กระดูกสันหลัง (อังกฤษ: vertebral column) ในกายวิภาคของมนุษย์ คือกระดูกแกนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ตั้งแต่ส่วนต้นคอ ลงมาจนถึงส่วนก้น ภายในมีไขสันหลัง ซึ่งอยู่ในช่องไขสันหลังอีกทีหนึ่ง
กายวิภาคศาสตร์ของกระดูกสันหลัง
กระดูกสันหลังนอกจากเป็นโครงสร้างแข็งแรงที่ปกป้องแกนของไขสันหลังแล้ว ยังทำหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อของหลัง และยังเชื่อมต่อกับกะโหลกศีรษะ (skull) กระดูกสะบัก (scapula) กระดูกเชิงกราน (pelvic bones) และกระดูกซี่โครง (ribs) อีกด้วย
กระดูกสันหลังในคนปกติจะมี 33 ชิ้น ซึ่งจะจัดจำแนกตามตำแหน่งและรูปร่างลักษณะ ได้แก่
- (Cervical vertebrae) ซึ่งมีจำนวน 7 ชิ้น อยู่ในช่วงลำคอ กระดูกสันหลังในส่วนนี้ทำหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของลำคอและศีรษะ
- (Thoracic vertebrae) มีจำนวน 12 ชิ้น อยู่ในส่วนอก และมีลักษณะพิเศษคือจะมีจุดเชื่อมต่อสำหรับกระดูกซี่โครง ซึ่งเป็นโครงร่างสำคัญของช่องอก
- (Lumber vertebrae) มี 5 ชิ้น อยู่ในช่วงเอว และมีขนาดใหญ่เพื่อรองรับน้ำหนักของร่างกายท่อนบน และมีส่วนเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อที่เป็นผนังทางด้านหลังของช่องท้องอีกด้วย
- กระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ (Sacral vertebrae) ซึ่งเดิมมี 5 ชิ้น แต่จะเชื่อมรวมกันเป็นชิ้นเดียว และจะต่อกับกระดูกเชิงกราน (pelvic bone) โดยจะมีช่องเปิด (sacral foramina) เพื่อเป็นทางผ่านของเส้นประสาทที่ไปยังบริเวณเชิงกรานและขา
- (Coccygeal vertebrae) ซึ่งเดิมมี 4 ชิ้น ซึ่งจะเชื่อมกันเป็นกระดูกชิ้นเดียวเป็นกระดูกรูปสามเหลี่ยมที่ปลายด้านล่างสุด
องค์ประกอบของกระดูกสันหลังหนึ่งชิ้น
กระดูกสันหลังแต่ละชิ้น จะประกอบด้วยโครงสร้าง ช่องเปิดและแขนงของกระดูกที่ยื่นออกมาจากแนวกลาง ซึ่งได้แก่
- Vertebral body เป็นแกนกลางของกระดูกสันหลังและเป็นส่วนรองรับน้ำหนัก ส่วนนี้จะติดต่อกับกระดูกสันหลังถัดไปโดย (intervertebral discs) และเอ็นต่างๆ ขนาดของ vertebral body ของกระดูกสันหลังส่วนล่างจะมากกว่าส่วนบน เนื่องจากต้องรองรับน้ำหนักมากกว่า
- Vertebral arch เป็นส่วนที่ยื่นออกไปจากทางด้านหลังของ body และจะประกอบกันเป็นส่วนทางด้านข้างและด้านหลังของ ช่องกระดูกสันหลัง (vertebral foramen) ซึ่งภายในช่องนี้จะมีไขสันหลัง (spinal cord) วางตัวอยู่ แต่ละ vertebral arch จะประกอบด้วยสองส่วน คือ เพดิเซล (pedicels) ซึ่งต่อกับ vertebral body และ ลามินี (laminae) ซึ่งเป็นแผ่นของกระดูกที่ยื่นต่อจากเพดิเซล แล้วมาบรรจบกันที่แนวกลางของกระดูกสันหลัง
- Spinous process เป็นส่วนที่ยื่นออกมาทางด้านหลังและชี้ลงทางด้านล่างของกระดูกสันหลัง และจะเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆมากมาย
- Transverse process เป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากรอยต่อระหว่างเพดิเซลและลามินี และยื่นออกมาทางด้านข้างเยื้องไปทางด้านหลังเล็กน้อย และเป็นจุดต่อกับกระดูกซี่โครง ในกระดูกสันหลังส่วนอก
- Superior and inferior articular processes ยื่นออกมาจากรอยต่อระหว่างเพดิเซลและลามินีของกระดูกสันหลังแต่ละชิ้น ซึ่งจะเป็นจุดที่ต่อกันระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละชิ้นนอกจากที่บริเวณ
กระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical vertebrae)
