บทความนี้ไม่มีจาก |
ดาวยูเรนัส (อังกฤษ: Uranus หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็น มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50,724 กิโลเมตร นับได้ว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่3 ในระบบสุริยะของเรา ยูเรนัสถูกตั้งชื่อตามเทพเจ้ายูเรนัส(Ouranos) ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ หรือ (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู
ลักษณะของวงโคจร | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ต้นยุคอ้างอิง J2000 | |||||||
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 3,006,389,405 กม. (20.09647190 หน่วยดาราศาสตร์) | ||||||
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 2,735,555,035 กม. (18.28605596 หน่วยดาราศาสตร์) | ||||||
ระยะจุดใกล้โลกที่สุด: | ? | ||||||
ระยะจุดไกลโลกที่สุด: | ? | ||||||
กึ่งแกนเอก: | 2,870,972,220 กม. (19.19126393 หน่วยดาราศาสตร์) | ||||||
เส้นรอบวง ของวงโคจร: | 18.029 เทระเมตร (120.515 หน่วยดาราศาสตร์) | ||||||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.04716771 | ||||||
คาบดาราคติ: | 30,708.1600 วัน (84.07 ปีจูเลียน) | ||||||
คาบซินอดิก: | 369.55 วัน | ||||||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 6.795 กม./วินาที | ||||||
อัตราเร็วสูงสุด ในวงโคจร: | 7.128 กม./วินาที | ||||||
อัตราเร็วต่ำสุด ในวงโคจร: | 6.485 กม./วินาที | ||||||
ความเอียง: | 0.76986° (6.48° กับศูนย์สูตรดวงอาทิตย์) | ||||||
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 74.22988° | ||||||
มุมของจุด ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 96.73436° | ||||||
จำนวนดาวบริวาร: | 27 | ||||||
ลักษณะทางกายภาพ | |||||||
เส้นผ่านศูนย์กลาง ตามแนวศูนย์สูตร: | 51,118 กม. (4.007×โลก) | ||||||
เส้นผ่านศูนย์กลาง ตามแนว: | 49,946 กม. (3.929×โลก) | ||||||
ความแป้น: | 0.0229 | ||||||
(พื้นที่ผิว): | 8.084×109กม.² (15.849×โลก) | ||||||
ปริมาตร: | 6.834×1013 (63.086×โลก) | ||||||
มวล: | 8.6832×1025กก. (14.536×โลก) | ||||||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 1.318 กรัม/ซม.³ | ||||||
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | 8.69 เมตร/วินาที² (0.886 จี) | ||||||
ความเร็วหลุดพ้น: | 21.29 กม./วินาที | ||||||
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 0.718333333 วัน (17 ชม. 14 นาที 24.00000 วินาที) | ||||||
ความเร็วการหมุน รอบตัวเอง: | 2.59 กม./วินาที (9,320 กม./ชม.) | ||||||
ความเอียงของแกน: | 97.77° | ||||||
ไรต์แอสเซนชัน ของขั้วเหนือ: | 257.31° (17 ชม. 9 นาที 15 วินาที) | ||||||
เดคลิเนชัน ของขั้วเหนือ: | −15.175° | ||||||
อัตราส่วนสะท้อน: | 0.51 | ||||||
อุณหภูมิ: | 55 K (ที่ยอดเมฆ) | ||||||
อุณหภูมิพื้นผิว: เคลวิน |
| ||||||
ลักษณะของบรรยากาศ | |||||||
ความดันบรรยากาศ ที่พื้นผิว: | 120 กิโลปาสกาล | ||||||
องค์ประกอบ: | 83% ไฮโดรเจน 15% ฮีเลียม 1.99% มีเทน 0.01% แอมโมเนีย 0.00025% 0.00001% ปริมาณน้อยมาก คาร์บอนมอนอกไซด์ ปริมาณน้อยมาก |
ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จาก (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ
และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ
โครงสร้างภายใน
บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย มีเทน ผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก อาจจะเป็นเพราะภายในดาวไม่มีการยุบตัวแล้ว หรืออาจมีบางอย่างได้ปิดกั้นไว้แต่ก็ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัด นักดาราศาสตร์คาดว่า แกนของดาวยูเรนัส มีลักษณะคล้ายกับดาวเสาร์และดาวพฤหัสบดี ถัดมาเป็นแกนชั้นนอกที่เต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน ซึ่งทำให้เรามองดาวยูเรนัสมีลักษณะเป็นสีฟ้าแกนกลางของดาวยูเรนัสเป็นหินแข็งเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 17,000 กิโลเมตร ล้อมไปด้วยชั้นของเหลวที่ประกอบไปด้วยนํ้าและแอมโมเนีย แมนเทิลชั้นนอกประกอบด้วยฮีเลียมเหลว ไฮโดรเจนเหลวที่ผสมกลมกลืนกับชั้นบรรยากาศ
คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย์
ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 84 ปี แกนของดาวทำมุมกับระนาบระบบสุริยะถึง 98 องศา ทำให้ฤดูกาลบนดาวยาวนานมาก คือ ด้านหนึ่งจะมีฤดูหนาว 42 ปี และอีกด้านจะร้อนนาน 42 ปี และบางที่บนดาวพระอาทิตย์จะไม่ตกเลยตลอด 42 ปี และบางที่ก็จะไม่ได้รับแสงเลยตลอด 42 ปี ที่ระยะนี้ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์แผ่มาน้อยมาก จึงทำให้กลางวันและกลางคืนของดาวยูเรนัสมีอุณหภูมิต่างกัน 2 องศาเซลเซียสเท่านั้น ทั้งนี้การหมุนรอบตัวเองของดาวยูเรนัสยังตรงข้ามกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ คือหมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกาเหมือนกันกับดาวศุกร์
ดวงจันทร์บริวาร
ที่ค้นพบแล้วมีทั้งหมด 27 ดวง 5 ดวงหลัก คือ (Miranda) แอเรียล (Ariel) (Umbriel) (Titania) และ (Oberon) ดวงจันทร์ทิทาเนียและโอเบอรอนพบโดยเฮอร์เชล 6 ปี หลังจากที่ค้นพบดาวยูเรนัส ส่วนแอเรียลและอัมเบรียลพบโดย
วงแหวน
วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นในปี 1977 ซึ่งเป็นยานชนิดพิเศษที่นำกล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตร์บนเครื่องบินเฝ้ามองดูดาวยูเรนัสเมื่อมีดาวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงข้ามหน้าของมัน ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูที่วงแหวนเมื่อมันบินผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนที่กว้างที่สุดคือช่องว่างที่ใหญ่ซึ่งประกอบไปด้วยก้อนฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนของวงแหวนที่ไม่สมบูรณ์ วงแหวนของดาวยูเรนัสประกอบด้วยชิ้นน้ำแข็งมืดที่เคลื่อนไหว น้ำแข็งประกอบด้วยมีเทนแข็ง ชิ้นส่วนของมันอาจจะชนกันและทำให้เกิดฝุ่นที่อยู่ในช่องว่างระหว่างวงแหวน
แหล่งข้อมูลอื่น
- ดาวยูเรนัส Uranus (ไทย)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir dawyuerns xngkvs Uranus hrux mvtyu epndawekhraahthixyuhangcakdwngxathityepnladbthi 7 inrabbsuriya cdepn miesnphansunyklang 50 724 kiolemtr nbidwamikhnadihyepnxndbthi3 inrabbsuriyakhxngera yuernsthuktngchuxtamethphecayuerns Ouranos khxngkrik sylksnaethndawyuerns khux hrux swnihyichindarasastr chuxithykhxngyuerns khux dawmvtyudawyuerns lksnakhxngwngokhcrtnyukhxangxing J2000rayacudikl dwngxathitythisud 3 006 389 405 km 20 09647190 hnwydarasastr rayacudikl dwngxathitythisud 2 735 555 035 km 18 28605596 hnwydarasastr rayacudiklolkthisud rayacudiklolkthisud kungaeknexk 2 870 972 220 km 19 19126393 hnwydarasastr esnrxbwng khxngwngokhcr 18 029 ethraemtr 120 515 hnwydarasastr khwameyuxngsunyklang 0 04716771khabdarakhti 30 708 1600 wn 84 07 picueliyn khabsinxdik 369 55 wnxtraerwechliy inwngokhcr 6 795 km winathixtraerwsungsud inwngokhcr 7 128 km winathixtraerwtasud inwngokhcr 6 485 km winathikhwamexiyng 0 76986 6 48 kbsunysutrdwngxathity lxngcicud khxngcudohndkhun 74 22988 mumkhxngcud ikldwngxathitythisud 96 73436 canwndawbriwar 27lksnathangkayphaphesnphansunyklang tamaenwsunysutr 51 118 km 4 007 olk esnphansunyklang tamaenw 49 946 km 3 929 olk khwamaepn 0 0229phunthiphiw 8 084 109km 15 849 olk primatr 6 834 1013 63 086 olk mwl 8 6832 1025kk 14 536 olk