เทียนไถ (จีน: 天台; พินอิน: จีนกลางมาตรฐาน สป.จีน: Tiāntāi, จีนกลางมาตรฐานสาธารณรัฐจีน: Tiāntái, ภาษาอู๋สำเนียงไทโจว (ภาษาพื้นเมืองเทียนไถ): Thiethei) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานในประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และเวียดนาม เป็นนิกายที่นับถือสัทธรรมปุณฑรีกสูตรว่าเป็นคำสอนสูงสุดของพุทธศาสนา ในญี่ปุ่นนิกายนี้เรียกว่าเท็นได, ในเกาหลีเรียกว่าชอนแท, และในเวียดนามเรียกว่าเทียนไท
เทียนไถ | |||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 天台 | ||||||||||||||||||||||||||||
ฮั่นยฺหวี่พินอิน | จีนกลางมาตรฐาน สป.จีน: Tiāntāi จีนกลางมาตรฐานสาธารณรัฐจีน: Tiāntái | ||||||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | มาจาก "" (หอคอยสวรรค์) | ||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||||||||||||||||
ภาษาเวียดนาม | Thiên Thai | ||||||||||||||||||||||||||||
ฮ้าน-โนม | 天台 | ||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||||||||||||||
ฮันกึล | 천태 | ||||||||||||||||||||||||||||
ฮันจา | 天台 | ||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||||||||||||||
คันจิ | 天台 | ||||||||||||||||||||||||||||
|
ชื่อนิกายมาจากการที่ท่าน (538–597 CE) บูรพาจารย์ลำดับที่ 4 ของนิกายอาศัยอยู่บน จื้ออี้ได้รับการยกย่องเช่นกันในฐานะที่เป็นบุคคลสำคัญคนแรก ที่แยกสำนักนิกายจากขนบพุทธศาสนาแบบอินเดีย แล้วสร้างขนบพุทธศาสนาแบบจีน นิกายเทียนไถบางครั้งก็เรียกว่า "นิกายสัทธรรมปุณฑรีก" เพราะสัทธรรมปุณฑรีกสูตรมีบทบาทสำคัญมากในคำสอน
ในช่วงราชวงศ์สุย นิกายเทียนไถกลายเป็นหนึ่งในนิกายชั้นนำของศาสนาพุทธแบบจีน มีวัดขนาดใหญ่จำนวนมากที่ได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิและผู้อุปถัมภ์ที่ร่ำรวย อิทธิพลของนิกายจางหายไปและฟื้นขึ้นมาอีกครั้งเมื่อถึงราชวงศ์ถัง และได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอีกครั้งในช่วงราชวงศ์ซ่ง หลักคำสอนและการปฏิบัติของนิกายนี้มีอิทธิพลต่อนิกายสำคัญอื่นในจีน เช่น ฉาน และ สุขาวดี
ประวัติ
ไม่เหมือนนิกายก่อนหน้านี้ของพุทธศาสนาแบบจีน นิกายเทียนไถนั้นมีต้นกำเนิดมาจากจีนทั้งกระบิ นิกายของศาสนาพุทธที่มีอยู่ในประเทศจีนก่อนที่จะเกิดขึ้นของนิกายเทียนไถนั้น โดยทั่วไปเชื่อว่าจะเป็นแทนของนิกายที่ได้รับการถ่ายโดยตรงจากอินเดีย โดยมีการปรับเปลี่ยนคำสอนและวิธีการขั้นพื้นฐานด้านการปฏิบัติเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม เทียนไถเติบโตและเจริญรุ่งเรืองในฐานะนิกายพุทธแบบจีนพื้นเมืองแท้ๆ ในสมัยจื้ออี้ปรมาจารย์ที่ 4 ผู้พัฒนาระบบหลักคำสอนและการปฏิบัติแบบชาวพุทธชาวจีนอย่างกว้างขวางโดยเขียนตำราและอรรถกถามากมาย
เมื่อเวลาผ่านไป นิกายเทียนไถกลายมีหลักคำสอนที่กว้างขวางสามารถดูดซับแนวคิดจากนิกายอื่น ๆ แม้ว่าจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นทางการใด ๆ นิกายนี้เน้นทั้งการศึกษาพระคัมภีร์และการฝึกสมาธิและสอนว่าการรู้แจ้งสำเร็จได้ด้วยการพิจารณาจิต
