ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกสะบัก (อังกฤษ: scapula) เป็น (flat bone) ชิ้นหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกระดูกส่วนไหล่ (shoulder girdle) โดยมีส่วนที่ติดต่อกับกระดูกไหปลาร้า (clavicle) และกระดูกต้นแขน (humerus) นอกจากนี้ยังเป็นที่ยึดเกาะของเอ็นเพื่อประกอบเป็นข้อต่อไหล่ (shoulder joint) และมีกล้ามเนื้อหลายมัดที่มีพื้นผิวบนกระดูกสะบักเป็นจุดเกาะต้น (origin) และจุดเกาะปลาย (insertion) อีกด้วย ดังนั้นกระดูกสะบักจึงเป็นกระดูกที่มีความสำคัญยิ่งในการเคลื่อนไหวของแขนรอบข้อต่อไหล่
กระดูกสะบัก (scapula) | |
---|---|
พื้นผิวด้านหน้าของกระดูกสะบักข้างซ้าย | |
พื้นผิวด้านหลังของกระดูกสะบักด้านซ้าย | |
ตัวระบุ | |
MeSH | D012540 |
TA98 | A02.4.01.001 |
TA2 | 1143 |
FMA | 13394 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
ลักษณะทางกายวิภาคทั่วไป
กระดูกสะบักเป็นกระดูกที่เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีขอบด้านข้างแบนราบ ดังนั้นบนกระดูกนี้จึงมีพื้นผิวสองด้าน ขอบสามด้าน และมุมสามด้าน ซึ่งได้แก่
- พื้นผิวด้านหน้า (Costal/Anterior surface)
- พื้นผิวด้านหลัง (Dorsal surface)
- ขอบด้านบน (Superior border)
- ขอบด้านข้าง (Lateral/Axillary border)
- ขอบแนวกลาง (Medial/Vertebral border)
- มุมด้านบน (Superior angle)
- มุมด้านข้าง (Lateral angle)
- มุมด้านล่าง (Inferior angle)
ที่มุมด้านข้างของกระดูกสะบัก จะพบรอยบุ๋มขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แอ่งกลีนอยด์ (glenoid fossa) ซึ่งแอ่งนี้ทำหน้าที่เป็นเบ้าให้กับส่วนหัวของกระดูกต้นแขน เพื่อประกอบเป็นข้อต่อกลีโนฮิวเมอรัล (glenohumeral joint) ซึ่งเป็นข้อต่อหลักของการเคลื่อนไหวของส่วนต้นแขน เหนือและใต้ต่อแอ่งนี้จะมีปุ่มเล็กๆ ชื่อว่า ปุ่มเหนือแอ่งกลีนอยด์ (supraglenoid tubercle) และปุ่มใต้แอ่งกลีนอยด์ (infraglenoid tubercle) ซึ่งก็จะเป็นจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อของต้นแขน
พื้นผิวและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องของกระดูกสะบัก
พื้นผิวบนกระดูกสะบักจะมีสองด้าน คือพื้นผิวด้านหน้าและพื้นผิวด้านหลัง ทั้งสองพื้นผิวจะมีกล้ามเนื้อต่างๆ ทั้งของส่วนหลัง ไหล่ และแขนเข้ามายึดเกาะมากมาย
พื้นผิวด้านหน้า
พื้นผิวด้านหน้า (Costal/Anterior surface) เป็นด้านของกระดูกสะบักที่หันไปทางด้านกระดูกซี่โครง จะมีลักษณะเป็นแอ่งขนาดใหญ่ แอ่งนี้เรียกว่าแอ่งใต้กระดูกสะบัก (subscapularis fossa) ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของแอ่งนี้จะเป็นจุดเกาะต้นของ (subscapularis muscle) นอกจากนี้ ที่มุมด้านล่างของพื้นผิวด้านหน้ายังเป็นจุดเกาะต้นของ (Serratus anterior) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่มีจุดเกาะปลายที่กระดูกซี่โครง ดังนั้นจึงช่วยในการเคลื่อนไหวของช่องอกขณะหายใจ นอกจากนี้ยังช่วยดึงกระดูกสะบักไม่ให้เอียงไปทางด้านหลังมากเกินไปอีกด้วย
พื้นผิวด้านหลัง
พื้นผิวด้านหลัง (Dorsal surface) จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน โดยแนวยื่นของกระดูกซึ่งเรียกว่า แนวสันกระดูกสะบัก (scapular spine) ซึ่งจะมีจุดที่กระดูกยื่นออกมามากที่สุด เรียกว่า ทูเบอร์ สแคปูลี (tuber scapulae) ซึ่งจุดนี้จะอยู่เยื้องมาทางด้านแนวข้างของแนวสันกระดูกสะบัก ปลายสุดของแนวสันนี้จะมีลักษณะยื่นออกไปเป็นพิเศษ ซึ่งเรียกว่า อโครเมียน (acromion) นอกจากนี้ ยังมีส่วนของกระดูกที่ยื่นออกมาจากขอบทางด้านข้าง (lateral border) ของกระดูกสะบัก และงอคล้ายตะขอ ซึ่งเรียกว่า โคราคอยด์ โพรเซส (coracoid process) ทั้งอโครเมียนและโคราคอยด์ โพรเซส เป็นจุดเกาะที่สำคัญของกล้ามเนื้อและเอ็นที่เป็นส่วนประกอบของไหล่ แนวสันของกระดูกสะบักบนพื้นผิวด้านหลังนี้ จะแบ่งบริเวณด้านหลังของกระดูกสะบักออกเป็นสองแอ่ง ได้แก่