ลักษณะทั่วไปของกระดูกสันหลังส่วนคอคือจะค่อนข้างเล็กและเตี้ย รูปร่างของ body เมื่อมองจากด้านบนจะออกเป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งจะเว้าทางด้านบน แต่นูนออกทางด้านล่าง vertebral foramen จะเป็นรูปสามเหลี่ยม มี spinous process ที่สั้นและแยกเป็นสองแฉก (bifid) ที่สำคัญคือมีช่องที่ transverse process ที่เรียกว่า ฟอราเมน ทรานส์เวอร์สซาเรียม (foramen transversarium) ซึ่งภายในเป็นที่อยู่ของหลอดเลือดแดงเวอร์ทีบรัล (Vertebral artery) ซึ่งนำเลือดขึ้นไปเลี้ยงบริเวณก้านสมองและไขสันหลัง กระดูกสันหลังส่วนคอที่มีลักษณะเฉพาะคือชิ้นแรกและชิ้นที่สอง ซึ่งเรียกว่า แอตลาส (atlas) และแอกซิส (axis) ตามลำดับ
- กระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นแรก (First cervical vertebra) หรือแอตลาส (Atlas) เป็นกระดูกสันหลังที่ต่อกับกะโหลกศีรษะโดยตรง ลักษณะที่สำคัญคือจะไม่มีส่วนของ body แต่ตรงกลางจะเป็นช่องเปิดใหญ่ที่ล้อมรอบด้วยแนวกระดูกโค้งทั้งทางด้านข้าง ด้านหน้าและด้านหลังที่บริเวณผนังด้านข้างของช่องนี้ทางด้านบนจะเป็นจุดต่อกับปุ่มท้ายทอย (occipital condyle) ของกะโหลกศีรษะโดยข้อต่อท้ายทอย (atlanto-occipital joint) ขณที่ส่วนด้านล่างจะต่อกับ superior articular process ของกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่สอง ที่แนวกระดูกโค้งทางด้านหน้าจะเป็นพื้นผิวข้อต่อสำหรับเดือยที่เรียกว่า เดนส์ (dens) ซึ่งยื่นขึ้นมาจาก body ของกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่สอง และจะถูกตรึงไว้กับที่ด้วยเอ็นแนวขวาง (transverse ligaments of atlas) ซึ่งอยู่ทางด้านหลัง โครงสร้างนี้ทำหน้าที่คล้ายเดือยที่ทำให้แอตลาสสามารถหมุนได้ในระดับหนึ่ง ส่วน transverse processes ของกระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นแรกนี้จะยื่นออกไปทางด้านข้างมากเป็นพิเศษ ซึ่งจุดนี้จะเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆที่ช่วยในการเคลื่อนไหวของข้อต่อระหว่างกระดูกแอตลาสกับแอกซิส (Atlanto-axial joint)
- กระดูกสันหลังส่วนคอชิ้นที่สอง (Second cervical vertebra) หรือแอกซิส (Axis) จะมีลักษณะที่สำคัญคือ dens ที่ยื่นขึ้นไปด้านบน นอกจากนี้ที่บริเวณด้านข้างเยื้องไปทางด้านบนเล็กน้อยของ dens จะมีรอยบุ๋มเล็กๆทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นจุดเกาะของเอ็น alar ligaments ซึ่งเชื่อมระหว่าง dens กับ occipital condyle และป้องกันการหมุนที่มากเกินไประหว่างศีรษะและกระดูกสันหลังส่วนคอ
กระดูกสันหลังส่วนอก (Thoracic vertebrae)
กระดูกสันหลังส่วนอกทั้ง 12 ชิ้นจะมีลักษณะเด่นคือรอยต่อกับกระดูกซี่โครง (costal facets) ที่แต่ละข้างของ vertebral body เพื่อติดต่อกับปลายส่วนหัวของกระดูกซี่โครง นอกจากนี้บน transverse process ยังมีรอยต่อทางด้านข้าง (transverse costal facets) เพื่อต่อกับส่วนปุ่มของกระดูกซี่โครง (tubercle of rib)
กระดูกสันหลังส่วนบั้นเอว (Lumbar vertebrae)
กระดูกสันหลังส่วนเอวทั้ง 5 ชิ้นจะมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่น และมี transverse processes ที่บางและยาว ยกเว้นกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอวชิ้นที่5 ซึ่งจะมีขนาดใหญ่เพื่อเป็นจุดเกาะของเอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกสันหลังส่วนเอวกับกระดูกเชิงกราน (ileolumbar ligaments) ซึ่งเชื่อมระหว่างกระดูกสันหลังชิ้นนี้กับกระดูกเชิงกราน
กระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ (Sacral vertebrae) และส่วนก้นกบ (Coccyx)
กระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บเป็นกระดูกห้าชิ้นที่เชื่อมรวมกันเป็นชิ้นเดียว และมีปลายชี้ไปทางด้านล่าง ลักษณะของกระดูกชิ้นนี้จะเว้าทางด้านหน้าและนูนออกไปทางด้านหลัง ทางด้านบนจะมีรอยต่อขนาดใหญ่กับกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอวชิ้นที่ 5 ส่วนด้านล่างจะต่อกับกระดูกสันหลังส่วนก้นกบ ที่ด้านข้างรอยต่อรูปตัว L ขนาดใหญ่เพื่อต่อกับกระดูกเชิงกราน พื้นผิวทั้งด้านหน้าและด้านหลังจะมีช่องเปิดอยู่ด้านละ 4 คู่ ซึ่งคือ posterior and anterior sacral foramina ซึ่งเป็นทางออกของแขนงเส้นประสาทจากไขสันหลังที่ออกไปสู่บริเวณเชิงกรานและขา สำหรับกระดูกสันหลังส่วนก้นกบ (Coccyx) จะอยู่ด้านล่างสุดของกระดูกสันหลัง เป็นกระดูกเล็กๆรูปสามเหลี่ยม และไม่มีทั้ง vertebral arch และ vertebral canal
ช่องเปิดระหว่างกระดูกสันหลัง (Intervertebral foramina)
ช่องเปิดระหว่างกระดูกสันหลัง (Intervertebral foramina) นี้เป็นช่องที่อยู่ทางด้านข้างระหว่างรอยต่อของกระดูกสันหลังสองชิ้นที่อยู่ติดกัน และเป็นทางผ่านของเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerves และหลอดเลือดต่างๆที่ผ่านเข้าออกช่องภายในกระดูกสันหลังและบริเวณไขสันหลัง และเนื่องจากขอบเขตของช่องส่วนใหญ่เป็นกระดูกและเอ็น ดังนั้นความผิดปกติของโครงสร้างโดยรอบช่องเปิดนี้ รวมถึงกล้ามเนื้อและข้อต่อ จะส่งผลต่อหลอดเลือดเส้นประสาทที่ผ่านช่องนี้ด้วย
โรคและความผิดปกติของกระดูกสันหลัง
เนื่องจากกระดูกสันหลังเป็นโครงสร้างที่เป็นแกนกลางของลำตัว และยังเกี่ยวข้องกับและระบบประสาท ความผิดปกติหรือโรคที่เกิดขึ้นกับกระดูกสันหลังจึงมีความสำคัญในทางการแพทย์อย่างมาก ความผิดปกตินี้อาจเป็นมาแต่กำเนิด หรืออาจเกิดจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูก หรืออาจเกิดจากอุบัติเหตุ ตัวอย่างของความผิดปกติของกระดูกสันหลังได้แก่
- สไปนา ไบฟิดา (Spina bifida) เป็นความผิดปกติที่มักเป็นมาแต่กำเนิด ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวโค้งของ vertebral arches ทั้งสองด้านไม่เชื่อมต่อกันระหว่างการเจริญในครรภ์ ซึ่งมักจะเป็นที่กระดูกสันหลังส่วนล่าง ผลคือทำให้ช่องภายในกระดูกสันหลังเปิดออกมา Spina bifida ที่พบโดยทั่วไปมีสองแบบ แบบที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบที่ไม่ร้ายแรง หรือ Spina bifida occulta โดยจะมีความผิดปกติที่ vertebral arches ของกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอวชิ้นที่ 5 ถึงส่วนกระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ ทั่วไปมักจะไม่มีอาการหรือความผิดปกติที่เด่นชัด หรืออาจมีแค่กระจุกของเส้นผมที่อยู่เหนือ spinous process ที่ผิดปกติเท่านั้น ส่วน Spina bifida ชนิดที่รุนแรงกว่าคือแบบที่มีความผิดปกติของแนวกระดูกสันหลังทางด้านหลังที่รอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอวกับส่วนกระเบนเหน็บ ซึ่งจะทำให้มีถุงของ meninges ยื่นออกมาด้านนอก โดยในถุงนี้อาจมี (cerebrospinal fluid) ซึ่งจะเรียกว่า (meningocele) หรืออาจมีบางส่วนของไขสันหลังหลุดออกมาด้วย ซึ่งจะเรียกว่า (myelomeningocele) ซึ่งในกรณีนี้มักจะมีอาการความผิดปกติของระบบประสาทร่วมด้วย เช่นความผิดปกติในการเดิน หรือการควบคุมการปัสสาวะ
- กระดูกสันหลังคด (Scoliosis) เป็นภาวะที่กระดูกสันหลังมีความโค้งในแนวซ้ายขวาที่ผิดปกติ นอกจากนี้อาจมีการบิดหรือหมุนออกไปจากแนวเดิมของกระดูกสันหลังอีกด้วย ภาวะกระดูกสันหลังคดที่พบได้บ่อยที่สุดคือแบบ idiopathic scoliosis ซึ่งไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด โดยจะไม่พบในช่วงแรกเกิด แต่จะเกิดขึ้นในวัยเด็กหรือวัยรุ่น นอกจากนี้ส่วนโครงสร้างของกระดูกสันหลัง เช่นส่วนของ bodies, เพดิเซล หรือลามินี ก็ไม่พบความผิดปกติใดๆ ในกรณีที่พบกระดูกสันหลังคดตั้งแต่กำเนิด จะเรียกว่า congenital scoliosis ซึ่งจะมีสาเหตุมาจากความผิดปกติระหว่างการเจริญ และยังพบว่ากลุ่มนี้จะมีความผิดปกติของผนังช่องอก หัวใจ รวมทั้งระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์ ดังนั้นผู้ป่วยในกลุ่มนี้จึงต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ภาวะกระดูกสันหลังคดยังสามารถพบเป็นภาวะแทรกซ้อนจาก เช่นโรคโปลิโอ (poliomyelitis) อีกด้วย ซึ่งจะเรียกกลุ่มนี้ว่า neuropathic scoliosis ภาวะกระดูกสันหลังคดอีกประเภทที่พบได้ไม่มาก แต่มีความสำคัญคือกระดูกสันหลังคดเนื่องจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่เกิดจากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (muscular dystrophy) เนื่องจากกล้ามเนื้อบริเวณหลังไม่สามารถยึดกระดูกสันหลังไว้ได้ กระดูกสันหลังจึงคด โรคอื่นๆที่สามารถทำให้เกิด scoliosis ได้เช่นกัน คือเนื้องอกของกระดูก เนื้องอกของไขสันหลัง และอาการเคลื่อน
- (Kyphosis) เป็นความผิดปกติของความโค้งในกระดูกสันหลังส่วนอก ทำให้เกิดภาวะหลังค่อม อาการนี้มักเป็นอาการแทรกซ้อนของโรคอื่น โดยเฉพาะวัณโรค (tuberculosis) ที่มีการแพร่กระจายของเชื้อเข้าไปในกระดูกสันหลัง ทำให้กระดูกสันหลังที่ติดเชื้อเกิดการงอลงมา ซึ่งเรียกภาวะนี้ว่า gibbus deformity ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้มากในช่วงที่ก่อนจะมีการใช้
- การแตกหักของกระดูกสันหลัง (Vertebral fractures) การแตกหักของกระดูกสันหลังสามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วน แต่ความร้ายแรงของอาการที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดจากการแตกหักเท่านั้น แต่เกิดจากความเสียหายที่เกิดกับโครงสร้างภายในช่องภายในกระดูกสันหลังและเนื้อเยื่อโดยรอบ ในกระดูกสันหลังส่วนคอ แม้ว่าจะมีเอ็นต่างๆจำนวนมากเพื่อเพิ่มเสถียรภาพของโครงสร้าง แต่หากเกิดการบาดเจ็บรุนแรงจะสามารถทำลายความเสถียรของกระดูกสันหลังส่วนนี้ได้ โอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บของไขสันหลังจะมีได้สูง และอาการที่เกิดขึ้นจากการบาดเจ็บที่ส่วนนี้ ได้แก่อัมพาตทั้งแขนและขา (quadriplegia) รวมทั้งอาจเกิดความล้มเหลวของระบบหายใจ เนื่องจากความเสียหายของไขสันหลังส่วนคอและเส้นประสาทไขสันหลังส่วนคอคู่ที่ 3 ถึง 5 ซึ่งมีแขนงประสาทที่ไปควบคุมกะบังลม (phrenic nerve) แม้แต่การบาดเจ็บเพียงเล็กน้อยของกระดูกสันหลังส่วนคอนี้ก็อาจส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของแขนและขา รวมทั้งการหายใจก็จะติดขัดได้ง่าย ส่วนการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังส่วนบั้นเอว นั้นพบได้ไม่มากนัก แต่หากเกิดขึ้น มักจะเกิดจากแรงจำนวนมาก เช่นการกระแทกอย่างรุนแรงในกรณีของอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บระหว่างการเล่นกีฬา ซึ่งอาจต้องตรวจช่องท้องและกระดูกอื่นๆ เพื่อตรวจหาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะโดยรอบ
- กระดูกทับเส้น (Herniated disc) มักจะมีสาเหตุที่เกิดจากการที่ส่วนหนึ่งของไขสันหลังไปสัมผัสกับส่วนหนึ่งของเส้นประสาท ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดเอว ต้นขาและอาจจะมีการลามไปจนกระทั่งถึงส่วนของเท้าและบริเวณนิ้วเท้า ในรายที่มีอาการหนักจะมีอาการอ่อนแรงของเท้าเข้ามาประกอบด้วยเพราะว่ากล้ามเนื้อที่ได้รับการดูแลจากเส้นประสาทนั้นถูกกดทับอยู่ เป็นโรคที่พบได้บ่อยในวัยทำงาน สาเหตุโดยส่วนใหญ่ของโรคกระดูกทับเส้นนั้นสามารถที่จะสรุปออกมาเป็นประเด็นได้ดังนี้ การสึกกร่อนตามอายุการใช้งาน เมื่อมีอายุที่เพิ่มมากขึ้นร่างกายจะเกิดการสึกไป, พฤติกรรมการยกของหนักเป็นประจำ, การนั่งผิดท่าหรือการนั่งทำงานเป็นเวลานานๆ และพฤติกรรมเสี่ยงอื่นๆ ตัวอย่างเช่น การสูบบุหรี่.