คำสอนของนิกายนี้ ส่วนใหญ่อิงกับคำสอนของจื้ออี้, จ้านหราน และจือหลี่ ซึ่งอยู่ระหว่างศตวรรษที่ 6 และ 11 คณาจารย์เหล่านี้ใช้วิธีการที่เรียกว่า "การจำแนกประเภทของคำสอน" โดยความพยายามที่จะประสานคำสอนทางพุทธศาสนาจำนวนมากที่มีแนวคิดขัดแย้งกัน ซึ่งถูกนำเข้ามาในจีน นี่คือความสำเร็จผ่านการตีความอิงกับสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
หลักคำสอน
ผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนานิกายยฉานในศตวรรษที่ 20 สรุปการสอนหลักของนิกายเทียนไถดังต่อไปนี้:
- มียานเดียว คือ
- ยานแห่งการบรรลุสัมมาสัมพุทธะ เป็นหลักการสำคัญ;
- สมาธิสามรูปแบบ คือ สมถะ — วิปัสสนา มีความสัมพันธ์กับการทำสมาธิโดยพิจารณาสุญญตา
- มีมรรคเป็นแนวทางการปฏิบัติเพื่อความรู้แจ้ง
การแบ่งคำสอนในพุทธศาสนา
นิกายนี้จัดแบ่งคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นห้าช่วงคือ
- แสดงอวตังสกสูตร มีใจความว่าจักรวาลทั้งหมดเป็นเพียงการปรากฏของจิตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
- แสดงธรรมแบบหีนยาน ประกอบด้วยอริยสัจ 4 และมรรคมีองค์แปด
- แสดง ซึ่งให้ความสำคัญแก่อุดมคติของพระโพธิสัตว์
- แสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร มีใจความว่าสิ่งสูงสุดเป็นสุญตาคือความว่าง
- แสดงสัทธรรมปุณฑริกสูตร มีใจความว่าสรรพสัตว์ทั้งหลายมีความเป็นพุทธะอยู่ในตัว เมื่อกำจัดอวิชชาได้สิ้นเชิง พุทธภาวะจะแสดงออกมา
นิกายนี้แบ่งคำสอนของพระพุทธเจ้าตามวิธีการสอนและลักษณะคำสอนดังนี้
- วิธีการสอน 4 อย่าง
- วิธีฉับพลัน ใช้กับผู้มีปัญญาและความสามารถสูง
- วิธีค่อยป็นค่อยไป ใช้กับบุคคลทั่วไป
- วิธีลับเฉพาะตน ใช้กับคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ
- วิธีอันไม่เจาะจง ใช้กับคนหมู่มาก
- ลักษณะคำสอน 4 อย่าง
- คำสอนในพระไตรปิฎก แสดงแก่พระสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้า
- คำสอนสามัญ เป็นลักษณะร่วมของหีนยานและมหายาน แสดงแก่พระสาวก พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์
- คำสอนพิเศษ แสดงแก่พระโพธิสัตว์โดยเฉพาะ
- คำสอนสมบูรณ์ แสดงหลักทางสายกลางและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคัมภีร์ทั้งหลาย
นิกายเท็นได
ก่อตั้งโดยไซโช ซึ่งเป็นที่รู้จักหลังมรณภาพว่าเดนเกียว ไดชิ ได้รับอิทธิพลจากนิกายเทียนไท้ของจีน โดยนับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก แนวความคิดพื้นฐานของนิกายนี้คือ “อิชิจิสุ” สัจจะมีเพียงหนึ่ง เน้นการปฏิบัติทางสมาธิภาวนา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหลักปฏิบัติของนิกายเซนด้วย
หลักอิชิจิสุทำให้นิกายนี้มีลักษณะประนีประนอมต่อนิกายอื่นและต่อศาสนาชินโตด้วย ไซโชได้สร้างวัดเอนเรียวกูจิขึ้นที่ภูเขาไฮอิ เมื่อ พ.ศ. 1341 วัดนี้เป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนาในญี่ปุ่นกว่า 800 ปีซึ่งในช่วงดังกล่าว พระสงฆ์นิกายนี้มีบทบาททางการเมืองด้วย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Groner 2000, p. 199–200.
