย้งนี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการต่อสู่ทางแนวคิดและอุดมการณ์ ทั้งสนธิสัญญาเนโทและกติกาสัญญาวอร์ซอต่างทำให้เกิดการขยายกองกำลังทางทหารและบูรณาการความร่วมมือในหมู่ประเทศสมาชิกของตน โดยปฏิบัติการทางทหารครั้งใหญ่ที่สุดที่เกิดขึ้นก็คือการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2511 (รัฐสมาชิกเข้าร่วมทุกแห่งยกเว้นแอลเบเนียและโรมาเนีย) ซึ่งทำให้แอลเบเนียถอนตัวออกจากกติกาสัญญาดังกล่าวภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนหลังจากนั้น ต่อเอกภาพขององค์การสนธิสัญญาวอร์ซอเริ่มสั่นคลอนจากการแผ่ขยายของการปฏิวัติ พ.ศ. 2532 ทั่วทั้งภูมิภาคยุโรปตะวันออก ซึ่งเริ่มจากขบวนการเอกภาพ (Solidarity movement) ในโปแลนด์ และการเลือกตั้งที่ประสบความสำเร็จในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2532
ทั้งเยอรมนีตะวันออกและโปแลนด์ถอนตัวออกจากกติกาสัญญาในปี พ.ศ. 2533 ต่อมาในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ที่ประชุมของรัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีต่างประเทศจากรัฐสมาชิกที่เหลืออยู่ห้าแห่งประกาศให้กติกาสัญญาดังกล่าวยุติบทบาทลง ตามมาด้วยการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน ซึ่งแม้ว่าอดีตสาธารณรัฐโซเวียตส่วนมากจะรวมกลุ่มกันตั้งองค์การสนธิสัญญาความมั่นคงร่วมแห่งใหม่ขึ้นมาไม่นานหลังจากนั้น แต่รัฐสมาชิกนอกสหภาพโซเวียตของกติกาสัญญาวอร์ซอเดิมจำนวนเจ็ดแห่งกลับไปเข้าร่วมกับองค์การเนโทแทน (เยอรมนีตะวันออกที่ผ่านการรวมประเทศกับเยอรมนีตะวันตก; สาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวักในฐานะรัฐอธิปไตยที่แยกออกจากกัน)
ประวัติ
สหภาพโซเวียตกล่าวโจมตีว่าองค์การเนโทมีวัตถุประสงค์เพื่อรุกราน จึงได้ตั้งองค์การสนธิสัญญาวอร์ซอขึ้นในปี พ.ศ. 2498 และมีชื่อเต็มและชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนธิสัญญาวอร์ซอแห่งความร่วมมืออย่างมิตรไมตรีและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หรือ องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Treaty on Friendship Cooperation and Mutual Aid; Warsaw Treaty Organization)
องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอมีข้อบททำนองเดียวกับข้อห้าขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือที่ว่าการโจมตีสมาชิกรัฐใดรัฐหนึ่งจะถือว่าเป็นการโจมตีรัฐสมาชิกทั้งหมด และข้อห้าของกติกาสัญญายังได้ระบุถึงการบัญชาการทหารร่วมกันด้วย กติกาสัญญาวอร์ซอได้ถูกยกเลิกอย่างเป็นทางการที่กรุงปรากในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534
รัฐสมาชิก
รัฐสมาชิกทั้งแปดแห่งในกติกาสัญญาวอร์ซอให้สัตยาบันว่าจะร่วมกันปกป้องรัฐสมาชิกใดก็ตามที่ถูกโจมตี ซึ่งรูปแบบความสัมพันธ์ในหมู่รัฐสมาชิกเป็นแบบความสัมพันธ์สองทาง ไม่ก้าวก่ายกิจการภายในของอีกฝ่าย และเคารพอำนาจอธิปไตยและอิสรภาพทางการเมืองของกันและกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลของรัฐสมาชิกทุกแห่งในกติกาสัญญานี้ล้วนแต่ถูกสหภาพโซเวียตควบคุมทางอ้อมด้วยกันทั้งสิ้น
- สาธารณรัฐประชาชนแอลเบเนีย (ถอนตัวปี พ.ศ. 2511)
- สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (ถอนตัวปี พ.ศ. 2533)
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ (ถอนตัวปี พ.ศ. 2533)
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
- สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2506 สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกภายใต้มาตรา 9 ของกติกาสัญญานี้ แต่เนื่องจากความสัมพันธ์จีน-โซเวียตที่ร้าวฉานมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้มองโกเลียมีสถานะเพียงรัฐผู้สังเกตการณ์เท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 สหภาพโซเวียตจึงยินยอมให้ตั้งฐานกำลังในมองโกเลีย
ยุคหลังกติกาสัญญาวอร์ซอ
อดีตประเทศสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอส่วนใหญ่ได้หันไปเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ โดยวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2542 ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก และโปแลนด์ได้เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ต่อมาในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2547 บัลกาเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย โรมาเนีย และสโลวาเกียก็ได้เข้าร่วมเช่นเดียวกัน
ตราสัญลักษณ์
- ตราสัญลักษณ์กติกาสัญญาวอร์ซอ สหายจับอาวุธ (พ.ศ. 2513)
- ตราสัญลักษณ์ผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อมร่วมของกติกาสัญญาวอร์ซอ เอสไอทีไอ (พ.ศ. 2515)
- ตราสัญลักษณ์ครบรอบ 25 ปี ของกติกาสัญญาวอร์ซอ (พ.ศ. 2523)
- ตราสัญลักษณ์กองอากาศยานของกติกาสัญญาวอร์ซอ
- ตราสัญลักษณ์ผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อมร่วมของกติกาสัญญาวอร์ซอในบัลแกเรีย (พ.ศ. 2525)
- ตราสัญลักษณ์ครบรอบ 30 ปี ของกติกาสัญญาวอร์ซอ (พ.ศ. 2528)
ประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของรัฐสมาชิกในปี พ.ศ. 2530
แม้ว่าสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต แต่ทั้งสองรัฐเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหประชาชาติแยกกันต่างหาก จึงถูกจำแนกเป็นรัฐสมาชิกแยกจากกันในรายนามนี้
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "Text of Warsaw Pact" (PDF). United Nations Treaty Collection. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2013. สืบค้นเมื่อ 22 August 2013.
- "Text of Warsaw Pact" (PDF). United Nations Treaty Collection. สืบค้นเมื่อ 22 August 2013.
- Yost, David S. (1998). NATO Transformed: The Alliance's New Roles in International Security. Washington, DC: U.S. Institute of Peace Press. p. 31. ISBN .
- "Formation of Nato and Warsaw Pact". . สืบค้นเมื่อ 22 December 2015.
- "The Warsaw Pact is formed". . สืบค้นเมื่อ 22 December 2015.
- "In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: NATO website. . nato.int. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-10. สืบค้นเมื่อ 24 December 2015.
- Broadhurst, Arlene Idol (1982). The Future of European Alliance Systems. Boulder, Colorado: Westview Press. p. 137. ISBN .
- Christopher Cook, Dictionary of Historical Terms (1983)
- The Columbia Enclopedia, fifth edition (1993) p. 2926
- The Warsaw Pact Reconsidered: International Relations in Eastern Europe, 1955-1969 Laurien Crump Routledge,page 21-22, 11.02.2015
- The Oder-Neisse Line: The United States, Poland, and Germany in the Cold War Debra J. Allen page 158 "Treaties approving Bonn's participation in NATO were ratified in May 1955...shortly thereafter Soviet Union...created the Warsaw Pact to counter the perceived threat of NATO"
- "Warsaw Pact: Wartime Status-Instruments of Soviet Control". Wilson Center. สืบค้นเมื่อ 5 October 2013.
- Amos Yoder (1993). Communism in Transition: The End of the Soviet Empires. Taylor & Francis. p. 58. ISBN .
- Bob Reinalda (11 September 2009). Routledge History of International Organizations: From 1815 to the Present Day. Routledge. p. 369. ISBN .