- แอ่งเหนือแนวสันกระดูกสะบัก (supraspinous fossa) เป็นแอ่งขนาดเล็ก พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นจุดเกาะต้นของ (supraspinatus muscle) นอกจากนี้ที่ขอบด้านบนเหนือแอ่งนี้ จะมีรอยเว้าเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า รอยเว้าเหนือแนวสันกระดูกสะบัก (supraspinous notch) ซึ่งจะเป็นทางผ่านของ (supraspinatus artery) และ (suprascapular nerve) ซึ่งมาเลี้ยงกล้ามเนื้อดังกล่าว
- แอ่งใต้แนวสันกระดูกสะบัก (infraspinous fossa) เป็นแอ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าและเว้าเข้าไปทางด้านหน้ามากกว่า พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นจุดเกาะต้นของ (infraspinatus muscle) ขณะที่ขอบทางด้านข้างของแอ่งนี้จะเป็นจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้ออีกสองมัด คือ (teres major muscle) และ (teres minor muscle) กล้ามเนื้อทั้งสองนี้มีหน้าที่หลักในการเคลื่อนไหวของแขนเข้าหาลำตัว หรือการหุบแขน (arm adduction) นั่นเอง นอกจากนี้ ขอบทางด้านแนวกลางของแอ่งนี้ยังเป็นจุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อจากส่วนหลัง ซึ่งได้แก่ (rhomboid major muscle) และ (rhomboid minor muscle) อีกด้วย
บนแนวสันกระดูกสะบักก็ยังมีจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อเดลทอยด์ (deltoid muscle) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อหลักของไหล่ ขณะเดียวกันก็มีจุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อทราพีเซียส (trapezius muscle) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อจากบริเวณหลัง และช่วยในการยกไหล่
รูปประกอบเพิ่มเติม
- ภาพถ่ายพื้นผิวด้านหน้าของกระดูกสะบักข้างซ้าย
- ภาพถ่ายพื้นผิวด้านหลังของกระดูกสะบักข้างซ้าย
- ด้านหน้าของกระดูกส่วนไหล่
- ภาพวาดแสดงส่วนประกอบของข้อต่อไหล่ของมนุษย์
- ภาพวาดแสดงส่วนประกอบของข้อต่อไหล่ของมนุษย์
- กล้ามเนื้อของพื้นผิวด้านหลังของกระดูกสะบัก และด้านหลังของต้นแขน
- มุมมองทางด้านข้างของกระดูกสะบักด้านซ้าย
- กระดูกสะบักและระบบหลอดเลือดแดงในบริเวณใกล้เคียง
- มุมมองด้านข้างของกระดูกส่วนอกและไหล่ จะเห็นกระดูกสะบักที่ด้านข้างทั้ง 2 ข้าง
อ้างอิง
- Gray's anatomy for students. Drake, RL., Vogl, W. and Mitchell, AWM.
- Clinically Oriented Anatomy, 4th ed. Keith L. Moore and Arthur F. Dalley.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inkaywiphakhsastrkhxngmnusy kraduksabk xngkvs scapula epn flat bone chinhnungthiepnswnprakxbsakhykhxngkradukswnihl shoulder girdle odymiswnthitidtxkbkradukihplara clavicle aelakraduktnaekhn humerus nxkcakniyngepnthiyudekaakhxngexnephuxprakxbepnkhxtxihl shoulder joint aelamiklamenuxhlaymdthimiphunphiwbnkraduksabkepncudekaatn origin aelacudekaaplay insertion xikdwy dngnnkraduksabkcungepnkradukthimikhwamsakhyyinginkarekhluxnihwkhxngaekhnrxbkhxtxihlkraduksabk scapula phunphiwdanhnakhxngkraduksabkkhangsayphunphiwdanhlngkhxngkraduksabkdansaytwrabuMeSHD012540TA98A02 4 01 001TA21143FMA13394 aekikhbnwikisneths lksnathangkaywiphakhthwipkraduksabkepnkradukthiepnrupsamehliymthimikhxbdankhangaebnrab dngnnbnkraduknicungmiphunphiwsxngdan khxbsamdan aelamumsamdan sungidaek phunphiwdanhna Costal Anterior surface phunphiwdanhlng Dorsal surface khxbdanbn Superior border khxbdankhang Lateral Axillary border khxbaenwklang Medial Vertebral border mumdanbn Superior angle mumdankhang Lateral angle mumdanlang Inferior angle thimumdankhangkhxngkraduksabk caphbrxybumkhnadihy sungeriykwa aexngklinxyd glenoid fossa sungaexngnithahnathiepnebaihkbswnhwkhxngkraduktnaekhn ephuxprakxbepnkhxtxklionhiwemxrl glenohumeral