khwamhnaaennechliy 1 318 krm sm khwamonmthwng thisunysutr 8 69 emtr winathi 0 886 ci khwamerwhludphn 21 29 km winathikhabkarhmun rxbtwexng 0 718333333 wn 17 chm 14 nathi 24 00000 winathi khwamerwkarhmun rxbtwexng 2 59 km winathi 9 320 km chm khwamexiyngkhxngaekn 97 77 irtaexsesnchn khxngkhwehnux 257 31 17 chm 9 nathi 15 winathi edkhlienchn khxngkhwehnux 15 175 xtraswnsathxn 0 51xunhphumi 55 K thiyxdemkh xunhphumiphunphiw ekhlwintasudechliysungsud59 K68 Klksnakhxngbrryakaskhwamdnbrryakas thiphunphiw 120 kiolpaskalxngkhprakxb 83 ihodrecn 15 hieliym 1 99 miethn 0 01 aexmomeniy 0 00025 0 00001 primannxymak kharbxnmxnxkisd primannxymakesxrwileliym ehxrechlphaphcakyanwxyexecxr 2 aesdng dawyuerns wngaehwn aeladwngcnthrbriwar phukhnphbdawyuerns khux esxrwileliym ehxrechl Sir William Herschel phbinpi ph s 2324 kh s 1781 txmainpi ph s 2520 kh s 1977 nkdarasastrcak James L Elliot Edward W Dunham and Douglas J Mink using the Kuiper Airborne Observatory khnphbwa dawyuernsmi wngaehwncangodyrxb aelaerakidehnraylaexiyd khxngdawyuernsphrxmthngwngaehwn aeladwngcnthrbriwarinpi ph s 2529 kh s 1986 emuxyanwxyexecxr 2 Voyager 2 ekhluxnphanlksnaechphaathangkayphaphokhrngsrangphayin brryakaschnnxk prakxbdwyihodrecnaelahieliymepnswnihy aetluklngipchninmiswnprakxbkhxng aexmomeniy miethn phsmxyudwy dawyuernsaephkhwamrxnxxkcaktwdawnxymak xaccaepnephraaphayindawimmikaryubtwaelw hruxxacmibangxyangidpidkniwaetkyngimthrabxyangaenchd nkdarasastrkhadwa aeknkhxngdawyuerns milksnakhlaykbdawesaraeladawphvhsbdi thdmaepnaeknchnnxkthietmipdwyaexmomeniyaelamiethn sungthaiheramxngdawyuernsmilksnaepnsifaaeknklangkhxngdawyuernsepnhinaekhngesnphansunyklangyaw 17 000 kiolemtr lxmipdwychnkhxngehlwthiprakxbipdwynaaelaaexmomeniy aemnethilchnnxkprakxbdwyhieliymehlw ihodrecnehlwthiphsmklmklunkbchnbrryakas khabkarhmunrxbdwngxathity dawyuernsokhcrrxbdwngxathityichewla 84 pi aeknkhxngdawthamumkbranabrabbsuriyathung 98 xngsa thaihvdukalbndawyawnanmak khux danhnungcamivduhnaw 42 pi aelaxikdancarxnnan 42 pi aelabangthibndawphraxathitycaimtkelytlxd 42 pi aelabangthikcaimidrbaesngelytlxd 42 pi thirayani phlngngankhwamrxncakdwngxathityaephmanxymak cungthaihklangwnaelaklangkhunkhxngdawyuernsmixunhphumitangkn 2 xngsaeslesiysethann thngnikarhmunrxbtwexngkhxngdawyuernsyngtrngkhamkbdawekhraahdwngxun khuxhmunipinthistamekhmnalikaehmuxnknkbdawsukr dwngcnthrbriwar thikhnphbaelwmithnghmd 27 dwng 5 dwnghlk khux Miranda aexeriyl Ariel Umbriel Titania aela Oberon dwngcnthrthithaeniyaelaoxebxrxnphbodyehxrechl 6 pi hlngcakthikhnphbdawyuerns swnaexeriylaelaxmebriylphbody wngaehwn wngaehwnkhxngdawyuernsmikhwammudmak phidkbwngaehwnthiswangkhxngdawesar thaimmxngdwyklxngothrthrrsnkcamxngimehn wngaehwnkhxngdawyuernsthukphbodyhxdudawaexrbxrninpi 1977 sungepnyanchnidphiessthinaklxngothrthsnipdwy nkdarasastrbnekhruxngbinefamxngdudawyuernsemuxmidawvksekhluxnihwmatrngkhamhnakhxngmn yanwxyexecxr 2 mxngduthiwngaehwnemuxmnbinphandawyuerns wngaehwnkhxngdawyuernscaaekhb wngaehwnthikwangthisudkhuxchxngwangthiihysungprakxbipdwykxnfun yanwxeyecxrphbswnokhngbangxyang sungepnswnkhxngwngaehwnthiimsmburn wngaehwnkhxngdawyuernsprakxbdwychinnaaekhngmudthiekhluxnihw naaekhngprakxbdwymiethnaekhng chinswnkhxngmnxaccachnknaelathaihekidfunthixyuinchxngwangrahwangwngaehwnaehlngkhxmulxundawyuerns Uranus ithy