- [1] Cover Story: The Holy Alliance By Carl Bernstein Sunday, June 24, 2001
ดูเพิ่ม
- Faringdon, Hugh. Confrontation: the strategic geography of NATO and the Warsaw Pact. (London: Routledge & Kegan Paul, 1986.)
- (1998). "Victory in a Nuclear War? A Comparison of NATO and WTO War Aims and Strategies". . 7 (3): 311–327. doi:10.1017/S0960777300004264.
- Mackintosh, Malcolm. The evolution of the Warsaw Pact (International Institute for Strategic Studies, 1969)
- Kramer, Mark N. "Civil-military relations in the Warsaw Pact, The East European component," International Affairs, Vol. 61, No. 1, Winter 1984-85.
- Lewis, William Julian (1982). The Warsaw Pact: Arms, Doctrine, and Strategy. Cambridge, Mass.: Institute for Foreign Policy Analysis. ISBN .
- ; Byrne, Malcolm (2005). A Cardboard Castle ?: An Inside History of the Warsaw Pact, 1955–1991. Budapest: . ISBN .
ภาษาอื่น
- Umbach, Frank (2005). Das rote Bündnis: Entwicklung und Zerfall des Warschauer Paktes 1955 bis 1991 (ภาษาเยอรมัน). Berlin: Ch. Links Verlag. ISBN .
- Wahl, Alfred (2007). La seconda vita del nazismo nella Germania del dopoguerra (ภาษาอิตาลี). Torino: Lindau. ISBN . – Original Ed.: Wahl, Alfred (2006). La seconde histoire du nazisme dans l'Allemagne fédérale depuis 1945 (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Armand Colin. ISBN .
บทบันทึก
- Adenauer, Konrad (1966b). Konrad Adenauer Memoirs 1945-53. Henry Regnery Company.
- Molotov, Vyacheslav (1954b). Statements at Berlin Conference of Foreign Ministers of U.S.S.R., France, Great Britain and U.S.A., January 25-February 18, 1954. Foreign Languages Publishing House.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Parallel History Project on Cooperative Security
- Library of Congress / Federal Research Division / Country Studies / Area Handbook Series / Soviet Union / Appendix C: The Warsaw Pact (1989)
- บทความนี้รวมเอาจาก
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xngkhkarsnthisyyawxrsx michuxxyangepnthangkarwa snthisyyaaehngimtri khwamrwmmux aelakarchwyehluxsungknaelakn xngkvs Treaty of Friendship Co operation and Mutual Assistance rsesiy Dogovor o druzhbe sotrudnichestve i vzaimnoj pomoshi Dogovor o druzhbe sotrudnichestve i vzaimnoy pomoshchi ruckkndiinchux ktikasyyawxrsx xngkvs Warsaw Pact epndankhwammnkhngrwmknrahwangshphaphosewiytkbrthbriwarkhxngtnxikecdaehnginrahwangchwngsngkhrameyn ktikasyyawxrsxepnswnephimdankarthharkhxngkhnakrrmathikarephuxkarchwyehluxthangesrsthkicrahwangknhrux okhemkhxn Council for Mutual Economic Assistance CoMEcon sungepnxngkhkarthangesrsthkicradbphumiphakhsahrbrthkhxmmiwnistinyuorptxnklangaelatawnxxk thngniktikasyyawxrsxkxtngkhunephuxtxbotkarthieyxrmnitawntkekharwmkbxngkhkarsnthisyyaaextaelntikehnux enoth inpi ph s 2498 cakkarlngnamin ph s 2497 aetkyngthuxwakxtngkhunephraashphaphosewiyttxngkardarngxanackhwbkhumthangkarthharinyuorptxnklangaelayuorptawnxxkdwyechnknsnthisyyaaehngimtri khwamrwmmux aelakarchwyehluxsungknaelaknrsesiy Dogovor o druzhbe sotrudnichestve i vzaimnoj pomoshirthsmachikkhxngktikasyyawxrsxinpi ph s 2533 siekhiywekhm aelaxditrthsmachik