- Snelling 1987, p. 154.
- Ziporyn 2004.
- Groner 2000, pp. 248–256.
- Williams 2008, p. 162.
- Huaijin 1997, p. 91.
ข้อมูล
- ; , บ.ก. (2013), Princeton Dictionary of Buddhism., Princeton, NJ: Princeton University Press, ISBN
- Chappell, David W. (1987), (PDF), Japanese Journal of Religious Studies, 14 (2/3), คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 4, 2009, สืบค้นเมื่อ August 16, 2008
{{}}
: CS1 maint: unfit URL () - Donner, Neal (1991), Sudden and Gradual Intimately Conjoined: Chih-i's Tíen-t'ai View. In: Peter N. Gregory (editor), (1991), Sudden and Gradual. Approaches to Enlightenment in Chinese Thought, Delhi: Motilal Banarsidass Publishers Private Limited
- Groner, Paul (2000), Saicho : The Establishment of the Japanese Tendai School, University of Hawaii Press, ISBN
- Hua, Hsuan (1977), The Shurangama Sutra, Volume 1, Dharma Realm Buddhist Association
- Huai-Chin, Nan (1997). Basic Buddhism: Exploring Buddhism and Zen. York Beach, Me.: Samuel Weiser. ISBN
- Luk, Charles (1964), The Secrets of Chinese Meditation, Rider
- Ng, Yu-kwan (1990). , dissertation, Hamilton, Ontario: McMaster University
- Snelling, John (1987), The Buddhist handbook. A Complete Guide to Buddhist Teaching and Practice, London: Century Paperbacks
- Williams, Paul (2008). Mahayana Buddhism: The Doctrinal Foundations 2nd edition. Routledge
- Wu, Rujun (1993). T'ien-T'ai Buddhism and early Mādhyamika. National Foreign Language Center Technical Reports. Buddhist studies program. University of Hawaii Press. ISBN , ISBN . Source: [1] (accessed: Thursday April 22, 2010)
- Ziporyn, Brook (2004). Tiantai School, in Robert E. Buswell, ed., Encyclopedia of Buddhism, New York, McMillan. ISBN
- Ziporyn, Brook (2004), Being and ambiguity: philosophical experiments with Tiantai Buddhism, Illinois: OpenCourt, ISBN
บรรณานุกรม
- Chappell, David Wellington (2013). A Guide to the Tiantai Fourfold Teachings, in: Tsugunari Kubo; Terry Abbott; Masao Ichishima; David Wellington Chappell, Tiantai Lotus Texts (PDF). Berkeley, California: Bukkyō Dendō Kyōkai America. pp. 153–210. ISBN .[]
- Chen, Jinhua (1999). Making and Remaking History: A Study of Tiantai Sectarian Historiography. Tokyo: International Institute for Buddhist Studies. ISBN .
- Hurvitz, Leon (1962). Chih-i (538–597): An Introduction to the Life and Ideas of a Chinese Buddhist Monk. Mélanges Chinois et Bouddhiques XII, Bruxelles: Institut Belge des Hautes Études Chinoises
- Katō Bunno, Tamura Yoshirō, Miyasaka Kōjirō (tr.), (1975 ). The Threefold Lotus Sutra: The Sutra of Innumerable Meanings; The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law; The Sutra of Meditation on the Bodhisattva Universal Virtue, Weatherhill & Kōsei Publishing, New York & Tōkyō (Rissho Kosaikai)
- Magnin, Paul (1979). La vie et l'oeuvre de Huisi (515 - 577) : (les origines de la secte bouddhique chinoise du Tiantai). Paris: Adrien-Maisonneuve. ISBN .
- Penkover, Linda (1979). In the Beginning ... Guanding and the Creation of Early Tiantai. Journal of the international Association of Buddhist Studies 23 (2), 245-296.
- Stevenson, Daniel B. (1986). The Four Kinds of Samādhi in Early T'ien-t'ai Buddhism. In: Peter N. Gregory: Traditions of Meditation in Chinese Buddhism Vol. 1, Honolulu: University of Hawaii Press, pp. 45–98. ISBN .