joint sungepnkhxtxhlkkhxngkarekhluxnihwkhxngswntnaekhn ehnuxaelaittxaexngnicamipumelk chuxwa pumehnuxaexngklinxyd supraglenoid tubercle aelapumitaexngklinxyd infraglenoid tubercle sungkcaepncudekaatnkhxngklamenuxkhxngtnaekhnphunphiwaelaklamenuxthiekiywkhxngkhxngkraduksabkphunphiwbnkraduksabkcamisxngdan khuxphunphiwdanhnaaelaphunphiwdanhlng thngsxngphunphiwcamiklamenuxtang thngkhxngswnhlng ihl aelaaekhnekhamayudekaamakmay phunphiwdanhna phunphiwdanhna Costal Anterior surface epndankhxngkraduksabkthihnipthangdankraduksiokhrng camilksnaepnaexngkhnadihy aexngnieriykwaaexngitkraduksabk subscapularis fossa sungepnphunthiswnihykhxngaexngnicaepncudekaatnkhxng subscapularis muscle nxkcakni thimumdanlangkhxngphunphiwdanhnayngepncudekaatnkhxng Serratus anterior sungepnklamenuxthimicudekaaplaythikraduksiokhrng dngnncungchwyinkarekhluxnihwkhxngchxngxkkhnahayic nxkcakniyngchwydungkraduksabkimihexiyngipthangdanhlngmakekinipxikdwy phunphiwdanhlng phunphiwdanhlng Dorsal surface cathukaebngxxkepnsxngswn odyaenwyunkhxngkraduksungeriykwa aenwsnkraduksabk scapular spine sungcamicudthikradukyunxxkmamakthisud eriykwa thuebxr saekhpuli tuber scapulae sungcudnicaxyueyuxngmathangdanaenwkhangkhxngaenwsnkraduksabk playsudkhxngaenwsnnicamilksnayunxxkipepnphiess sungeriykwa xokhremiyn acromion nxkcakni yngmiswnkhxngkradukthiyunxxkmacakkhxbthangdankhang lateral border khxngkraduksabk aelangxkhlaytakhx sungeriykwa okhrakhxyd ophress coracoid process thngxokhremiynaelaokhrakhxyd ophress epncudekaathisakhykhxngklamenuxaelaexnthiepnswnprakxbkhxngihl aenwsnkhxngkraduksabkbnphunphiwdanhlngni caaebngbriewndanhlngkhxngkraduksabkxxkepnsxngaexng idaek aexngehnuxaenwsnkraduksabk supraspinous fossa epnaexngkhnadelk phunthiswnihycaepncudekaatnkhxng supraspinatus muscle nxkcaknithikhxbdanbnehnuxaexngni camirxyewaelk sungeriykwa rxyewaehnuxaenwsnkraduksabk supraspinous notch sungcaepnthangphankhxng supraspinatus artery aela suprascapular nerve sungmaeliyngklamenuxdngklaw aexngitaenwsnkraduksabk infraspinous fossa epnaexngthimikhnadihykwaaelaewaekhaipthangdanhnamakkwa phunthiswnihycaepncudekaatnkhxng infraspinatus muscle khnathikhxbthangdankhangkhxngaexngnicaepncudekaatnkhxngklamenuxxiksxngmd khux teres major muscle aela teres minor muscle klamenuxthngsxngnimihnathihlkinkarekhluxnihwkhxngaekhnekhahalatw hruxkarhubaekhn arm adduction nnexng nxkcakni khxbthangdanaenwklangkhxngaexngniyngepncudekaaplaykhxngklamenuxcakswnhlng sungidaek rhomboid major muscle aela rhomboid minor muscle xikdwy bnaenwsnkraduksabkkyngmicudekaatnkhxngklamenuxedlthxyd deltoid muscle sungepnklamenuxhlkkhxngihl khnaediywknkmicudekaaplaykhxngklamenuxthraphiesiys trapezius muscle sungepnklamenuxcakbriewnhlng aelachwyinkarykihlrupprakxbephimetimphaphthayphunphiwdanhnakhxngkraduksabkkhangsay phaphthayphunphiwdanhlngkhxngkraduksabkkhangsay danhnakhxngkradukswnihl phaphwadaesdngswnprakxbkhxngkhxtxihlkhxngmnusy phaphwadaesdngswnprakxbkhxngkhxtxihlkhxngmnusy klamenuxkhxngphunphiwdanhlngkhxngkraduksabk aeladanhlngkhxngtnaekhn mummxngthangdankhangkhxngkraduksabkdansay kraduksabkaelarabbhlxdeluxdaednginbriewniklekhiyng mummxngdankhangkhxngkradukswnxkaelaihl caehnkraduksabkthidankhangthng 2 khangxangxingGray s anatomy for students Drake RL Vogl W and Mitchell AWM Clinically Oriented Anatomy 4th ed Keith L Moore and Arthur F Dalley