siekhiywxxn khakhwyshphaphaehngsntiphaphaelasngkhmniym rsesiy Soyuz mira i socializma kxtng14 phvsphakhm ph s 2498yuti1 krkdakhm ph s 2534praephthphnthmitrthangkarthharsanknganihymxsok shphaphosewiytsmachikaexlebeniy thxntwpi ph s 2511 1 blaekeriy echoksolwaekiy eyxrmnitawnxxk thxntwpi ph s 2533 2 hngkari opaelnd thxntwpi ph s 2533 ormaeniy shphaphsatharnrthsngkhmniymosewiytphubychakarsungsudxiwan okhenf khnsudthay hwhnakhnaecaphnkngan khnsudthay 1 aexlebeniythxntwxxkcakktikasyyawxrsxineduxnknyayn ph s 2511 enuxngcakimehndwykbkarbukkhrxngechoksolwaekiykhxngfayktikasyyawxrsx 2 wnthi 24 knyayn ph s 2533 eyxrmntawnxxkthxntwxxkcakktikasyyawxrsxenuxngcakkarrwmpraeths aelaidekhaepnsmachikkhxngxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnuxaethn aemwaktikasyyawxrsxcakxtngkhunephuxkhanxanac hruxtxkr kbxngkhkarenoth aetimpraktkarephchiyhnaodytrngkhxngthngsxngfay hakaetkhwamkhdaeyngnitngxyubnphunthankhxngkartxsuthangaenwkhidaelaxudmkarn thngsnthisyyaenothaelaktikasyyawxrsxtangthaihekidkarkhyaykxngkalngthangthharaelaburnakarkhwamrwmmuxinhmupraethssmachikkhxngtn odyptibtikarthangthharkhrngihythisudthiekidkhunkkhuxkarbukkhrxngechoksolwaekiykhxngfayktikasyyawxrsxineduxnsinghakhm ph s 2511 rthsmachikekharwmthukaehngykewnaexlebeniyaelaormaeniy sungthaihaexlebeniythxntwxxkcakktikasyyadngklawphayinrayaewlahnungeduxnhlngcaknn txexkphaphkhxngxngkhkarsnthisyyawxrsxerimsnkhlxncakkaraephkhyaykhxngkarptiwti ph s 2532 thwthngphumiphakhyuorptawnxxk sungerimcakkhbwnkarexkphaph Solidarity movement inopaelnd aelakareluxktngthiprasbkhwamsaercineduxnmithunayn ph s 2532 thngeyxrmnitawnxxkaelaopaelndthxntwxxkcakktikasyyainpi ph s 2533 txmainwnthi 25 kumphaphnth ph s 2534 thiprachumkhxngrthmntriklaohmaelarthmntritangpraethscakrthsmachikthiehluxxyuhaaehngprakasihktikasyyadngklawyutibthbathlng tammadwykarlmslaykhxngshphaphosewiytineduxnthnwakhmpiediywkn sungaemwaxditsatharnrthosewiytswnmakcarwmklumkntngxngkhkarsnthisyyakhwammnkhngrwmaehngihmkhunmaimnanhlngcaknn aetrthsmachiknxkshphaphosewiytkhxngktikasyyawxrsxedimcanwnecdaehngklbipekharwmkbxngkhkarenothaethn eyxrmnitawnxxkthiphankarrwmpraethskbeyxrmnitawntk satharnrthechkaelasatharnrthsolwkinthanarthxthipitythiaeykxxkcakkn prawtishphaphosewiytklawocmtiwaxngkhkarenothmiwtthuprasngkhephuxrukran cungidtngxngkhkarsnthisyyawxrsxkhuninpi ph s 2498 aelamichuxetmaelachuxxyangepnthangkarwa snthisyyawxrsxaehngkhwamrwmmuxxyangmitrimtriaelakarchwyehluxsungknaelakn hrux xngkhkarsnthisyyawxrsx Warsaw Treaty on Friendship Cooperation and Mutual Aid Warsaw Treaty Organization xngkhkarsnthisyyawxrsxmikhxbththanxngediywkbkhxhakhxngxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnuxthiwakarocmtismachikrthidrthhnungcathuxwaepnkarocmtirthsmachikthnghmd aelakhxhakhxngktikasyyayngidrabuthungkarbychakarthharrwmkndwy ktikasyyawxrsxidthukykelikxyangepnthangkarthikrungprakinwnthi 1 krkdakhm ph s 2534rthsmachikrthsmachikthngaepdaehnginktikasyyawxrsxihstyabnwacarwmknpkpxngrthsmachikidktamthithukocmti sungrupaebbkhwamsmphnthinhmurthsmachikepnaebbkhwamsmphnthsxngthang imkawkaykickarphayinkhxngxikfay aelaekharphxanacxthipityaelaxisrphaphthangkaremuxngkhxngknaelakn