- Swanson, Paul L. (1989). Foundations of T'ien-T'ai Philosophy, Asian Humanities Press, California. ISBN .
- Ziporyn, Brook. (2016) Emptiness and Omnipresence: An Essential Introduction to Tiantai Buddhism. Indiana University Press, Bloomington. ISBN
- ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น. กทม. สุขภาพใจ. 2545
แหล่งข้อมูลอิ่น
- Digital Dictionary of Buddhism[] (log in with userID "guest")
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ethiynith cin 天台 phinxin cinklangmatrthan sp cin Tiantai cinklangmatrthansatharnrthcin Tiantai phasaxusaeniyngithocw phasaphunemuxngethiynith Thiethei epnnikayinsasnaphuththfaymhayaninpraethscin yipun ekahli aelaewiydnam epnnikaythinbthuxsththrrmpunthriksutrwaepnkhasxnsungsudkhxngphuththsasna inyipunnikaynieriykwaethnid inekahlieriykwachxnaeth aelainewiydnameriykwaethiynithbn srangkhuninpi 598 in aelaidrbkarburnainrchsmyckrphrrdiyngecinginrachwngsching kh s 1722 35 ethiynithchuxphasacinphasacin天台hny hwiphinxincinklangmatrthan sp cin Tiantai cinklangmatrthansatharnrthcin Tiantaikhwamhmaytamtwxksrmacak hxkhxyswrrkh karthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxincinklangmatrthan sp cin Tiantai cinklangmatrthansatharnrthcin TiantaicuxinPRC ㄊㄧㄢ ㄊㄞ ROC ㄊㄧㄢ ㄊㄞˊkwy hwihlwhmacuxPRC Tiantai ROC Tiantairewd iclsPRC T ien1 t ai1 ROC T ien1 t ai2thngyngphinxinPRC Tiantai ROC TiantaixksrormnaebbeylPRC Tyantai ROC TyantaiMPS2PRC Tiantai ROC TiantaiIPAPRC tʰjɛ n tʰa i ROC tʰjɛ n tʰa i phasaxuThi dephasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeylTin toihchuxphasaewiydnamphasaewiydnamThien Thaihan onm天台chuxphasaekahlihnkul천태hnca天台karthxdesiyngxarxarCheontaechuxphasayipunkhnci天台karthxdesiyngormaciTendai chuxnikaymacakkarthithan 538 597 CE burphacaryladbthi 4 khxngnikayxasyxyubn cuxxiidrbkarykyxngechnkninthanathiepnbukhkhlsakhykhnaerk thiaeyksanknikaycakkhnbphuththsasnaaebbxinediy aelwsrangkhnbphuththsasnaaebbcin nikayethiynithbangkhrngkeriykwa nikaysththrrmpunthrik ephraasththrrmpunthriksutrmibthbathsakhymakinkhasxn inchwngrachwngssuy nikayethiynithklayepnhnunginnikaychnnakhxngsasnaphuththaebbcin miwdkhnadihycanwnmakthiidrbkarsnbsnuncakckrphrrdiaelaphuxupthmphthirarwy xiththiphlkhxngnikaycanghayipaelafunkhunmaxikkhrngemuxthungrachwngsthng aelaidrbkhwamniymephimkhunxikkhrnginchwngrachwngssng hlkkhasxnaelakarptibtikhxngnikaynimixiththiphltxnikaysakhyxunincin echn chan aela sukhawdiprawtiimehmuxnnikaykxnhnanikhxngphuththsasnaaebbcin nikayethiynithnnmitnkaenidmacakcinthngkrabi nikaykhxngsasnaphuthththimixyuinpraethscinkxnthicaekidkhunkhxngnikayethiynithnn odythwipechuxwacaepnaethnkhxngnikaythiidrbkarthayodytrngcakxinediy odymikarprbepliynkhasxnaelawithikarkhnphunthandankarptibtielknxy xyangirktam ethiynithetibotaelaecriyrungeruxnginthananikayphuththaebbcinphunemuxngaeth insmycuxxiprmacarythi 4 phuphthnarabbhlkkhasxnaelakarptibtiaebbchawphuththchawcinxyangkwangkhwangodyekhiyntaraaelaxrrthkthamakmay emuxewlaphanip nikayethiynithklaymihlkkhasxnthikwangkhwangsamarthdudsbaenwkhidcaknikayxun aemwacaimmiokhrngsrangthiepnthangkarid