อ้างอิง
- ปวดหลัง ปวดเอว เป็นโรคกระดูกทับเส้นหรือเปล่า 2016-03-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, คำอธิบายเริ่องโรคกระดูกทับเส้นและวิธีการรักษา.
- Drake, RL., Vogl, W. and Mitchell, AWM. Gray's anatomy for students. Philadelphia : Elsevier/Churchill Livingstone, 2005.
- Agur, AMR and Dalley, AF. Grant’s Atlas of Anatomy. 11th edition, Lippincott Williams Wilkins, 2005.
- Netter, FH. Atlas of Human Anatomy. 3rd edition. Icon Learning Systems, 2003.
- Moore, KL and Agur, AMR. Essential Clinical Anatomy. 3rd edition, Lippincott Williams & Wilkins, 2007.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraduksnhlng xngkvs vertebral column inkaywiphakhkhxngmnusy khuxkradukaeknkhxngstwmikraduksnhlng tngaetswntnkhx lngmacnthungswnkn phayinmiikhsnhlng sungxyuinchxngikhsnhlngxikthihnungkraduksnhlng mxngcakdankhangswntangkhxngaenwkraduksnhlngswntangkraduksnhlnghnungchin mxngcakthangdankhangkraduksnhlngswnkhx chinaerk mxngcakthangdanbnaenwkraduksnhlngswnkhxtxntn aesdngkradukaelaexnkhxngkhxtxbriewnthaythxykraduksnhlngswnxk mxngcakthangdanbnkaywiphakhsastrkhxngkraduksnhlngkraduksnhlngnxkcakepnokhrngsrangaekhngaerngthipkpxngaeknkhxngikhsnhlngaelw yngthahnathiepncudekaakhxngklamenuxkhxnghlng aelayngechuxmtxkbkaohlksirsa skull kraduksabk scapula kradukechingkran pelvic bones aelakraduksiokhrng ribs xikdwy kraduksnhlnginkhnpkticami 33 chin sungcacdcaaenktamtaaehnngaelarupranglksna idaek Cervical vertebrae sungmicanwn 7 chin xyuinchwnglakhx kraduksnhlnginswnnithahnathiepncudekaakhxngklamenuxaelaexnthiekiywkhxngkbkarekhluxnihwkhxnglakhxaelasirsa Thoracic vertebrae micanwn 12 chin xyuinswnxk aelamilksnaphiesskhuxcamicudechuxmtxsahrbkraduksiokhrng sungepnokhrngrangsakhykhxngchxngxk Lumber vertebrae mi 5 chin xyuinchwngexw aelamikhnadihyephuxrxngrbnahnkkhxngrangkaythxnbn aelamiswnepncudekaakhxngklamenuxthiepnphnngthangdanhlngkhxngchxngthxngxikdwy kraduksnhlngswnkraebnehnb Sacral vertebrae sungedimmi 5 chin aetcaechuxmrwmknepnchinediyw aelacatxkbkradukechingkran pelvic bone odycamichxngepid sacral foramina ephuxepnthangphankhxngesnprasaththiipyngbriewnechingkranaelakha Coccygeal vertebrae sungedimmi 4 chin sungcaechuxmknepnkradukchinediywepnkradukrupsamehliymthiplaydanlangsudxngkhprakxbkhxngkraduksnhlnghnungchin kraduksnhlngaetlachin caprakxbdwyokhrngsrang chxngepidaelaaekhnngkhxngkradukthiyunxxkmacakaenwklang sungidaek Vertebral body epnaeknklangkhxngkraduksnhlngaelaepnswnrxngrbnahnk swnnicatidtxkbkraduksnhlngthdipody intervertebral discs aelaexntang khnadkhxng vertebral body khxngkraduksnhlngswnlangcamakkwaswnbn enuxngcaktxngrxngrbnahnkmakkwa Vertebral arch epnswnthiyunxxkipcakthangdanhlngkhxng body aelacaprakxbknepnswnthangdankhangaeladanhlngkhxng chxngkraduksnhlng vertebral foramen sungphayinchxngnicamiikhsnhlng spinal cord wangtwxyu aetla vertebral arch caprakxbdwysxngswn khux ephdiesl pedicels sungtxkb vertebral body aela lamini laminae sungepnaephnkhxngkradukthiyuntxcakephdiesl aelwmabrrcbknthiaenwklangkhxngkraduksnhlng Spinous process epnswnthiyunxxkmathangdanhlngaelachilngthangdanlangkhxngkraduksnhlng aelacaepncudekaakhxngklamenuxaelaexntangmakmay