วิริยะ (บาลี: विरिय, วิริย; สันสกฤต: वीर्य, วีรฺย) แปลว่า ความเพียร ความพยายาม ความกล้าที่จะลงมือทำ ภาวะของผู้กล้า เป็นแนวทางให้ดำเนินไปสู่ความสำเร็จตามประสงค์ หมายถึง การลงมือปฏิบัติลงมือทำงานที่ตนชอบที่ตนรัก ทำด้วยความพากเพียรพยายาม ทำด้วยความสนุก กล้าหาญ กล้าเผชิญกับความทุกข์ยาก ปัญหาและอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น หากมีอุปสรรคข้อขัดข้องใดๆ ก็เพียรกำจัดปัดเป่าไปให้หมดสิ้นไป โดยไม่ย่อท้อ ไม่สิ้นหวัง เดินหน้าเรื่อยไปจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายคือ ความสำเร็จ
"วิริยะ" เป็นเหตุให้กล้าลงมือทำงานและกล้าเผชิญปัญหาอุปสรรคต่างๆ ขณะทำงาน ตรงกันข้าม หากขาดความเพียรพยายามเสียแล้วก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า
- "คนจะล่วงทุกข์ได้ก็เพราะความเพียร"
วิริยารัมภะ หมายถึง การปรารภความเพียร คือ ลงมือทำความเพียรอย่างเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว
วิริยารัมภกถา เป็น ถ้อยคำที่ชักนำให้ปรารภความเพียร (ข้อ5 ในกถาวัตถุ10)
วิริยะในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
วิริยะรวมอยู่ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลายหมวด เช่น
- อิทธิบาท 4 ( วิริยะ ) อันเป็น คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จ แห่งผลที่มุ่งหมาย
- พละ 5 (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา) คือ ธรรมอันเป็นกำลัง
- อินทรีย์ 5 (ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา) คือ ธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตน
- โพชฌงค์ 7 (สติ ธัมมวิจยะ วิริยะ ปีติ สมาธิ อุเบกขา) อันเป็น ธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้
- บารมี 10 (ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา) อันเป็น ปฏิปทาอันยิ่งยวด คือ ความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูงสุด
วิริยเจตสิก
ในทางอภิธรรม มีการกล่าวถึงวิริยะ ในลักษณะของเจตสิก (คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด ธรรมชาติที่ประกอบกับจิตเป็นนิตย์)
วิริยเจตสิก เป็นธรรมชาติที่อดทนต่อสู้กับความยากลำบาก ที่เกี่ยวกับการงานต่างๆ ทั้งฝ่ายดีและไม่ดี
- มีความอดทนต่อสู้กับความลำบาก เป็นลักษณะ
- มีความอุดหนุนธรรมที่เกิดพร้อมกับตน ไม่ให้ถอยหลัง เป็นกิจ
- มีการไม่ท้อถอย เป็นผลปรากฏ
- มีความสลด คือ8 เป็นเหตุใกล้ หรือมี8 เป็นเหตุใกล้
จิตและเจตสิกที่เกิดพร้อมกับวิริยเจตสิกนี้ ย่อมมีอุตสาหะ พากเพียร ไม่ท้อถอย เพราะอำนาจของวิริยะนั่นเอง ที่ช่วยอุดหนุนไว้ ส่วนการที่วิริยะจะเกิดขึ้นได้นั้น ย่อมเกิดขึ้นได้ เพราะอาศัยเหตุ ที่มี
- สังเวควัตถุ8 (ชาติทุกข์ ,ชราทุกข์ ,พยาธิทุกข์ (ทุกข์จากความป่วยไข้) ,มรณทุกข์ ,นิรยทุกข์ ,เปตติทุกข์ ,อสุรกายทุกข์ ,ดิรัจฉานทุกข์ (ทุกข์จากการเกิดในสภาพที่ไม่ดีต่างๆ))
- หรือ วิริยารัมภวัตถุ8 (วัตถุอันเป็นอารมณ์ ให้เกิดการปรารภความเพียร เช่น การงาน ,การเดินทาง ,สุขภาพ ,อาหาร)
อ้างอิง
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- "พระอภิธัมมัตถสังคหะ".และ"อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา".
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wiriya bali व र य wiriy snskvt व र य wir y aeplwa khwamephiyr khwamphyayam khwamklathicalngmuxtha phawakhxngphukla epnaenwthangihdaeninipsukhwamsaerctamprasngkh hmaythung karlngmuxptibtilngmuxthanganthitnchxbthitnrk thadwykhwamphakephiyrphyayam thadwykhwamsnuk klahay klaephchiykbkhwamthukkhyak pyhaaelaxupsrrkhthicaekidkhun hakmixupsrrkhkhxkhdkhxngid kephiyrkacdpdepaipihhmdsinip odyimyxthx imsinhwng edinhnaeruxyipcnkwacabrrluepahmaykhux khwamsaerc wiriya epnehtuihklalngmuxthanganaelaklaephchiypyhaxupsrrkhtang khnathangan trngknkham hakkhadkhwamephiyrphyayamesiyaelwkimsamarthbrrluepahmayid dngthiphraphuththecatrsiwwa khncalwngthukkhidkephraakhwamephiyr dd wiriyarmpha hmaythung karprarphkhwamephiyr khux lngmuxthakhwamephiyrxyangekhmaekhngeddediyw wiriyarmphktha epn thxykhathichknaihprarphkhwamephiyr khx5 inkthawtthu10 wiriyainhlkthrrmthangphraphuththsasnawiriyarwmxyuinhlkthrrmthangphraphuththsasnahlayhmwd echn xiththibath 4 wiriya xnepn khunthrrmthinaipsukhwamsaerc aehngphlthimunghmay phla 5 srththa wiriya sti smathi pyya khux thrrmxnepnkalng xinthriy 5 srththa wiriya sti smathi pyya khux thrrmthiepnihyinkickhxngtn ophchchngkh 7 sti thmmwicya wiriya piti smathi xuebkkha xnepn thrrmthiepnxngkhaehngkartrsru barmi 10 than sil enkkhmma pyya wiriya khnti scca xthisthan emtta xuebkkha xnepn ptipthaxnyingywd khux khwamdithibaephyxyangphiess ephuxbrrlusungcudhmayxnsungsudwiriyectsikinthangxphithrrm mikarklawthungwiriya inlksnakhxngectsik khux thrrmchatithixasycitekid thrrmchatithiprakxbkbcitepnnity wiriyectsik epnthrrmchatithixdthntxsukbkhwamyaklabak thiekiywkbkarngantang thngfaydiaelaimdi mikhwamxdthntxsukbkhwamlabak epnlksna mikhwamxudhnunthrrmthiekidphrxmkbtn imihthxyhlng epnkic mikarimthxthxy epnphlprakt mikhwamsld khux8 epnehtuikl hruxmi8 epnehtuikl citaelaectsikthiekidphrxmkbwiriyectsikni yxmmixutsaha phakephiyr imthxthxy ephraaxanackhxngwiriyannexng thichwyxudhnuniw swnkarthiwiriyacaekidkhunidnn yxmekidkhunid ephraaxasyehtu thimi sngewkhwtthu8 chatithukkh chrathukkh phyathithukkh thukkhcakkhwampwyikh mrnthukkh nirythukkh epttithukkh xsurkaythukkh dircchanthukkh thukkhcakkarekidinsphaphthiimditang hrux wiriyarmphwtthu8 wtthuxnepnxarmn ihekidkarprarphkhwamephiyr echn karngan karedinthang sukhphaph xahar xangxingphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm phraxphithmmtthsngkhha aela xphithmmtthwiphawinidika