nikayniennthngkarsuksaphrakhmphiraelakarfuksmathiaelasxnwakarruaecngsaerciddwykarphicarnacit khasxnkhxngnikayni swnihyxingkbkhasxnkhxngcuxxi canhran aelacuxhli sungxyurahwangstwrrsthi 6 aela 11 khnacaryehlaniichwithikarthieriykwa karcaaenkpraephthkhxngkhasxn odykhwamphyayamthicaprasankhasxnthangphuththsasnacanwnmakthimiaenwkhidkhdaeyngkn sungthuknaekhamaincin nikhuxkhwamsaercphankartikhwamxingkbsththrrmpunthriksutrhlkkhasxnphuechiywchaydanphuththsasnanikayychaninstwrrsthi 20 srupkarsxnhlkkhxngnikayethiynithdngtxipni miyanediyw khux yanaehngkarbrrlusmmasmphuththa epnhlkkarsakhy smathisamrupaebb khux smtha wipssna mikhwamsmphnthkbkarthasmathiodyphicarnasuyyta mimrrkhepnaenwthangkarptibtiephuxkhwamruaecngkaraebngkhasxninphuththsasnanikaynicdaebngkhasxnkhxngphraphuththecaepnhachwngkhux aesdngxwtngsksutr miickhwamwackrwalthnghmdepnephiyngkarpraktkhxngcitthiyingihythisud aesdngthrrmaebbhinyan prakxbdwyxriysc 4 aelamrrkhmixngkhaepd aesdng sungihkhwamsakhyaekxudmkhtikhxngphraophthistw aesdngwchrprchyaparmitasutr miickhwamwasingsungsudepnsuytakhuxkhwamwang aesdngsththrrmpunthriksutr miickhwamwasrrphstwthnghlaymikhwamepnphuththaxyuintw emuxkacdxwichchaidsineching phuththphawacaaesdngxxkma nikayniaebngkhasxnkhxngphraphuththecatamwithikarsxnaelalksnakhasxndngni withikarsxn 4 xyang withichbphln ichkbphumipyyaaelakhwamsamarthsung withikhxypnkhxyip ichkbbukhkhlthwip withilbechphaatn ichkbkhnidkhnhnungodyechphaa withixnimecaacng ichkbkhnhmumaklksnakhasxn 4 xyang khasxninphraitrpidk aesdngaekphrasawkaelaphrapceckphuththeca khasxnsamy epnlksnarwmkhxnghinyanaelamhayan aesdngaekphrasawk phrapceckphuththeca aelaphraophthistw khasxnphiess aesdngaekphraophthistwodyechphaa khasxnsmburn aesdnghlkthangsayklangaelakhwamepnxnhnungxnediywknkhxngkhmphirthnghlaynikayethnidkxtngodyisoch sungepnthiruckhlngmrnphaphwaednekiyw idchi idrbxiththiphlcaknikayethiynithkhxngcin odynbthuxsththrrmpunthriksutrepnkhmphirhlk aenwkhwamkhidphunthankhxngnikaynikhux xichicisu sccamiephiynghnung ennkarptibtithangsmathiphawna sungtxmaidklayepnhlkptibtikhxngnikayesndwy hlkxichicisuthaihnikaynimilksnapranipranxmtxnikayxunaelatxsasnachinotdwy isochidsrangwdexneriywkucikhunthiphuekhaihxi emux ph s 1341 wdniepnsunyklangkhxngphuththsasnainyipunkwa 800 pisunginchwngdngklaw phrasngkhnikaynimibthbaththangkaremuxngdwyduephimethiynithinpraethsekahli ethiynithinpraethsyipun hwehyiyn sasnaphuththinpraethscin sasnachawbancinxangxingGroner 2000 p 199 200 Snelling 1987 p 154 Ziporyn 2004 Groner 2000 pp 248 256 Williams 2008 p 162 sfn error no target CITEREFWilliams2008 Huaijin 1997 p 91 sfn error no target CITEREFHuaijin1997 khxmul b k 2013 Princeton Dictionary of Buddhism Princeton NJ Princeton University Press ISBN 9780691157863 Chappell David W 1987 PDF Japanese Journal of Religious Studies 14 2 3 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux March 4 2009 subkhnemux August 16 2008 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint unfit URL Donner Neal 1991 Sudden and Gradual Intimately Conjoined Chih i s Tien t ai View In Peter N Gregory editor 1991 Sudden and Gradual