Transverse process epnswnthiyunxxkmacakrxytxrahwangephdieslaelalamini aelayunxxkmathangdankhangeyuxngipthangdanhlngelknxy aelaepncudtxkbkraduksiokhrng inkraduksnhlngswnxk Superior and inferior articular processes yunxxkmacakrxytxrahwangephdieslaelalaminikhxngkraduksnhlngaetlachin sungcaepncudthitxknrahwangkraduksnhlngaetlachinnxkcakthibriewnkraduksnhlngswnkhx Cervical vertebrae lksnathwipkhxngkraduksnhlngswnkhxkhuxcakhxnkhangelkaelaetiy ruprangkhxng body emuxmxngcakdanbncaxxkepnrupsiehliym sungcaewathangdanbn aetnunxxkthangdanlang vertebral foramen caepnrupsamehliym mi spinous process thisnaelaaeykepnsxngaechk bifid thisakhykhuxmichxngthi transverse process thieriykwa fxraemn thransewxrssaeriym foramen transversarium sungphayinepnthixyukhxnghlxdeluxdaedngewxrthibrl Vertebral artery sungnaeluxdkhunipeliyngbriewnkansmxngaelaikhsnhlng kraduksnhlngswnkhxthimilksnaechphaakhuxchinaerkaelachinthisxng sungeriykwa aextlas atlas aelaaexksis axis tamladb kraduksnhlngswnkhxchinaerk First cervical vertebra hruxaextlas Atlas epnkraduksnhlngthitxkbkaohlksirsaodytrng lksnathisakhykhuxcaimmiswnkhxng body aettrngklangcaepnchxngepidihythilxmrxbdwyaenwkradukokhngthngthangdankhang danhnaaeladanhlngthibriewnphnngdankhangkhxngchxngnithangdanbncaepncudtxkbpumthaythxy occipital condyle khxngkaohlksirsaodykhxtxthaythxy atlanto occipital joint khnthiswndanlangcatxkb superior articular process khxngkraduksnhlngswnkhxchinthisxng thiaenwkradukokhngthangdanhnacaepnphunphiwkhxtxsahrbeduxythieriykwa edns dens sungyunkhunmacak body khxngkraduksnhlngswnkhxchinthisxng aelacathuktrungiwkbthidwyexnaenwkhwang transverse ligaments of atlas sungxyuthangdanhlng okhrngsrangnithahnathikhlayeduxythithaihaextlassamarthhmunidinradbhnung swn transverse processes khxngkraduksnhlngswnkhxchinaerknicayunxxkipthangdankhangmakepnphiess sungcudnicaepncudekaakhxngklamenuxtangthichwyinkarekhluxnihwkhxngkhxtxrahwangkradukaextlaskbaexksis Atlanto axial joint kraduksnhlngswnkhxchinthisxng Second cervical vertebra hruxaexksis Axis camilksnathisakhykhux dens thiyunkhunipdanbn nxkcaknithibriewndankhangeyuxngipthangdanbnelknxykhxng dens camirxybumelkthngsxngdan sungepncudekaakhxngexn alar ligaments sungechuxmrahwang dens kb occipital condyle aelapxngknkarhmunthimakekiniprahwangsirsaaelakraduksnhlngswnkhxkraduksnhlngswnxk Thoracic vertebrae kraduksnhlngswnxkthng 12 chincamilksnaednkhuxrxytxkbkraduksiokhrng costal facets thiaetlakhangkhxng vertebral body ephuxtidtxkbplayswnhwkhxngkraduksiokhrng nxkcaknibn transverse process yngmirxytxthangdankhang transverse costal facets ephuxtxkbswnpumkhxngkraduksiokhrng tubercle of rib kraduksnhlngswnbnexw Lumbar vertebrae kraduksnhlngswnexwthng 5 chincamikhnadihykwaswnxun aelami transverse processes thibangaelayaw ykewnkraduksnhlngswnbnexwchinthi5 sungcamikhnadihyephuxepncudekaakhxngexnthiyudrahwangkraduksnhlngswnexwkbkradukechingkran ileolumbar ligaments sungechuxmrahwangkraduksnhlngchinnikbkradukechingkran kraduksnhlngswnkraebnehnb Sacral vertebrae aelaswnknkb Coccyx kraduksnhlngswnkraebnehnbepnkradukhachinthiechuxmrwmknepnchinediyw aelamiplaychiipthangdanlang