ความแป้น (อังกฤษ: flattening หรือ oblateness) เป็นค่าที่บ่งบอกว่าวงรีหรือทรงคล้ายทรงกลมมีรัศมีตามแนวตั้งกับแนวนอนต่างกันมากแค่ไหนเมื่อเทียบกับวงกลมหรือทรงกลม สำหรับวงกลมหรือทรงกลมจะมีค่าความแป้นเป็น 0 ในขณะที่ถ้าวงรีหรือทรงคล้ายทรงกลมนั้นแบนแต๊ดแต๋ค่าก็จะเข้าใกล้ 1
ถ้าแกนหลักของวงรีหรือทรงกลมเป็น และแกนรองเป็น ความแป้น จะคำนวณได้เป็น
โดยอาจเขียนในรูปอัตราส่วน ส่วนค่าความรี จะเป็น
ในกรณีของวัตถุที่หมุน แรงหนีศูนย์กลางจะทำให้ทรงกลมมีความแป้น โดยรัศมีตามแนวเส้นศูนย์สูตรจะมากกว่ารัศมีตามแนวแกนหมุน ดังนั้นในที่นี้ คือรัศมีเส้นศูนย์สูตร และ คือรัศมีตามแนวแกนหมุน
ความสัมพันธ์กับความเยื้องศูนย์กลาง
ความแป้น มีความสัมพันธ์กับค่าความเยื้องศูนย์กลางของวงรี เป็นดังนี้
ตัวอย่างเช่น วงรีที่มีความแบนแป้น 0.1 มีความเยื้องศูนย์กลางประมาณ 0.43 สำหรับวงกลมสมบูรณ์แล้ว ค่าความเยื้องศูนย์กลางก็จะเป็น 0 เช่นเดียวกับค่าความแป้น และจะมีค่าเข้าใกล้ 1 เมื่อแบนแต๊ดแต๋ ข้อแตกต่างคือความเยื้องศูนย์กลางเป็นแนวคิดสำหรับภาคตัดกรวยทั่วไป
ความแป้นของโลก
สำหรับค่าความแป้นของโลกในทางภูมิมาตรศาสตร์ ค่าตัวแปรเสริมของ ถูกใช้เป็นมาตรฐาน ดังนี้
รัศมีเส้นศูนย์สูตร (=แกนหลัก) a = 6 378 137 m
ความแป้น:
จากนิยามนี้ ได้ว่ารัศมีขั้ว b = 6 356 752.314 140 356 m
อ้างอิง
- "日本の測地系 測地系と準拠楕円体". . สืบค้นเมื่อ 2022-08-28.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamaepn xngkvs flattening hrux oblateness epnkhathibngbxkwawngrihruxthrngkhlaythrngklmmirsmitamaenwtngkbaenwnxntangknmakaekhihnemuxethiybkbwngklmhruxthrngklm sahrbwngklmhruxthrngklmcamikhakhwamaepnepn 0 inkhnathithawngrihruxthrngkhlaythrngklmnnaebnaetdaetkhakcaekhaikl 1 thaaeknhlkkhxngwngrihruxthrngklmepn a displaystyle a aelaaeknrxngepn b displaystyle b khwamaepn f displaystyle f cakhanwnidepn f a ba 1 ba displaystyle f frac a b a 1 frac b a odyxacekhiyninrupxtraswn a b a displaystyle a b a swnkhakhwamri e displaystyle varepsilon caepn f 1 e displaystyle f 1 varepsilon inkrnikhxngwtthuthihmun aernghnisunyklangcathaihthrngklmmikhwamaepn odyrsmitamaenwesnsunysutrcamakkwarsmitamaenwaeknhmun dngnninthini a displaystyle a khuxrsmiesnsunysutr aela b displaystyle b khuxrsmitamaenwaeknhmunkhwamsmphnthkbkhwameyuxngsunyklangkhwamaepn f displaystyle f mikhwamsmphnthkbkhakhwameyuxngsunyklangkhxngwngri e displaystyle e epndngni e 1 b2a2 f 2 f displaystyle e triangleq sqrt 1 frac b 2 a 2 sqrt f 2 f twxyangechn wngrithimikhwamaebnaepn 0 1 mikhwameyuxngsunyklangpraman 0 43 sahrbwngklmsmburnaelw khakhwameyuxngsunyklangkcaepn 0 echnediywkbkhakhwamaepn aelacamikhaekhaikl 1 emuxaebnaetdaet khxaetktangkhuxkhwameyuxngsunyklangepnaenwkhidsahrbphakhtdkrwythwipkhwamaepnkhxngolksahrbkhakhwamaepnkhxngolkinthangphumimatrsastr khatwaepresrimkhxng thukichepnmatrthan dngni rsmiesnsunysutr aeknhlk a 6 378 137 m khwamaepn f 1298 257 222 101 displaystyle f frac 1 298 257 222 101 cakniyamni idwarsmikhw b 6 356 752 314 140 356 mxangxing 日本の測地系 測地系と準拠楕円体 subkhnemux 2022 08 28