Approaches to Enlightenment in Chinese Thought Delhi Motilal Banarsidass Publishers Private Limited Groner Paul 2000 Saicho The Establishment of the Japanese Tendai School University of Hawaii Press ISBN 0824823710 Hua Hsuan 1977 The Shurangama Sutra Volume 1 Dharma Realm Buddhist Association Huai Chin Nan 1997 Basic Buddhism Exploring Buddhism and Zen York Beach Me Samuel Weiser ISBN 1578630207 Luk Charles 1964 The Secrets of Chinese Meditation Rider Ng Yu kwan 1990 dissertation Hamilton Ontario McMaster University Snelling John 1987 The Buddhist handbook A Complete Guide to Buddhist Teaching and Practice London Century Paperbacks Williams Paul 2008 Mahayana Buddhism The Doctrinal Foundations 2nd edition Routledge Wu Rujun 1993 T ien T ai Buddhism and early Madhyamika National Foreign Language Center Technical Reports Buddhist studies program University of Hawaii Press ISBN 0 8248 1561 0 ISBN 978 0 8248 1561 5 Source 1 accessed Thursday April 22 2010 Ziporyn Brook 2004 Tiantai School in Robert E Buswell ed Encyclopedia of Buddhism New York McMillan ISBN 0 02 865910 4 Ziporyn Brook 2004 Being and ambiguity philosophical experiments with Tiantai Buddhism Illinois OpenCourt ISBN 978 0 8126 9542 7brrnanukrmChappell David Wellington 2013 A Guide to the Tiantai Fourfold Teachings in Tsugunari Kubo Terry Abbott Masao Ichishima David Wellington Chappell Tiantai Lotus Texts PDF Berkeley California Bukkyō Dendō Kyōkai America pp 153 210 ISBN 9781886439450 lingkesiy Chen Jinhua 1999 Making and Remaking History A Study of Tiantai Sectarian Historiography Tokyo International Institute for Buddhist Studies ISBN 4906267432 Hurvitz Leon 1962 Chih i 538 597 An Introduction to the Life and Ideas of a Chinese Buddhist Monk Melanges Chinois et Bouddhiques XII Bruxelles Institut Belge des Hautes Etudes Chinoises Katō Bunno Tamura Yoshirō Miyasaka Kōjirō tr 1975 The Threefold Lotus Sutra The Sutra of Innumerable Meanings The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law The Sutra of Meditation on the Bodhisattva Universal Virtue Weatherhill amp Kōsei Publishing New York amp Tōkyō Rissho Kosaikai Magnin Paul 1979 La vie et l oeuvre de Huisi 515 577 les origines de la secte bouddhique chinoise du Tiantai Paris Adrien Maisonneuve ISBN 2 85539 066 4 Penkover Linda 1979 In the Beginning Guanding and the Creation of Early Tiantai Journal of the international Association of Buddhist Studies 23 2 245 296 Stevenson Daniel B 1986 The Four Kinds of Samadhi in Early T ien t ai Buddhism In Peter N Gregory Traditions of Meditation in Chinese Buddhism Vol 1 Honolulu University of Hawaii Press pp 45 98 ISBN 0 8248 1088 0 Swanson Paul L 1989 Foundations of T ien T ai Philosophy Asian Humanities Press California ISBN 0 89581 919 8 Ziporyn Brook 2016 Emptiness and Omnipresence An Essential Introduction to Tiantai Buddhism Indiana University Press Bloomington ISBN 9780253021083 thwiwthn punthrikwiwthn sasnaaelaprchyaincin thiebt aelayipun kthm sukhphaphic 2545aehlngkhxmulxinDigital Dictionary of Buddhism lingkesiy log in with userID guest