lksnakhxngkradukchinnicaewathangdanhnaaelanunxxkipthangdanhlng thangdanbncamirxytxkhnadihykbkraduksnhlngswnbnexwchinthi 5 swndanlangcatxkbkraduksnhlngswnknkb thidankhangrxytxruptw L khnadihyephuxtxkbkradukechingkran phunphiwthngdanhnaaeladanhlngcamichxngepidxyudanla 4 khu sungkhux posterior and anterior sacral foramina sungepnthangxxkkhxngaekhnngesnprasathcakikhsnhlngthixxkipsubriewnechingkranaelakha sahrbkraduksnhlngswnknkb Coccyx caxyudanlangsudkhxngkraduksnhlng epnkradukelkrupsamehliym aelaimmithng vertebral arch aela vertebral canal chxngepidrahwangkraduksnhlng Intervertebral foramina chxngepidrahwangkraduksnhlng Intervertebral foramina niepnchxngthixyuthangdankhangrahwangrxytxkhxngkraduksnhlngsxngchinthixyutidkn aelaepnthangphankhxngesnprasathikhsnhlng spinal nerves aelahlxdeluxdtangthiphanekhaxxkchxngphayinkraduksnhlngaelabriewnikhsnhlng aelaenuxngcakkhxbekhtkhxngchxngswnihyepnkradukaelaexn dngnnkhwamphidpktikhxngokhrngsrangodyrxbchxngepidni rwmthungklamenuxaelakhxtx casngphltxhlxdeluxdesnprasaththiphanchxngnidwyorkhaelakhwamphidpktikhxngkraduksnhlngenuxngcakkraduksnhlngepnokhrngsrangthiepnaeknklangkhxnglatw aelayngekiywkhxngkbaelarabbprasath khwamphidpktihruxorkhthiekidkhunkbkraduksnhlngcungmikhwamsakhyinthangkaraephthyxyangmak khwamphidpktinixacepnmaaetkaenid hruxxacekidcakkhwamphidpktikhxngklamenuxaelakraduk hruxxacekidcakxubtiehtu twxyangkhxngkhwamphidpktikhxngkraduksnhlngidaek sipna ibfida Spina bifida epnkhwamphidpktithimkepnmaaetkaenid sungekidkhuncakaenwokhngkhxng vertebral arches thngsxngdanimechuxmtxknrahwangkarecriyinkhrrph sungmkcaepnthikraduksnhlngswnlang phlkhuxthaihchxngphayinkraduksnhlngepidxxkma Spina bifida thiphbodythwipmisxngaebb aebbthiphbidbxythisudkhuxaebbthiimrayaerng hrux Spina bifida occulta odycamikhwamphidpktithi vertebral arches khxngkraduksnhlngswnbnexwchinthi 5 thungswnkraduksnhlngswnkraebnehnb thwipmkcaimmixakarhruxkhwamphidpktithiednchd hruxxacmiaekhkracukkhxngesnphmthixyuehnux spinous process thiphidpktiethann swn Spina bifida chnidthirunaerngkwakhuxaebbthimikhwamphidpktikhxngaenwkraduksnhlngthangdanhlngthirxytxrahwangkraduksnhlngswnbnexwkbswnkraebnehnb sungcathaihmithungkhxng meninges yunxxkmadannxk odyinthungnixacmi cerebrospinal fluid sungcaeriykwa meningocele hruxxacmibangswnkhxngikhsnhlnghludxxkmadwy sungcaeriykwa myelomeningocele sunginkrninimkcamixakarkhwamphidpktikhxngrabbprasathrwmdwy echnkhwamphidpktiinkaredin hruxkarkhwbkhumkarpssawa kraduksnhlngkhd Scoliosis epnphawathikraduksnhlngmikhwamokhnginaenwsaykhwathiphidpkti nxkcaknixacmikarbidhruxhmunxxkipcakaenwedimkhxngkraduksnhlngxikdwy phawakraduksnhlngkhdthiphbidbxythisudkhuxaebb idiopathic scoliosis sungimthrabsaehtuaenchd odycaimphbinchwngaerkekid aetcaekidkhuninwyedkhruxwyrun nxkcakniswnokhrngsrangkhxngkraduksnhlng echnswnkhxng bodies ephdiesl hruxlamini kimphbkhwamphidpktiid inkrnithiphbkraduksnhlngkhdtngaetkaenid caeriykwa congenital scoliosis sungcamisaehtumacakkhwamphidpktirahwangkarecriy aelayngphbwaklumnicamikhwamphidpktikhxngphnngchxngxk hwic rwmthngrabbkhbthayaelarabbsubphnthu dngnnphupwyinklumnicungtxngidrbkarduaelxyangiklchidcakphuechiywchay