xyangirktamrthbalkhxngrthsmachikthukaehnginktikasyyanilwnaetthukshphaphosewiytkhwbkhumthangxxmdwyknthngsin satharnrthprachachnaexlebeniy thxntwpi ph s 2511 satharnrthprachachnblaekeriy satharnrthsngkhmniymechoksolwk satharnrthprachathipityeyxrmni thxntwpi ph s 2533 satharnrthprachachnhngkari satharnrthprachachnopaelnd thxntwpi ph s 2533 satharnrthsngkhmniymormaeniy shphaphsatharnrthsngkhmniymosewiyt ineduxnkrkdakhm ph s 2506 satharnrthprachachnmxngokeliyyunkharxngkhxekharwmepnrthsmachikphayitmatra 9 khxngktikasyyani aetenuxngcakkhwamsmphnthcin osewiytthirawchanmakkhuneruxy sngphlihmxngokeliymisthanaephiyngrthphusngektkarnethann txmainpi ph s 2509 shphaphosewiytcungyinyxmihtngthankalnginmxngokeliyyukhhlngktikasyyawxrsxxditpraethssmachikktikasyyawxrsxswnihyidhnipekharwmkbxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnux odywnthi 12 minakhm ph s 2542 hngkari satharnrthechk aelaopaelndidekharwmxngkhkarsnthisyyapxngknaextaelntikehnux txmaineduxnminakhm kh s 2547 blkaeriy exsoteniy ltewiy lithweniy ormaeniy aelasolwaekiykidekharwmechnediywkntrasylksntrasylksnktikasyyawxrsx shaycbxawuth ph s 2513 trasylksnphuekharwmkarfuksxmrwmkhxngktikasyyawxrsx exsixthiix ph s 2515 trasylksnkhrbrxb 25 pi khxngktikasyyawxrsx ph s 2523 trasylksnkxngxakasyankhxngktikasyyawxrsx trasylksnphuekharwmkarfuksxmrwmkhxngktikasyyawxrsxinblaekeriy ph s 2525 trasylksnkhrbrxb 30 pi khxngktikasyyawxrsx ph s 2528 pramukhaehngrthaelahwhnarthbalkhxngrthsmachikinpi ph s 2530aemwasatharnrthsngkhmniymosewiytebiyolrsesiyaelasatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrntangkepnswnhnungkhxngshphaphosewiyt aetthngsxngrthekharwmepnsmachikkhxngshprachachatiaeykkntanghak cungthukcaaenkepnrthsmachikaeykcakkninraynamnikarprachumphuaethnecdpraethsinsnthisyyawxrsxwineduxnphvsphakhm 2530 caksayipkhwa kustaw husak txdxr sifkxf exrich hxnenkhekhxr mihaxil kxrbachxf nikxlaex chawuechsku wxyaechkh yaruaeslski aela yaonch kadarsatharnrthprachachnblaekeriy txdxr sifkxf elkhathikarihykhnakrrmathikarklangaehngphrrkhkhxmmiwnistblaekeriy satharnrthsngkhmniymechoksolwk kustaw husak elkhanukarkhnaerkkhxngphrrkhkhxmmiwnistechoksolwaekiy satharnrthprachathipityeyxrmni exrich hxnenkhekhxr elkhathikarphrrkhexkphaphphrrkhsngkhmniymaehngpraethseyxrmni satharnrthprachachnhngkari yaonch kadar elkhathikarphrrkhaerngngansngkhmniymhngkari satharnrthprachachnopaelnd wxyaechkh yaruaeslski prathanathibdiopaelnd satharnrthsngkhmniymormaeniy nikxlaex chawuechsku prathanathibdiormaeniy shphaphsatharnrthsngkhmniymosewiyt mihaxil kxrbachxf elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngshphaphosewiytduephimxngkhkarsnthisyyakhwammnkhngrwmkn xngkhkarkhwamrwmmuxesiyngihxangxing Text of Warsaw Pact PDF United Nations Treaty Collection PDF cakaehlngedimemux 2 October 2013 subkhnemux 22 August 2013 Text of Warsaw Pact PDF United Nations Treaty Collection subkhnemux 22 August 2013 Yost David S 1998 NATO Transformed The Alliance s New Roles in International Security Washington DC U S Institute of Peace Press p 31 ISBN 1 878379 81 X Formation of Nato and Warsaw