phawakraduksnhlngkhdyngsamarthphbepnphawaaethrksxncak echnorkhopliox poliomyelitis xikdwy sungcaeriykklumniwa neuropathic scoliosis phawakraduksnhlngkhdxikpraephththiphbidimmak aetmikhwamsakhykhuxkraduksnhlngkhdenuxngcakkhwamphidpktikhxngklamenux odyechphaathiekidcakorkhklamenuxxxnaerng muscular dystrophy enuxngcakklamenuxbriewnhlngimsamarthyudkraduksnhlngiwid kraduksnhlngcungkhd orkhxunthisamarththaihekid scoliosis idechnkn khuxenuxngxkkhxngkraduk enuxngxkkhxngikhsnhlng aelaxakarekhluxn Kyphosis epnkhwamphidpktikhxngkhwamokhnginkraduksnhlngswnxk thaihekidphawahlngkhxm xakarnimkepnxakaraethrksxnkhxngorkhxun odyechphaawnorkh tuberculosis thimikaraephrkracaykhxngechuxekhaipinkraduksnhlng thaihkraduksnhlngthitidechuxekidkarngxlngma sungeriykphawaniwa gibbus deformity sungepnphawathiphbidmakinchwngthikxncamikarich karaetkhkkhxngkraduksnhlng Vertebral fractures karaetkhkkhxngkraduksnhlngsamarthekidkhunidthukswn aetkhwamrayaerngkhxngxakarthiekidkhunimidekidcakkaraetkhkethann aetekidcakkhwamesiyhaythiekidkbokhrngsrangphayinchxngphayinkraduksnhlngaelaenuxeyuxodyrxb inkraduksnhlngswnkhx aemwacamiexntangcanwnmakephuxephimesthiyrphaphkhxngokhrngsrang aethakekidkarbadecbrunaerngcasamarththalaykhwamesthiyrkhxngkraduksnhlngswnniid oxkasthicaekidkarbadecbkhxngikhsnhlngcamiidsung aelaxakarthiekidkhuncakkarbadecbthiswnni idaekxmphatthngaekhnaelakha quadriplegia rwmthngxacekidkhwamlmehlwkhxngrabbhayic enuxngcakkhwamesiyhaykhxngikhsnhlngswnkhxaelaesnprasathikhsnhlngswnkhxkhuthi 3 thung 5 sungmiaekhnngprasaththiipkhwbkhumkabnglm phrenic nerve aemaetkarbadecbephiyngelknxykhxngkraduksnhlngswnkhxnikxacsngphltxkarekhluxnihwkhxngaekhnaelakha rwmthngkarhayickcatidkhdidngay swnkarbadecbkhxngkraduksnhlngswnbnexw nnphbidimmaknk aethakekidkhun mkcaekidcakaerngcanwnmak echnkarkraaethkxyangrunaernginkrnikhxngxubtiehtuhruxkarbadecbrahwangkarelnkila sungxactxngtrwcchxngthxngaelakradukxun ephuxtrwchakhwamesiyhaythixacekidkhunkbxwywaodyrxb kradukthbesn Herniated disc mkcamisaehtuthiekidcakkarthiswnhnungkhxngikhsnhlngipsmphskbswnhnungkhxngesnprasath sngphlihekidxakarpwdhlng pwdexw tnkhaaelaxaccamikarlamipcnkrathngthungswnkhxngethaaelabriewnniwetha inraythimixakarhnkcamixakarxxnaerngkhxngethaekhamaprakxbdwyephraawaklamenuxthiidrbkarduaelcakesnprasathnnthukkdthbxyu epnorkhthiphbidbxyinwythangan saehtuodyswnihykhxngorkhkradukthbesnnnsamarththicasrupxxkmaepnpraedniddngni karsukkrxntamxayukarichngan emuxmixayuthiephimmakkhunrangkaycaekidkarsukip phvtikrrmkarykkhxnghnkepnpraca karnngphidthahruxkarnngthanganepnewlanan aelaphvtikrrmesiyngxun twxyangechn karsubbuhri xangxingpwdhlng pwdexw epnorkhkradukthbesnhruxepla 2016 03 19 thi ewyaebkaemchchin khaxthibayerixngorkhkradukthbesnaelawithikarrksa Drake RL Vogl W and Mitchell AWM Gray s anatomy for students Philadelphia Elsevier Churchill Livingstone 2005 Agur AMR and Dalley AF Grant s Atlas of Anatomy 11th edition Lippincott Williams Wilkins 2005 Netter FH Atlas of Human Anatomy 3rd edition Icon Learning Systems 2003 Moore KL and Agur AMR Essential Clinical Anatomy 3rd edition Lippincott Williams amp Wilkins 2007