Pact subkhnemux 22 December 2015 The Warsaw Pact is formed subkhnemux 22 December 2015 In reaction to West Germany s NATO accession the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955 Citation from NATO website nato int khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 10 subkhnemux 24 December 2015 Broadhurst Arlene Idol 1982 The Future of European Alliance Systems Boulder Colorado Westview Press p 137 ISBN 0 86531 413 6 Christopher Cook Dictionary of Historical Terms 1983 The Columbia Enclopedia fifth edition 1993 p 2926 The Warsaw Pact Reconsidered International Relations in Eastern Europe 1955 1969 Laurien Crump Routledge page 21 22 11 02 2015 The Oder Neisse Line The United States Poland and Germany in the Cold War Debra J Allen page 158 Treaties approving Bonn s participation in NATO were ratified in May 1955 shortly thereafter Soviet Union created the Warsaw Pact to counter the perceived threat of NATO Warsaw Pact Wartime Status Instruments of Soviet Control Wilson Center subkhnemux 5 October 2013 Amos Yoder 1993 Communism in Transition The End of the Soviet Empires Taylor amp Francis p 58 ISBN 978 0 8448 1738 5 Bob Reinalda 11 September 2009 Routledge History of International Organizations From 1815 to the Present Day Routledge p 369 ISBN 978 1 134 02405 6 1 Cover Story The Holy Alliance By Carl Bernstein Sunday June 24 2001duephimFaringdon Hugh Confrontation the strategic geography of NATO and the Warsaw Pact London Routledge amp Kegan Paul 1986 1998 Victory in a Nuclear War A Comparison of NATO and WTO War Aims and Strategies 7 3 311 327 doi 10 1017 S0960777300004264 Mackintosh Malcolm The evolution of the Warsaw Pact International Institute for Strategic Studies 1969 Kramer Mark N Civil military relations in the Warsaw Pact The East European component International Affairs Vol 61 No 1 Winter 1984 85 Lewis William Julian 1982 The Warsaw Pact Arms Doctrine and Strategy Cambridge Mass Institute for Foreign Policy Analysis ISBN 978 0 07 031746 8 Byrne Malcolm 2005 A Cardboard Castle An Inside History of the Warsaw Pact 1955 1991 Budapest ISBN 978 963 7326 07 3 phasaxun Umbach Frank 2005 Das rote Bundnis Entwicklung und Zerfall des Warschauer Paktes 1955 bis 1991 phasaeyxrmn Berlin Ch Links Verlag ISBN 978 3 86153 362 7 Wahl Alfred 2007 La seconda vita del nazismo nella Germania del dopoguerra phasaxitali Torino Lindau ISBN 978 8 87180 662 4 Original Ed Wahl Alfred 2006 La seconde histoire du nazisme dans l Allemagne federale depuis 1945 phasafrngess Paris Armand Colin ISBN 2 200 26844 0 bthbnthuk Adenauer Konrad 1966b Konrad Adenauer Memoirs 1945 53 Henry Regnery Company Molotov Vyacheslav 1954b Statements at Berlin Conference of Foreign Ministers of U S S R France Great Britain and U S A January 25 February 18 1954 Foreign Languages Publishing House aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ktikasyyawxrsx Parallel History Project on Cooperative Security Library of Congress Federal Research Division Country Studies Area Handbook Series Soviet Union Appendix C The Warsaw Pact 1989 bthkhwamnirwmexacak